SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  41
Télécharger pour lire hors ligne
๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
วิชา ทัศนศิลป์ ๑ ศ ๒๑๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียนการสอนศิลปะ เวลา ๖ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
งานศิลปะของนักเรียนที่สร้างสรรค์ขึ้นทุกชิ้น ควรจัดแสดงผลงานให้ผู้อื่นได้ชื่นชมและวิพากษ์
วิจารณ์ เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียน เป็นตัวอย่างให้นักเรียนทั่วไปนาไปเป็นแนวทาง
ในการปรับปรุงและสร้างสรรค์ผลงาน อีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้กาลังใจแก่ผู้เป็นเจ้าของผลงาน
กระตุ้นให้คิดสร้างสรรค์ผลงานชิ้นต่อไป
๒. สาระสาคัญ
การจัดแสดงผลงานศิลปะของนักเรียน มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ในกระบวนการทางานที่จะสื่อถึงความรู้ ความเข้าใจของผู้ที่ชื่นชมในผลงานทา งศิลปะ รวมทั้ง
ขั้นตอนการวิเคราะห์ วิจารณ์ผลงาน เพื่อสร้างองค์ความรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์ตรงและประสบการณ์
ทางอ้อมให้กับตนเอง รวมทั้งแนวคิดในการเรียนรู้การสอนวิชาทัศนศิลป์ที่จะนาไปใช้ในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตของนักเรียนให้เกิดสติปัญญา และการสร้างสรรค์ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ให้อยู่ในสังคมอย่างเป็นสุข
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจาวัน
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้
ความรู้เรื่องทัศนธาตุ
๖. ประเมินงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึงวิธีการปรับปรุงงานของตนเองและผู้อื่น โดยใช้เกณฑ์
ที่กาหนดให้
๒
๔. สาระการเรียนรู้
๑. การจัดแสดงผลงานศิลปะ
๒. การวิจารณ์งานศิลปะ
๓. แนวคิดในการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป์
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practica)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
C (capacity)
สมรรถนะสาคัญ
๑. อธิบายขั้นตอนการจัด
แสดง
ผลงานศิลปะได้
๒. อธิบายขั้นตอน/
กระบวนการ
วิจารณ์งานศิลปะได้
๓. อธิบายแนวคิดในการ
เรียน
การสอนวิชาทัศนศิลป์ได้
๑. จัดแสดงผลงานศิลปะ
โดย
ฝึกปฏิบัติการจัดห้องแสดง
ออกแบบการแสดงผลงาน
จัดทาสูจิบัตร โฆษณา
ประชาสัมพันธ์ และ
ประเมินผล การจัดงาน
๒. ฝึกการวิจารณ์งานศิลปะ
๓. แสดงแนวคิดเกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์ในการเรียน
วิชาทัศนศิลป์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๑. ความสามารถในการ
สื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการ
แก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) ใบงาน
๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๓
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจใบงาน
๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทาใบงาน
๒. ผลการวิจารณ์งานศิลปะ
๓. ผลการแสดงผลงานศิลปะ
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนดูภาพการจัดแสดงผลงานศิลปะ ที่แสดงถึงบรรยากาศสิ่งแวดล้อม การจัด
แผนผัง ฯลฯ ที่แสดงตามหอศิลป์ หรือสถาบันศิลปะต่างๆ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้เห็น
การจัดแสดงในรูปแบบต่างๆ
๒) ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับการจัดแสดงผลงานศิลปะ
๔
ขั้นสอน
๓) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า งานศิลปะของนักเรียนทุกชิ้นที่ทาเสร็จ และครูวิจารณ์
ประเมินผลแล้ว ควรนาออกแสดงให้ผู้อื่นได้ชื่นชมและวิพากษ์วิจารณ์ เป็นตัวอย่าง
ให้นักเรียนทั่วไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและสร้างสรรค์ผลงาน
๔) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า เรื่องการแสดงผลงานศิลปะ
๕) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา การจัดแสดงผลงานศิลปะ โดยครูช่วยเสริมเพิ่มเติม
ให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๖) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป เรื่อง การจัดแสดงผลงานศิลปะโดยให้นักเรียนเตรียม
ผลงานศิลปะเพื่อจัดแสดงในห้องศูนย์ศิลปะของโรงเรียน
ชั่วโมงที่ ๒-๓
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๗) ครูนาภาพผลงานของนักเรียนที่ใส่กรอบเรียบร้อย พร้อมที่จะนาแสดงให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๘) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า ผลงานของนักเรียนทุกชิ้น ควรใส่กรอบให้มีลักษณะคล้ายกัน
มีขนาดเท่ากันและจัดเป็นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการจัดแสดงและการจัดเก็บ
๙) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาและสร้างสรรค์การทากรอบภาพ
อย่างง่าย เพื่อใช้ในการแสดงผลงาน
๑๐) นักเรียนลงมือปฏิบัติงานทากรอบภาพ โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมในส่วนที่นักเรียน
ไม่เข้าใจ
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๑) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปการสร้างสรรค์กรอบภาพ พร้อมจัดลาดับเข้าเป็นหมวดหมู่
เพื่อเตรียมจัดแสดงผลงานในห้องเรียน หรือศูนย์ศิลปะของโรงเรียน
ชั่วโมงที่ ๔-๕
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๒) ครูนาภาพผลงานของนักเรียนหรือของศิลปินให้นักเรียนดู
๕
ขั้นสอน
๑๓) ครูอธิบายขั้นตอน กระบวนการวิจารณ์งานศิลปะที่พบเห็นตามหอศิลป์ หรือศูนย์แสดง
ภาพเขียน เพื่อเป็นแนวทางในการวิจารณ์
๑๔) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า เรื่องการวิจารณ์งานศิลปะ
โดยให้เลือกภาพผลงานศิลปะของนักเรียนหรือของศิลปินที่ชื่นชอบ กลุ่มละ ๑ ภาพ
๑๕) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการวิจารณ์งานศิลปะ โดยครูคอยอธิบายเสริมถึงขั้นตอน
กระบวนการวิจารณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๖) นักเรียนและครูร่วมกันบรรยายสรุปเรื่องการวิจารณ์งานศิลปะ และให้แต่ละกลุ่มจัดทา
รายงานข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์
ชั่วโมงที่ ๖
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๗) ครูนาภาพการตกแต่งบ้าน การแต่งกายหรือการจัดสวนและบริเวณให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๑๘) ครูอธิบายแนวคิดในการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป์ ที่สามารถนาไปประ ยุกต์ใช้
ในชีวิตประจาวันของนักเรียน
๑๙) ให้นักเรียนศึกษาแนวคิดในการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป์ สุ่มนักเรียนออกมานาเสนอ
หน้าชั้นเรียน โดยมีครูคอยช่วยเสริมความรู้
๒๐) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๑.๑ กิจกรรมเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียนการสอนศิลปะ
โดยแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๒๑) นักเรียนแต่ละกลุ่ม ออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียน
การสอนศิลปะ โดยครูช่วยสรุปความรู้ให้สมบูรณ์
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๒. หนังสือการจัดสวน บริเวณ และหนังสือนิตยสารทางศิลปะ
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
๖
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(...............................................)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
ลงชื่อ......................................
( )
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
วิชา ทัศนศิลป์ ๑ ศ ๒๑๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ความรู้พื้นฐานงานศิลป์ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
ความหมาย ขอบข่ายและประโยชน์ของงานทัศนศิลป์ รวมทั้งศิลปะที่แสดงถึงตัวแทนเด็ก
การนาเอาทัศนธาตุ และการจัดองค์ประกอบศิลป์มาสร้างเป็นงานศิลปะ สิ่งเหล่านี้เป็นความรู้พื้นฐาน
ทางศิลปะที่ผู้เรียนทุกคนต้องศึกษาและนามาสร้างสรรค์ในผลงานศิลปะ
๗
๒. สาระสาคัญ
ศิลปะ คือ ผลแห่งพลังความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่แสดงออกในรูปลักษณ์ต่างกันให้ปรากฏ
ซึ่งสุนทรียภาพ ความประทับใจ ผลงานศิลปะของเด็กจะแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดและบุคลิกภาพ
ของเด็กนักเรียน เนื้อหาที่สร้างสรรค์มีการนาเอาทัศนธาตุ และหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ เช่น
หลักในการสร้างสรรค์งานด้านทัศนศิลป์
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า
งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจาวัน
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๒. ระบุและบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน
และความสมดุล
๓. วาดภาพทัศนียภาพแสดงให้เห็นระยะไกลใกล้ เป็น ๓ มิติ
๔. รวบรวมงานปั้นหรือสื่อผสมมาสร้างเป็นเรื่องราว ๓ มิติ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ
ความกลมกลืน และการสื่อถึงเรื่องราวของงาน
๕. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิกอื่นๆ ในการนาเสนอความคิดและข้อมูล
๔. สาระการเรียนรู้
๑. พื้นฐานงานศิลป์
๒. ความหมายและขอบข่ายของงานทัศนศิลป์
๓. ประโยชน์ของงานทัศนศิลป์
๔. ศิลปะคือตัวแทนเด็ก
๕. ทัศนธาตุ
๖. การจัดองค์ประกอบศิลป์
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practica)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
C (capacity)
สมรรถนะสาคัญ
๘
๑. อธิบายความรู้พื้นฐาน
งานศิลป์ได้
๒. อธิบายความหมายและ
ขอบข่ายของงานทัศนศิลป์
ได้
๓. บอกประโยชน์ของงาน
ทัศนศิลป์ได้
๔. อธิบายความหมาย
ศิลปะ
คือตัวแทนเด็กได้
๕. อธิบายความหมายของ
ทัศนธาตุได้
๖. อธิบายหลักการจัด
องค์ประกอบศิลป์ได
๑. เก็บรวบรวมภาพศิลปะ
จาก
หนังสือและนิตยสารต่างๆ
จัดทาเป็นสมุดภาพและ
ตกแต่ง
ให้สวยงาม
๒. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม
กลุ่มละ ๓-
๕ คน ออกแบบจัดสวน
จาลอง โดย
ศึกษาวิธีจัดสวนจาก
นิตยสาร
หรือสถานที่จริงในท้องถิ่น
แล้ว
จาลองให้มีขนาดเล็กลง
จัดเป็น
สวนในพื้นที่ ๑ ตารางฟุต
โดยนา
ความรู้จากทัศนธาตุและ
หลักการ
จัดองค์ประกอบศิลป์มาใช้
๓. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม
กลุ่มละ
๓-๕ คน ทาโครงสร้าง
แขวนแบบ
สมดุล ซ้าย-ขวา (โมบาย)
โดยใช้
ลวดเป็นแขนสมดุล แขวน
งาน
ศิลปะขนาดเล็กที่ปลายทั้ง
๒ ข้าง
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๑. ความสามารถในการ
สื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการ
แก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี
๙
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) ใบงาน
๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจใบงาน
๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทาใบงาน
๒. ผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์
๑๐
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนสังเกตธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัว และตอบว่าสังเกตเห็นอะไรบ้าง
เพื่อนาเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับความหมายของศิลปะ
ขั้นสอน
๒) ครูนารูปภาพเกี่ยวกับงานวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ให้นักเรียนดู พร้อมให้นักเรียนแสดง
ความคิดเห็นเปรียบเทียบถึงความแตกต่าง
๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าหัวข้อดังนี้
- พื้นฐานงานศิลป์
- ความหมายและขอบข่ายของงานศิลป์
- ประโยชน์ของงานทัศนศิลป์
- ศิลปะคือตัวแทนเด็ก
๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาทั้ง ๔ หัวข้อ โดยครูคอยอธิบายเสริมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้
ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเก็บรวบรวมภาพเกี่ยวกับงานศิลปะจากหนังสือและนิตยสาร
ต่างๆ มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ ๓-๔
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๖) ครูนาตัวอย่างภาพงานจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และภาพพิมพ์ จากหนังสือ
นิตยสารต่างๆ ให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๗) ครูอธิบายถึงรูปแบบข้อมูลภาพของงานทัศนศิลป์ เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นถึงความแตกต่าง
๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ทาใบงานที่ ๒.๑ กิจกรรม เรื่อง สะสมข้อมูลทัศนศิลป์
๙) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน โดยอธิบายรายละเอียดของภาพที่นามาสะสมว่า นามาจากนิตยสารฉบับใด
ใ ค ร เ ป็ น ผู้ ส ร้ า ง ง า น ห รื อ เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง ผ ล ง า น ท า ด้ ว ย วั ส ดุ ใ ด แ ล ะ มี แ น ว คิ ด
อย่างไรในการสร้างงาน
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๑
๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป โดยครูคอยให้ความรู้เสริมในส่วนที่นักเรียนไม่เข้าใจ
หรือสรุปไม่ตรงกับจุดประสงค์การเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๕-๖
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๑) ครูนาตัวอย่างภาพผลงานทัศนธาตุที่แสดงลักษณะจุด เส้น รูปทรง รูปร่าง พื้นผิว มิติ สี และ
แสงเงา ช่องไฟและจังหวะให้นักเรียนดูเพื่อเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่าง
ขั้นสอน
๑๒) ครูอธิบายถึงลักษณะรูปแบบการสร้างสรรค์ด้วยทัศนธาตุแบบต่างๆ แล้วสุ่มให้นักเรียน
ออกมาวาดภาพทัศนธาตุลักษณะต่างๆ ที่ใช้ในงานทัศนศิลป์ เพื่อจาแนกให้นักเรียนเห็น
ความแตกต่างของทัศนธาตุ
๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าความหมายของทัศนธาตุ
ในหัวข้อดังนี้
- จุด (point) - เส้น (line)
- รูปและพื้น (shape-background) - รูปทรงและบริเวณว่าง (form-space)
- ลักษณะพื้นผิว (texture) - มิติ (dimension)
- สีแสงเงา - ช่องไฟและจังหวะ
๑๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา ค้นคว้า โดยครูคอยอธิบายเสริมถึงการใช้ทัศนธาตุ
สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปเรื่องของทัศนธาตุสร้างสรรค์ในงานทัศนศิลป์
ชั่วโมงที่ ๗-๘
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๖) ครูทบทวนเรื่องทัศนธาตุที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว นักเรียนตอบคาถามและแสดงความคิดเห็น
ขั้นสอน
๑๗) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ทาใบงานที่ ๒.๒ กิจกรรม เรื่องจัดสวนจาลอง
โดยศึกษาวิธีจัดสวนจากนิตยสาร หรือสถานที่จริงในท้องถิ่นแล้วจาลองให้มีขนาดเล็กลง
จัดเป็นสวนในพื้นที่ ๑ ตารางฟุต โดยนาความรู้จากทัศนธาตุมาสร้างสรรค์
๑๘) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานการสร้างสรรค์ โดยครูคอยอธิบายเสริมถึงการใช้ทัศนธาตุ
มาจัดสวนจาลอง
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๙) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และเขียนรายงานการสร้างสรรค์
๑๒
ชั่วโมงที่ ๙-๑๐
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๒๐) ครูนาตัวอย่างผลงานการจัดองค์ประกอบศิลป์ ให้นักเรียนดูเพื่อเปรียบเทียบให้เห็น
ความแตกต่าง
ขั้นสอน
๒๑) ครูอธิบายถึงลักษณะการสร้างสรรค์งานด้วยหลักการจัดองค์ ประกอบศิลป์ แล้วสุ่ม
สอบถามนักเรียนให้อธิบายเพิ่มเติมให้เพื่อนๆ ฟัง
๒๒) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษา ค้นคว้า หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์
ในหัวข้อดังนี้
- ความมีเอกภาพ (unity) - ความประสานกลมกลืน (harmony)
- ความขัดแย้ง (contrast) - ความสมดุล (balance)
- การจัดจังหวะและลีลา - สัดส่วน (proportion)
- การเน้นหรือย้าจุดเด่น
๒๓) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า โดยครูคอยอธิบายเสริมให้สมบูรณ์
๒๔) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ทาใบงานที่ ๒.๓ กิจกรรมเรื่อง สมดุล ซ้าย-ขวา
เท่ากัน โดยทาโครงสร้างแขวน (โมบาย) ใช้ลวดเป็นแขนสมดุล ห้อยงานศิลปะขนาดเล็ก
ที่ปลายทั้ง ๒ ข้าง โดยนาความรู้เรื่องการจัดองค์ประกอบศิลป์มาสร้างสรรค์
๒๕) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการสร้างสรรค์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๒๖) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และเขียนรายงานการสร้างสรรค์
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๒. หนังสือการจัดสวน บริเวณ และหนังสือนิตยสารทางศิลปะ
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
๑๓
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(...............................................)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………….……….
…………………………………………………………………………………………………….…………….
………………………………………………………………………………………………………….……….
………………………………………………………………………………………………………..………….
……………………………………………………………………………………………………..…………….
ลงชื่อ...............................................................
( ......................................... )
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
วิชา ทัศนศิลป์ ๑ ศ ๒๑๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เทคนิคการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เวลา ๑๐ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
เทคนิคการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์มีหลายรูปแบบ เทคนิคพื้นฐานที่เหมาะสมกับนักเรียน คือ
เทคนิคการวาดเส้น การเขียนภาพสีเทียน สีดินสอ การเขียนภาพสีน้า การเขียนภาพลายไทย การปั้น
๑๔
หล่อ และแกะสลัก รวมทั้งศิลปะการพิมพ์ เทคนิคเหล่านี้เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ที่จะนาไปสู่การ
สร้างสรรค์ในระดับสูงต่อไป
๒. สาระสาคัญ
กระบวนการในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ การวาดเส้นเป็นเทคนิคพื้นฐานเริ่มต้นของการ
ฝึกฝนก่อนจะเข้าสู่การเขียนภาพด้วยสีดินสอ สีเทียนและสีน้าตามลาดับ การเขียนลายไทย เป็นศิลปะ
ประจาชาติไทยที่มีความอ่อนช้อยสวยงาม ต้องศึกษาเพราะเป็นการอนุรักษ์สืบทอดศิลปวัฒนธรรม
ของคนไทย ส่วนการปั้น หล่อ และแกะสลัก รวมทั้งศิลปะการพิมพ์ เป็นการสร้างสรรค์งาน
ในลักษณะมีมิติ และนาไปใช้ในการตกแต่งงานต่างๆ ของโรงเรียน
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจาวัน
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้
ความรู้เรื่องทัศนธาตุ
๒. ระบุและบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน
และความสมดุล
๓. วาดภาพทัศนียภาพแสดงให้เห็นระยะไกลใกล้ เป็น ๓ มิติ
๔. รวบรวมงานปั้นหรือสื่อผสมมาสร้างเป็นเรื่องราว ๓ มิติ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ
ความกลมกลืน และการสื่อถึงเรื่องราวของงาน
๕. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิกอื่นๆ ในการนาเสนอความคิดและข้อมูล
๔. สาระการเรียนรู้
๑. การวาดเส้น ๒. การเขียนภาพสีเทียนและสีดินสอ
๓. การเขียนภาพสีน้า ๔. ลายไทย
๕. การปั้น หล่อ และแกะสลัก ๖. ศิลปะการพิมพ์
๑๕
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practica)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
C (capacity)
สมรรถนะสาคัญ
๑. อธิบายเทคนิควิธีการ
วาด
เส้นได้
๒. อธิบายเทคนิควิธีการ
เขียน
ภาพสีเทียนและสีดินสอได้
๓. อธิบายเทคนิควิธีการ
เขียน
ภาพสีน้าได้
๔. อธิบายเทคนิควิธีการ
เขียน
ภาพลายไทยได้
๕. อธิบายเทคนิควิธีการ
ปั้น
หล่อ และแกะสลักได้
๖. อธิบายเทคนิควิธีการ
พิมพ์ได้
๑. สร้างสรรค์งานการ์ตูนที่
ฉัน
ชอบโดยใช้เทคนิควิธีการ
วาดเส้น
๒. สร้างสรรค์งานเรื่อง “ตัว
ฉัน”
โดยใช้เทคนิควิธีการวาดสี
ดินสอและเรื่อง “ครอบครัว
ฉัน” โดยใช้เทคนิควิธีการ
ด้วยสีเทียน
๓. สร้างสรรค์การ์ดอวยพร
โดยใช้เทคนิควิธีการ
ด้วยสีน้า
๔. สร้างสรรค์กล่อง
ของขวัญ
นิยมไทยโดยใช้เทคนิค
วิธีการด้วยสีน้า
๕. สร้างสรรค์สวนสัตว์ของ
เรา
โดยใช้เทคนิค วิธีการปั้น
ด้วยดินน้ามัน
๖. สร้างสรรค์โคมไฟลอย
ฟ้า
โดยใช้เทคนิควิธีการศิลปะ
การพิมพ์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๑. ความสามารถในการ
สื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการ
แก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี
๖. การวัดและประเมินผล
๑๖
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) ใบงาน
๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจใบงาน
๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทาใบงาน
๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงาน
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๗
๑) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ด้วยการวาดเส้นให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๒) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์ผลงานด้วยการวาดเส้น
๓) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เทคนิคการวาดเส้น และทาใบงานที่ ๓.๑ กิจกรรม เรื่อง การ์ตูนที่
ฉันชอบ โดยให้นักเรียนเขียนภาพการ์ตูนที่นักเรียนชอบ อาจจะลอกจากหนังสือการ์ตูนต่างๆ
หรือคิดขึ้นมาเอง โดยลงสีเส้นให้ชัดเจน แล้วระบายสีให้สวยงาม ภาพการ์ตูนอาจเป็นภาพคน
สัตว์ หรือสิ่งของก็ได้ ให้เขียนท่าทางลักษณะต่างๆ
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๔) ครูสุ่มนักเรียนมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง การ์ตูนที่ฉันชอบ โดยครูช่วยสรุปและ
ประเมินผลการสร้างสรรค์
ชั่วโมงที่ ๓
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๕) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ด้วยการเขียนภาพสีเทียนและสีดินสอให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๖) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์ผลงานด้วยสีเทียนและสีดินสอ
๗) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เทคนิคการเขียนภาพสีเทียนและสีดินสอ
๘) แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ทาใบงานที่ ๓.๒ กิจกรรม เรื่อง “ตัวฉัน” ด้วยสี
ดินสอ
๙) นักเรียนแต่ละคนเขียนภาพด้วยสีเทียน เรื่อง “ครอบครัวของฉัน”
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๐) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “ตัวฉัน” โดยครูช่วยสรุปและ
ประเมินผลการทากิจกรรม
ชั่วโมงที่ ๔
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๑) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ด้วยการเขียนภาพสีน้าให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๑๘
๑๒) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์การเขียนภาพด้วยสีน้า
๑๓) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เทคนิคการเขียนภาพสีน้า
๑๔) นักเรียนทาใบงานที่ ๓.๓ กิจกรรม เรื่อง “การ์ดสวยด้วยมือเรา” โดยทาการ์ดอวยพร หรือ
ส.ค.ส. ถึงเพื่อนในโอกาสต่างๆ โดยเขียนรูปด้วยเทคนิคสีน้า เขียนคาอวยพรและบรรจุซอง
ส่งทางไปรษณีย์ถึงเพื่อนในห้องเดียวกัน
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๕) ครูสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “การ์ดสวยด้วยมือเรา” โดยครูช่วย
สรุปและประเมินผลการสร้างสรรค์
ชั่วโมงที่ ๕-๖
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๖) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ด้วยการเขียนลายไทยให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๑๗) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์ด้วยการเขียนลายไทย
๑๘) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เทคนิคการเขียนลายไทยแบบต่างๆ
๑๙) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๓.๔ กิจกรรม เรื่อง “กล่องของขวัญนิยมไทย” โดยให้เขียนลาย
กนก กระจัง หรือ ประจายาม ระบายสีให้สวยงามแล้วนาไปปะติดเป็นลายประดับกล่อง
กระดาษแข็งที่มีความจุประมาณ ๕๐๐-๘๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๒๐) ครูสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “กล่องของขวัญนิยมไทย” โดยครู
ช่วยสรุปและประเมินผลการสร้างสรรค์
ชั่วโมงที่ ๗-๘
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๒๑) ครูนาผลงานสร้างสรรค์ด้วยการปั้น หล่อ และแกะสลักให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๒๒) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์ด้วยการปั้น หล่อ และแกะสลัก
๒๓) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เรื่องการปั้น หล่อ และแกะสลัก
๒๔) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๓.๕ กิจกรรม เรื่อง “สวนสัตว์ของเรา” โดยให้ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต
ความเป็นอยู่ของสัตว์ที่นักเรียนสนใจแล้วปั้นรูปสัตว์ให้เหมือนจริง เขียนชื่อ อธิบายชีวิต
ความเป็นอยู่ของสัตว์ชนิดนั้น แล้วนาสัตว์ที่ปั้นร่วมกันจัดเป็นสวนสัตว์ในห้องเรียน
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๒๕) ครูสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “สวนสัตว์ของเรา” โดยครูช่วยสรุป
และประเมินผลการสร้างสรรค์งาน
๑๙
ชั่วโมงที่ ๙-๑๐
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๒๖) ครูนาผลงานการสร้างสรรค์ด้วยศิลปะการพิมพ์ ให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๒๗) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์ด้วยศิลปะการพิมพ์
๒๘) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เรื่องศิลปะการพิมพ์
๒๙) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๓.๖ กิจกรรม เรื่อง “โคมไฟลอยฟ้า” โดยให้ศึกษาประดิษฐ์
งานพิมพ์บนกระดาษชนิดบาง เช่น กระดาษแก้วสีต่างๆ กระดาษลอกลาย หรือกระดาษ
ทาว่าวจากนั้นนากระดาษที่ได้จากงานพิมพ์มาทาเป็นโคมลอยฟ้ารูปทรงต่างๆตามความต้องการ
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๓๐) ครูสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “โคมไฟลอยฟ้า” โดยครูสรุปและ
ประเมินผลการสร้างสรรค์งาน
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๒. หนังสือการ์ตูนที่นักเรียนชื่นชอบ
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ
รายงาน การสร้างสรรค์เขียนคาอวยพร ส.ค.ส. การ์ดอวยพร
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและศิลปศึกษา ได้แก่ การสร้างสรรค์เขียนภาพ
ด้วยสีเทียน เรื่อง ครอบครัวของฉัน
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสร้างสรรค์งานปั้น แกะสลัก เรื่อง
สวนสัตว์ของเรา โดยอธิบายชีวิตความเป็นอยู่ของสัตว์ชนิดต่างๆ
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๒๐
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(...............................................)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………….……….
…………………………………………………………………………………………………….…………….
………………………………………………………………………………………………………….……….
………………………………………………………………………………………………………..………….
……………………………………………………………………………………………………..…………….
ลงชื่อ...............................................................
( ........................................... )
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
วิชา ทัศนศิลป์ ๑ ศ ๒๑๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ทัศนศิลป์กับภูมิปัญญาไทยและสากล เวลา ๘ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
งานทัศนศิลป์กับมนุษย์เป็นสิ่งที่มีความผูกพันกันมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน
ศิลปินของไทยนาศิลปะมาพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา รวมทั้ง
เรื่องราวประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก ซึ่งมีวิวัฒนาการและพัฒนาไปสู่การสร้างสรรค์งานศิลปะที่
แสดงออกในรูปแบบต่างๆ ของลัทธิทางศิลปะ
๒๑
๒. สาระสาคัญ
เส้นทางการสร้างสรรค์งานศิลปะไทยตั้งแต่สมัยบ้านเชียง ทวารวดี ลพบุรี และศรีวิชัย มีลักษณะ
ที่เป็นเอกลักษณ์ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ และการสร้างสรรค์งานของศิลปินไทยในอดีต
จนถึงปัจจุบัน ที่เราคนไทยควรชื่นชม รวมทั้งเส้นทางการสร้างสรรค์งานศิลปะตะวันตก ตั้งแต่
สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงการสร้างงานของลัทธิศิลปะสมัยใหม่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของ
ชาวโลกที่เราควรอนุรักษ์และสืบทอดตลอดไป
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า
งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
(ศ ๑.๑) ๑. บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม
โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ
(ศ ๑.๒) ๑. ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและของท้องถิ่น
ตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
๒. ระบุและเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย
๓. เปรียบเทียบความแตกต่างของจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของ
วัฒนธรรมไทยและสากล
๔. สาระการเรียนรู้
๑. ประวัติศาสตร์ศิลป์ไทย ๒. ศิลปินไทย
๓. ประวัติศาสตร์ศิลป์ตะวันตก ๔. ลัทธิทางศิลปะ
๒๒
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practica)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
C (capacity)
สมรรถนะสาคัญ
๑. อธิบายประวัติศาสตร์
ศิลป์ไทยได้
๒. อธิบายประวัติและ
ผลงานของศิลปินไทยได้
๓. อธิบายประวัติศาสตร์
ศิลป์ตะวันตกได้
๔. อธิบายลัทธิทางศิลปะได
๑. สร้างสรรค์งานศิลปะ
เรื่อง “กระถางบ้านเชียง”
๒. สร้างสรรค์งานศิลปะ
เรื่อง “ขอเลียนแบบด้วย
คน”
๓. สร้างสรรค์งานศิลปะ
เรื่อง“โคมไฟโรมัน กรีก
อียิปต์”
๔. สร้างสรรค์งานศิลปะ
เรื่อง“เลียนแบบลัทธิดา
ดา”
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๑. ความสามารถในการ
สื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการ
แก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) ใบงาน
๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจใบงาน
๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๒๓
๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทาใบงาน
๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูนาภาพศิลปะสมัยประวัติศาสตร์ของไทยให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๒) ครูอธิบายการสร้างงานศิลปะและวิวัฒนาการของศิลปะในสมัยต่างๆ ของไทย
๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย
ในหัวข้อดังนี้
- ศิลปะสมัยบ้านเชียง - ศิลปะสมัยทวารวดี
- ศิลปะสมัยลพบุรี - ศิลปะสมัยศรีวิชัย
๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา โดยครูคอยอธิบายเสริมความรู้
๕) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๔.๑ กิจกรรมเรื่อง กระถางบ้านเชียง โดยให้นักเรียนเขียนลายบน
กระถางปลูกต้นไม้หรือภาชนะดินเผาสีอิฐ เป็นลวดลายศิลปะบ้านเชียงหรือออกแบบลวดลาย
ใหม่ให้ศิลปะบ้านเชียง เน้นความเหมือนด้วยสีและลวดลาย แล้วใช้สีโปสเตอร์เขียนลายและ
เคลือบด้วยแลกเกอร์เพื่อกันน้า
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๖) นักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง กระถางบ้านเชียง โดยครูช่วยสรุปความรู้
และประเมินผลการทากิจกรรม
๒๔
ชั่วโมงที่ ๓-๔
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๗) ครูนาตัวอย่างภาพผลงานการสร้างสรรค์ของศิลปินไทยให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๘) ครูอธิบายรูปแบบผลงานการสร้างสรรค์ของศิลปินไทย เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นถึงความ
แตกต่าง
๙) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า รูปแบบการสร้างสรรค์ของศิลปิน ขรัวอินโข่ง เขียน ยิ้มศิริ ถวัลย์
ดัชนี และทาใบงานที่ ๔.๒ กิจกรรม เรื่อง “ขอเลียนแบบด้วยคน” โดยให้นักเรียนสร้าง
ประติมากรรมด้วยไม้ ปูน หรือดิน ตามแนวทางของเขียน ยิ้มศิริ
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๐) สุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลงานการสร้างสรรค์กิจกรรม “ขอเลียนแบบด้วยคน” โดยครู
และนักเรียนร่วมกันสรุปและประเมินผลการสร้างสรรค์
ชั่วโมงที่ ๕-๖
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๑) ครูนาภาพศิลปะสมัยประวัติศาสตร์ตะวันตกให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๑๒) ครูอธิบายการสร้างงานศิลปะและวิวัฒนาการของศิลปะในตะวันตกเพื่อเปรียบเทียบให้เห็น
ความแตกต่าง
๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก
ในหัวข้อดังนี้
- ศิลปะอียิปต์ - ศิลปะกรีก - ศิลปะโรมัน
๑๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า โดยครูคอยอธิบายเสริมความรู้
๑๕) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๔.๓ กิจกรรม เรื่อง “โคมไฟโรมัน กรีก อียิปต์” โดยให้นักเรียน
เขียนรูปตามลักษณะของศิลปะโรมัน กรีก อียิปต์ บนกระดาษบางๆ เช่น กระดาษแก้ว
กระดาษลอกลาย กระดาษทาว่าว แล้วนากระดาษไปประดิษฐ์โคมไฟ ใช้ลวดเป็นโครง
ภายใน
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๖) สุ่มนักเรียนออกมานาเสนองานการสร้างสรรค์กิจกรรม เรื่อง “โคมไฟโรมัน กรีก อียิปต์”
โดยครูและนักเรียนร่วมกันสรุปและประเมินผลการสร้างสรรค์
ชั่วโมงที่ ๗-๘
๒๕
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๗) ครูนาภาพศิลปะการสร้างสรรค์ของศิลปินในลัทธิทางศิลปะต่างๆ ให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๑๘) ครูอธิบายรูปแบบผลงานการสร้างสรรค์ของศิลปินในลัทธิทางศิลปะต่างๆ เพื่อเปรียบเทียบ
ให้เห็นถึงความแตกต่าง
๑๙) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ลัทธิทางศิลปะในหัวข้อดังนี้
- ลัทธิเรียลิสม์ (realism) หรือสัจนิยม
- ลัทธิดาดา (dadalism)
- ลัทธิเซอร์เรียลิสม์ (surrealism)
๒๐) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า โดยครูคอยอธิบายเสริมความรู้
๒๑) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๔.๔ กิจกรรม เรื่อง “เลียนแบบลัทธิดาดา” โดยให้นักเรียนศึกษา
ภาพของลัทธิดาดา แล้วเขียนรูปตามแบบลัทธิ
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๒๒) สุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลงานการสร้างสรรค์ กิจกรรม เรื่อง “เลียนแบบบลัทธิดาดา”
โดยครูและนักเรียนร่วมกันสรุปและประเมินผลการสร้างสรรค์
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๒. หอศิลป์ ห้องสมุดโรงเรียน
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๒๖
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(...............................................)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………….……….
…………………………………………………………………………………………………….…………….
ลงชื่อ.........................................
( .............................. )
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
วิชา ทัศนศิลป์ ๑ ศ ๒๑๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การบูรณาการงานทัศนศิลป์ เวลา ๔ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
การศึกษาศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นนั้น เพื่อเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น สารวจสิ่งที่มี
ค่าควรอนุรักษ์ และบันทึกเรื่องราวด้วยตัวอักษรและรูปภาพ นักเรียนควรค้นหาจุดเด่นของท้องถิ่นที่
เหมือนและแตกต่างจากท้องถิ่นอื่นๆ เพื่อช่วยกันรักษาและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามนั้น
ให้ผู้อื่นได้รับรู้ เป็นการสร้างคุณค่าให้ท้องถิ่นและส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
๒. สาระสาคัญ
การบูรณาการสร้างสรรค์ เป็นการเชื่อมโยงหรือหลอมรวมสิ่งต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน และ
นามาสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางศิลปะ ก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าทางความงาม ความคิด
๒๗
และประโยชน์ใช้สอย การบูรณาการศิลปะกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถเลือกกิจกรรม
และแหล่งเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสมและเป็นอิสระ โดยมีวิธีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น
การจัดทาโครงงานทัศนศิลป์ เป็นต้น
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ที่
เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
(ศ ๑.๑) ๑. บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม
โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ
(ศ ๑.๒) ๑. ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและของท้องถิ่น
ตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
๒. ระบุและเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย
๓. เปรียบเทียบความแตกต่างของจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของ
วัฒนธรรมไทยและสากล
๔. สาระการเรียนรู้
๑. ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ๒. โครงงานทัศนศิลป์
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
๒๘
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practica)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
C (capacity)
สมรรถนะสาคัญ
๑. อธิบายศิลปวัฒนธรรม
ท้องถิ่นได้
๒. อธิบายขั้นตอนการท า
โครงงานทัศนศิลป์ได
๑. สร้างสรรค์งานศิลปะ
เรื่อง
“ศิลปวัฒนธรรมบ้านเรา”
๒. สร้างสรรค์โครงงาน
ทัศนศิลป์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๑. ความสามารถในการ
สื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการ
แก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) ใบงาน
๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจใบงาน
๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๒๙
๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทาใบงาน
๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูนาภาพศิลปกรรมที่แสดงภูมิปัญญาท้องถิ่นรูปแบบต่างๆ ให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๒) ครูอธิบายแหล่งที่ควรศึกษาด้านศิลปกรรมของวัฒนธรรมท้องถิ่น
๓) ให้นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้าศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นในหัวข้อดังนี้
- วัด - พระราชวัง
- บ้านเรือนที่อยู่อาศัยและเครื่องใช้ - พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
- อุทยานโบราณสถานและมรดกโลก - วิทยากรในท้องถิ่น
๔) สุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการศึกษา โดยครูคอยอธิบายเสริมความรู้
๕) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๕.๑ กิจกรรม เรื่อง “ศิลปวัฒนธรรมบ้านเรา” โดยให้นักเรียนค้นหา
ศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น แล้วเขียนเป็นเรื่องราวที่น่าอ่าน พร้อมวาดภาพประกอบ
ให้สวยงาม อาจทาเป็นหนังสือเล่มเล็กหรือรายงานประกอบภาพ ภาพบางภาพที่ไม่สามารถ
วาดได้ ให้ใช้วิธีถ่ายภาพแล้วนามาทาหนังสือประกอบคาบรรยาย
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๖) สุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “ศิลปวัฒนธรรมบ้านเรา” โดยครูและนักเรียนช่วยสรุป
ความรู้และประเมินผลการทากิจกรรม
ชั่วโมงที่ ๓-๔
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๗) ครูนาตัวอย่างผลงานการทาโครงงานทัศนศิลป์ให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
Plan01
Plan01
Plan01
Plan01
Plan01
Plan01
Plan01
Plan01
Plan01
Plan01
Plan01
Plan01

Contenu connexe

Tendances

ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2peter dontoom
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้Yatphirun Phuangsuwan
 
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Nakee Wk
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
ข้อสอบ O net art (2)
ข้อสอบ  O  net  art (2)ข้อสอบ  O  net  art (2)
ข้อสอบ O net art (2)Navaphat Phromsala
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุNattapon
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะYatphirun Phuangsuwan
 
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64วายุ วรเลิศ
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...Kruthai Kidsdee
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0neenpd11
 
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะbowing3925
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นLtid_2017
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 10898230029
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยครูเย็นจิตร บุญศรี
 

Tendances (20)

ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
 
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
ข้อสอบ O net art (2)
ข้อสอบ  O  net  art (2)ข้อสอบ  O  net  art (2)
ข้อสอบ O net art (2)
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
 

Similaire à Plan01

สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556คุกกี้ ซังกะตัง
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลายสื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลายIntrayut Konsongchang
 
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224Pattie Pattie
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 
Education's journal
Education's journalEducation's journal
Education's journalKKU Library
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะkrupornpana55
 

Similaire à Plan01 (20)

สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
 
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลายสื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
ปก+รายงาน..[1]
ปก+รายงาน..[1]ปก+รายงาน..[1]
ปก+รายงาน..[1]
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
Cas12 1
Cas12 1Cas12 1
Cas12 1
 
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษานวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา
 
Education's journal
Education's journalEducation's journal
Education's journal
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
แผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะแผน 2 โลหะ
แผน 2 โลหะ
 

Plus de peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

Plus de peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

Plan01

  • 1. ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ วิชา ทัศนศิลป์ ๑ ศ ๒๑๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียนการสอนศิลปะ เวลา ๖ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ งานศิลปะของนักเรียนที่สร้างสรรค์ขึ้นทุกชิ้น ควรจัดแสดงผลงานให้ผู้อื่นได้ชื่นชมและวิพากษ์ วิจารณ์ เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้ศิลปะในโรงเรียน เป็นตัวอย่างให้นักเรียนทั่วไปนาไปเป็นแนวทาง ในการปรับปรุงและสร้างสรรค์ผลงาน อีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้กาลังใจแก่ผู้เป็นเจ้าของผลงาน กระตุ้นให้คิดสร้างสรรค์ผลงานชิ้นต่อไป ๒. สาระสาคัญ การจัดแสดงผลงานศิลปะของนักเรียน มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ในกระบวนการทางานที่จะสื่อถึงความรู้ ความเข้าใจของผู้ที่ชื่นชมในผลงานทา งศิลปะ รวมทั้ง ขั้นตอนการวิเคราะห์ วิจารณ์ผลงาน เพื่อสร้างองค์ความรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์ตรงและประสบการณ์ ทางอ้อมให้กับตนเอง รวมทั้งแนวคิดในการเรียนรู้การสอนวิชาทัศนศิลป์ที่จะนาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของนักเรียนให้เกิดสติปัญญา และการสร้างสรรค์ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ให้อยู่ในสังคมอย่างเป็นสุข ๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ ความรู้เรื่องทัศนธาตุ ๖. ประเมินงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึงวิธีการปรับปรุงงานของตนเองและผู้อื่น โดยใช้เกณฑ์ ที่กาหนดให้
  • 2. ๒ ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. การจัดแสดงผลงานศิลปะ ๒. การวิจารณ์งานศิลปะ ๓. แนวคิดในการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป์ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practica) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ C (capacity) สมรรถนะสาคัญ ๑. อธิบายขั้นตอนการจัด แสดง ผลงานศิลปะได้ ๒. อธิบายขั้นตอน/ กระบวนการ วิจารณ์งานศิลปะได้ ๓. อธิบายแนวคิดในการ เรียน การสอนวิชาทัศนศิลป์ได้ ๑. จัดแสดงผลงานศิลปะ โดย ฝึกปฏิบัติการจัดห้องแสดง ออกแบบการแสดงผลงาน จัดทาสูจิบัตร โฆษณา ประชาสัมพันธ์ และ ประเมินผล การจัดงาน ๒. ฝึกการวิจารณ์งานศิลปะ ๓. แสดงแนวคิดเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ในการเรียน วิชาทัศนศิลป์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถในการ สื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการ แก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) ใบงาน ๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
  • 3. ๓ ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจใบงาน ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) สังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาใบงาน ๒. ผลการวิจารณ์งานศิลปะ ๓. ผลการแสดงผลงานศิลปะ ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑) ครูให้นักเรียนดูภาพการจัดแสดงผลงานศิลปะ ที่แสดงถึงบรรยากาศสิ่งแวดล้อม การจัด แผนผัง ฯลฯ ที่แสดงตามหอศิลป์ หรือสถาบันศิลปะต่างๆ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้เห็น การจัดแสดงในรูปแบบต่างๆ ๒) ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับการจัดแสดงผลงานศิลปะ
  • 4. ๔ ขั้นสอน ๓) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า งานศิลปะของนักเรียนทุกชิ้นที่ทาเสร็จ และครูวิจารณ์ ประเมินผลแล้ว ควรนาออกแสดงให้ผู้อื่นได้ชื่นชมและวิพากษ์วิจารณ์ เป็นตัวอย่าง ให้นักเรียนทั่วไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและสร้างสรรค์ผลงาน ๔) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า เรื่องการแสดงผลงานศิลปะ ๕) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา การจัดแสดงผลงานศิลปะ โดยครูช่วยเสริมเพิ่มเติม ให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๖) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป เรื่อง การจัดแสดงผลงานศิลปะโดยให้นักเรียนเตรียม ผลงานศิลปะเพื่อจัดแสดงในห้องศูนย์ศิลปะของโรงเรียน ชั่วโมงที่ ๒-๓ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๗) ครูนาภาพผลงานของนักเรียนที่ใส่กรอบเรียบร้อย พร้อมที่จะนาแสดงให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๘) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า ผลงานของนักเรียนทุกชิ้น ควรใส่กรอบให้มีลักษณะคล้ายกัน มีขนาดเท่ากันและจัดเป็นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการจัดแสดงและการจัดเก็บ ๙) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาและสร้างสรรค์การทากรอบภาพ อย่างง่าย เพื่อใช้ในการแสดงผลงาน ๑๐) นักเรียนลงมือปฏิบัติงานทากรอบภาพ โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมในส่วนที่นักเรียน ไม่เข้าใจ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๑) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปการสร้างสรรค์กรอบภาพ พร้อมจัดลาดับเข้าเป็นหมวดหมู่ เพื่อเตรียมจัดแสดงผลงานในห้องเรียน หรือศูนย์ศิลปะของโรงเรียน ชั่วโมงที่ ๔-๕ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๒) ครูนาภาพผลงานของนักเรียนหรือของศิลปินให้นักเรียนดู
  • 5. ๕ ขั้นสอน ๑๓) ครูอธิบายขั้นตอน กระบวนการวิจารณ์งานศิลปะที่พบเห็นตามหอศิลป์ หรือศูนย์แสดง ภาพเขียน เพื่อเป็นแนวทางในการวิจารณ์ ๑๔) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า เรื่องการวิจารณ์งานศิลปะ โดยให้เลือกภาพผลงานศิลปะของนักเรียนหรือของศิลปินที่ชื่นชอบ กลุ่มละ ๑ ภาพ ๑๕) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการวิจารณ์งานศิลปะ โดยครูคอยอธิบายเสริมถึงขั้นตอน กระบวนการวิจารณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๖) นักเรียนและครูร่วมกันบรรยายสรุปเรื่องการวิจารณ์งานศิลปะ และให้แต่ละกลุ่มจัดทา รายงานข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ ชั่วโมงที่ ๖ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๗) ครูนาภาพการตกแต่งบ้าน การแต่งกายหรือการจัดสวนและบริเวณให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๑๘) ครูอธิบายแนวคิดในการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป์ ที่สามารถนาไปประ ยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวันของนักเรียน ๑๙) ให้นักเรียนศึกษาแนวคิดในการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป์ สุ่มนักเรียนออกมานาเสนอ หน้าชั้นเรียน โดยมีครูคอยช่วยเสริมความรู้ ๒๐) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๑.๑ กิจกรรมเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียนการสอนศิลปะ โดยแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๒๑) นักเรียนแต่ละกลุ่ม ออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียน การสอนศิลปะ โดยครูช่วยสรุปความรู้ให้สมบูรณ์ ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. หนังสือการจัดสวน บริเวณ และหนังสือนิตยสารทางศิลปะ ๑๐. การบูรณาการ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน
  • 6. ๖ ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ...................................... ( ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ วิชา ทัศนศิลป์ ๑ ศ ๒๑๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ความรู้พื้นฐานงานศิลป์ เวลา ๑๐ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ ความหมาย ขอบข่ายและประโยชน์ของงานทัศนศิลป์ รวมทั้งศิลปะที่แสดงถึงตัวแทนเด็ก การนาเอาทัศนธาตุ และการจัดองค์ประกอบศิลป์มาสร้างเป็นงานศิลปะ สิ่งเหล่านี้เป็นความรู้พื้นฐาน ทางศิลปะที่ผู้เรียนทุกคนต้องศึกษาและนามาสร้างสรรค์ในผลงานศิลปะ
  • 7. ๗ ๒. สาระสาคัญ ศิลปะ คือ ผลแห่งพลังความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่แสดงออกในรูปลักษณ์ต่างกันให้ปรากฏ ซึ่งสุนทรียภาพ ความประทับใจ ผลงานศิลปะของเด็กจะแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดและบุคลิกภาพ ของเด็กนักเรียน เนื้อหาที่สร้างสรรค์มีการนาเอาทัศนธาตุ และหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ เช่น หลักในการสร้างสรรค์งานด้านทัศนศิลป์ ๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๒. ระบุและบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล ๓. วาดภาพทัศนียภาพแสดงให้เห็นระยะไกลใกล้ เป็น ๓ มิติ ๔. รวบรวมงานปั้นหรือสื่อผสมมาสร้างเป็นเรื่องราว ๓ มิติ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และการสื่อถึงเรื่องราวของงาน ๕. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิกอื่นๆ ในการนาเสนอความคิดและข้อมูล ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. พื้นฐานงานศิลป์ ๒. ความหมายและขอบข่ายของงานทัศนศิลป์ ๓. ประโยชน์ของงานทัศนศิลป์ ๔. ศิลปะคือตัวแทนเด็ก ๕. ทัศนธาตุ ๖. การจัดองค์ประกอบศิลป์ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practica) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ C (capacity) สมรรถนะสาคัญ
  • 8. ๘ ๑. อธิบายความรู้พื้นฐาน งานศิลป์ได้ ๒. อธิบายความหมายและ ขอบข่ายของงานทัศนศิลป์ ได้ ๓. บอกประโยชน์ของงาน ทัศนศิลป์ได้ ๔. อธิบายความหมาย ศิลปะ คือตัวแทนเด็กได้ ๕. อธิบายความหมายของ ทัศนธาตุได้ ๖. อธิบายหลักการจัด องค์ประกอบศิลป์ได ๑. เก็บรวบรวมภาพศิลปะ จาก หนังสือและนิตยสารต่างๆ จัดทาเป็นสมุดภาพและ ตกแต่ง ให้สวยงาม ๒. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓- ๕ คน ออกแบบจัดสวน จาลอง โดย ศึกษาวิธีจัดสวนจาก นิตยสาร หรือสถานที่จริงในท้องถิ่น แล้ว จาลองให้มีขนาดเล็กลง จัดเป็น สวนในพื้นที่ ๑ ตารางฟุต โดยนา ความรู้จากทัศนธาตุและ หลักการ จัดองค์ประกอบศิลป์มาใช้ ๓. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ทาโครงสร้าง แขวนแบบ สมดุล ซ้าย-ขวา (โมบาย) โดยใช้ ลวดเป็นแขนสมดุล แขวน งาน ศิลปะขนาดเล็กที่ปลายทั้ง ๒ ข้าง ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถในการ สื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการ แก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี
  • 9. ๙ ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) ใบงาน ๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจใบงาน ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) สังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาใบงาน ๒. ผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์
  • 10. ๑๐ ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑) ครูให้นักเรียนสังเกตธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัว และตอบว่าสังเกตเห็นอะไรบ้าง เพื่อนาเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับความหมายของศิลปะ ขั้นสอน ๒) ครูนารูปภาพเกี่ยวกับงานวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ให้นักเรียนดู พร้อมให้นักเรียนแสดง ความคิดเห็นเปรียบเทียบถึงความแตกต่าง ๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าหัวข้อดังนี้ - พื้นฐานงานศิลป์ - ความหมายและขอบข่ายของงานศิลป์ - ประโยชน์ของงานทัศนศิลป์ - ศิลปะคือตัวแทนเด็ก ๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาทั้ง ๔ หัวข้อ โดยครูคอยอธิบายเสริมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเก็บรวบรวมภาพเกี่ยวกับงานศิลปะจากหนังสือและนิตยสาร ต่างๆ มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป ชั่วโมงที่ ๓-๔ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๖) ครูนาตัวอย่างภาพงานจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และภาพพิมพ์ จากหนังสือ นิตยสารต่างๆ ให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๗) ครูอธิบายถึงรูปแบบข้อมูลภาพของงานทัศนศิลป์ เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นถึงความแตกต่าง ๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ทาใบงานที่ ๒.๑ กิจกรรม เรื่อง สะสมข้อมูลทัศนศิลป์ ๙) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน โดยอธิบายรายละเอียดของภาพที่นามาสะสมว่า นามาจากนิตยสารฉบับใด ใ ค ร เ ป็ น ผู้ ส ร้ า ง ง า น ห รื อ เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง ผ ล ง า น ท า ด้ ว ย วั ส ดุ ใ ด แ ล ะ มี แ น ว คิ ด อย่างไรในการสร้างงาน ขั้นสรุปและการประยุกต์
  • 11. ๑๑ ๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป โดยครูคอยให้ความรู้เสริมในส่วนที่นักเรียนไม่เข้าใจ หรือสรุปไม่ตรงกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๕-๖ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๑) ครูนาตัวอย่างภาพผลงานทัศนธาตุที่แสดงลักษณะจุด เส้น รูปทรง รูปร่าง พื้นผิว มิติ สี และ แสงเงา ช่องไฟและจังหวะให้นักเรียนดูเพื่อเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่าง ขั้นสอน ๑๒) ครูอธิบายถึงลักษณะรูปแบบการสร้างสรรค์ด้วยทัศนธาตุแบบต่างๆ แล้วสุ่มให้นักเรียน ออกมาวาดภาพทัศนธาตุลักษณะต่างๆ ที่ใช้ในงานทัศนศิลป์ เพื่อจาแนกให้นักเรียนเห็น ความแตกต่างของทัศนธาตุ ๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าความหมายของทัศนธาตุ ในหัวข้อดังนี้ - จุด (point) - เส้น (line) - รูปและพื้น (shape-background) - รูปทรงและบริเวณว่าง (form-space) - ลักษณะพื้นผิว (texture) - มิติ (dimension) - สีแสงเงา - ช่องไฟและจังหวะ ๑๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา ค้นคว้า โดยครูคอยอธิบายเสริมถึงการใช้ทัศนธาตุ สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปเรื่องของทัศนธาตุสร้างสรรค์ในงานทัศนศิลป์ ชั่วโมงที่ ๗-๘ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๖) ครูทบทวนเรื่องทัศนธาตุที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว นักเรียนตอบคาถามและแสดงความคิดเห็น ขั้นสอน ๑๗) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ทาใบงานที่ ๒.๒ กิจกรรม เรื่องจัดสวนจาลอง โดยศึกษาวิธีจัดสวนจากนิตยสาร หรือสถานที่จริงในท้องถิ่นแล้วจาลองให้มีขนาดเล็กลง จัดเป็นสวนในพื้นที่ ๑ ตารางฟุต โดยนาความรู้จากทัศนธาตุมาสร้างสรรค์ ๑๘) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานการสร้างสรรค์ โดยครูคอยอธิบายเสริมถึงการใช้ทัศนธาตุ มาจัดสวนจาลอง ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๙) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และเขียนรายงานการสร้างสรรค์
  • 12. ๑๒ ชั่วโมงที่ ๙-๑๐ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๒๐) ครูนาตัวอย่างผลงานการจัดองค์ประกอบศิลป์ ให้นักเรียนดูเพื่อเปรียบเทียบให้เห็น ความแตกต่าง ขั้นสอน ๒๑) ครูอธิบายถึงลักษณะการสร้างสรรค์งานด้วยหลักการจัดองค์ ประกอบศิลป์ แล้วสุ่ม สอบถามนักเรียนให้อธิบายเพิ่มเติมให้เพื่อนๆ ฟัง ๒๒) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษา ค้นคว้า หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ในหัวข้อดังนี้ - ความมีเอกภาพ (unity) - ความประสานกลมกลืน (harmony) - ความขัดแย้ง (contrast) - ความสมดุล (balance) - การจัดจังหวะและลีลา - สัดส่วน (proportion) - การเน้นหรือย้าจุดเด่น ๒๓) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า โดยครูคอยอธิบายเสริมให้สมบูรณ์ ๒๔) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ทาใบงานที่ ๒.๓ กิจกรรมเรื่อง สมดุล ซ้าย-ขวา เท่ากัน โดยทาโครงสร้างแขวน (โมบาย) ใช้ลวดเป็นแขนสมดุล ห้อยงานศิลปะขนาดเล็ก ที่ปลายทั้ง ๒ ข้าง โดยนาความรู้เรื่องการจัดองค์ประกอบศิลป์มาสร้างสรรค์ ๒๕) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการสร้างสรรค์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๒๖) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และเขียนรายงานการสร้างสรรค์ ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. หนังสือการจัดสวน บริเวณ และหนังสือนิตยสารทางศิลปะ ๑๐. การบูรณาการ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค
  • 13. ๑๓ ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………….………. …………………………………………………………………………………………………….……………. ………………………………………………………………………………………………………….………. ………………………………………………………………………………………………………..…………. ……………………………………………………………………………………………………..……………. ลงชื่อ............................................................... ( ......................................... ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ วิชา ทัศนศิลป์ ๑ ศ ๒๑๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เทคนิคการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เวลา ๑๐ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ เทคนิคการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์มีหลายรูปแบบ เทคนิคพื้นฐานที่เหมาะสมกับนักเรียน คือ เทคนิคการวาดเส้น การเขียนภาพสีเทียน สีดินสอ การเขียนภาพสีน้า การเขียนภาพลายไทย การปั้น
  • 14. ๑๔ หล่อ และแกะสลัก รวมทั้งศิลปะการพิมพ์ เทคนิคเหล่านี้เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ที่จะนาไปสู่การ สร้างสรรค์ในระดับสูงต่อไป ๒. สาระสาคัญ กระบวนการในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ การวาดเส้นเป็นเทคนิคพื้นฐานเริ่มต้นของการ ฝึกฝนก่อนจะเข้าสู่การเขียนภาพด้วยสีดินสอ สีเทียนและสีน้าตามลาดับ การเขียนลายไทย เป็นศิลปะ ประจาชาติไทยที่มีความอ่อนช้อยสวยงาม ต้องศึกษาเพราะเป็นการอนุรักษ์สืบทอดศิลปวัฒนธรรม ของคนไทย ส่วนการปั้น หล่อ และแกะสลัก รวมทั้งศิลปะการพิมพ์ เป็นการสร้างสรรค์งาน ในลักษณะมีมิติ และนาไปใช้ในการตกแต่งงานต่างๆ ของโรงเรียน ๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ ความรู้เรื่องทัศนธาตุ ๒. ระบุและบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล ๓. วาดภาพทัศนียภาพแสดงให้เห็นระยะไกลใกล้ เป็น ๓ มิติ ๔. รวบรวมงานปั้นหรือสื่อผสมมาสร้างเป็นเรื่องราว ๓ มิติ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และการสื่อถึงเรื่องราวของงาน ๕. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิกอื่นๆ ในการนาเสนอความคิดและข้อมูล ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. การวาดเส้น ๒. การเขียนภาพสีเทียนและสีดินสอ ๓. การเขียนภาพสีน้า ๔. ลายไทย ๕. การปั้น หล่อ และแกะสลัก ๖. ศิลปะการพิมพ์
  • 15. ๑๕ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practica) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ C (capacity) สมรรถนะสาคัญ ๑. อธิบายเทคนิควิธีการ วาด เส้นได้ ๒. อธิบายเทคนิควิธีการ เขียน ภาพสีเทียนและสีดินสอได้ ๓. อธิบายเทคนิควิธีการ เขียน ภาพสีน้าได้ ๔. อธิบายเทคนิควิธีการ เขียน ภาพลายไทยได้ ๕. อธิบายเทคนิควิธีการ ปั้น หล่อ และแกะสลักได้ ๖. อธิบายเทคนิควิธีการ พิมพ์ได้ ๑. สร้างสรรค์งานการ์ตูนที่ ฉัน ชอบโดยใช้เทคนิควิธีการ วาดเส้น ๒. สร้างสรรค์งานเรื่อง “ตัว ฉัน” โดยใช้เทคนิควิธีการวาดสี ดินสอและเรื่อง “ครอบครัว ฉัน” โดยใช้เทคนิควิธีการ ด้วยสีเทียน ๓. สร้างสรรค์การ์ดอวยพร โดยใช้เทคนิควิธีการ ด้วยสีน้า ๔. สร้างสรรค์กล่อง ของขวัญ นิยมไทยโดยใช้เทคนิค วิธีการด้วยสีน้า ๕. สร้างสรรค์สวนสัตว์ของ เรา โดยใช้เทคนิค วิธีการปั้น ด้วยดินน้ามัน ๖. สร้างสรรค์โคมไฟลอย ฟ้า โดยใช้เทคนิควิธีการศิลปะ การพิมพ์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถในการ สื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการ แก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี ๖. การวัดและประเมินผล
  • 16. ๑๖ ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) ใบงาน ๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจใบงาน ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) สังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาใบงาน ๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงาน ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
  • 17. ๑๗ ๑) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ด้วยการวาดเส้นให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๒) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์ผลงานด้วยการวาดเส้น ๓) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เทคนิคการวาดเส้น และทาใบงานที่ ๓.๑ กิจกรรม เรื่อง การ์ตูนที่ ฉันชอบ โดยให้นักเรียนเขียนภาพการ์ตูนที่นักเรียนชอบ อาจจะลอกจากหนังสือการ์ตูนต่างๆ หรือคิดขึ้นมาเอง โดยลงสีเส้นให้ชัดเจน แล้วระบายสีให้สวยงาม ภาพการ์ตูนอาจเป็นภาพคน สัตว์ หรือสิ่งของก็ได้ ให้เขียนท่าทางลักษณะต่างๆ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๔) ครูสุ่มนักเรียนมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง การ์ตูนที่ฉันชอบ โดยครูช่วยสรุปและ ประเมินผลการสร้างสรรค์ ชั่วโมงที่ ๓ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๕) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ด้วยการเขียนภาพสีเทียนและสีดินสอให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๖) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์ผลงานด้วยสีเทียนและสีดินสอ ๗) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เทคนิคการเขียนภาพสีเทียนและสีดินสอ ๘) แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ทาใบงานที่ ๓.๒ กิจกรรม เรื่อง “ตัวฉัน” ด้วยสี ดินสอ ๙) นักเรียนแต่ละคนเขียนภาพด้วยสีเทียน เรื่อง “ครอบครัวของฉัน” ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๐) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “ตัวฉัน” โดยครูช่วยสรุปและ ประเมินผลการทากิจกรรม ชั่วโมงที่ ๔ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๑) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ด้วยการเขียนภาพสีน้าให้นักเรียนดู ขั้นสอน
  • 18. ๑๘ ๑๒) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์การเขียนภาพด้วยสีน้า ๑๓) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เทคนิคการเขียนภาพสีน้า ๑๔) นักเรียนทาใบงานที่ ๓.๓ กิจกรรม เรื่อง “การ์ดสวยด้วยมือเรา” โดยทาการ์ดอวยพร หรือ ส.ค.ส. ถึงเพื่อนในโอกาสต่างๆ โดยเขียนรูปด้วยเทคนิคสีน้า เขียนคาอวยพรและบรรจุซอง ส่งทางไปรษณีย์ถึงเพื่อนในห้องเดียวกัน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๕) ครูสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “การ์ดสวยด้วยมือเรา” โดยครูช่วย สรุปและประเมินผลการสร้างสรรค์ ชั่วโมงที่ ๕-๖ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๖) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ด้วยการเขียนลายไทยให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๑๗) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์ด้วยการเขียนลายไทย ๑๘) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เทคนิคการเขียนลายไทยแบบต่างๆ ๑๙) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๓.๔ กิจกรรม เรื่อง “กล่องของขวัญนิยมไทย” โดยให้เขียนลาย กนก กระจัง หรือ ประจายาม ระบายสีให้สวยงามแล้วนาไปปะติดเป็นลายประดับกล่อง กระดาษแข็งที่มีความจุประมาณ ๕๐๐-๘๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๒๐) ครูสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “กล่องของขวัญนิยมไทย” โดยครู ช่วยสรุปและประเมินผลการสร้างสรรค์ ชั่วโมงที่ ๗-๘ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๒๑) ครูนาผลงานสร้างสรรค์ด้วยการปั้น หล่อ และแกะสลักให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๒๒) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์ด้วยการปั้น หล่อ และแกะสลัก ๒๓) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เรื่องการปั้น หล่อ และแกะสลัก ๒๔) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๓.๕ กิจกรรม เรื่อง “สวนสัตว์ของเรา” โดยให้ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต ความเป็นอยู่ของสัตว์ที่นักเรียนสนใจแล้วปั้นรูปสัตว์ให้เหมือนจริง เขียนชื่อ อธิบายชีวิต ความเป็นอยู่ของสัตว์ชนิดนั้น แล้วนาสัตว์ที่ปั้นร่วมกันจัดเป็นสวนสัตว์ในห้องเรียน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๒๕) ครูสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “สวนสัตว์ของเรา” โดยครูช่วยสรุป และประเมินผลการสร้างสรรค์งาน
  • 19. ๑๙ ชั่วโมงที่ ๙-๑๐ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๒๖) ครูนาผลงานการสร้างสรรค์ด้วยศิลปะการพิมพ์ ให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๒๗) ครูอธิบายเทคนิคขั้นตอนการสร้างสรรค์ด้วยศิลปะการพิมพ์ ๒๘) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า เรื่องศิลปะการพิมพ์ ๒๙) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๓.๖ กิจกรรม เรื่อง “โคมไฟลอยฟ้า” โดยให้ศึกษาประดิษฐ์ งานพิมพ์บนกระดาษชนิดบาง เช่น กระดาษแก้วสีต่างๆ กระดาษลอกลาย หรือกระดาษ ทาว่าวจากนั้นนากระดาษที่ได้จากงานพิมพ์มาทาเป็นโคมลอยฟ้ารูปทรงต่างๆตามความต้องการ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๓๐) ครูสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “โคมไฟลอยฟ้า” โดยครูสรุปและ ประเมินผลการสร้างสรรค์งาน ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. หนังสือการ์ตูนที่นักเรียนชื่นชอบ ๑๐. การบูรณาการ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ รายงาน การสร้างสรรค์เขียนคาอวยพร ส.ค.ส. การ์ดอวยพร บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและศิลปศึกษา ได้แก่ การสร้างสรรค์เขียนภาพ ด้วยสีเทียน เรื่อง ครอบครัวของฉัน บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสร้างสรรค์งานปั้น แกะสลัก เรื่อง สวนสัตว์ของเรา โดยอธิบายชีวิตความเป็นอยู่ของสัตว์ชนิดต่างๆ บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………….
  • 20. ๒๐ ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………….………. …………………………………………………………………………………………………….……………. ………………………………………………………………………………………………………….………. ………………………………………………………………………………………………………..…………. ……………………………………………………………………………………………………..……………. ลงชื่อ............................................................... ( ........................................... ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ วิชา ทัศนศิลป์ ๑ ศ ๒๑๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ทัศนศิลป์กับภูมิปัญญาไทยและสากล เวลา ๘ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ งานทัศนศิลป์กับมนุษย์เป็นสิ่งที่มีความผูกพันกันมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน ศิลปินของไทยนาศิลปะมาพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา รวมทั้ง เรื่องราวประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก ซึ่งมีวิวัฒนาการและพัฒนาไปสู่การสร้างสรรค์งานศิลปะที่ แสดงออกในรูปแบบต่างๆ ของลัทธิทางศิลปะ
  • 21. ๒๑ ๒. สาระสาคัญ เส้นทางการสร้างสรรค์งานศิลปะไทยตั้งแต่สมัยบ้านเชียง ทวารวดี ลพบุรี และศรีวิชัย มีลักษณะ ที่เป็นเอกลักษณ์ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ และการสร้างสรรค์งานของศิลปินไทยในอดีต จนถึงปัจจุบัน ที่เราคนไทยควรชื่นชม รวมทั้งเส้นทางการสร้างสรรค์งานศิลปะตะวันตก ตั้งแต่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงการสร้างงานของลัทธิศิลปะสมัยใหม่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของ ชาวโลกที่เราควรอนุรักษ์และสืบทอดตลอดไป ๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ (ศ ๑.๑) ๑. บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ (ศ ๑.๒) ๑. ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและของท้องถิ่น ตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ๒. ระบุและเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย ๓. เปรียบเทียบความแตกต่างของจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของ วัฒนธรรมไทยและสากล ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. ประวัติศาสตร์ศิลป์ไทย ๒. ศิลปินไทย ๓. ประวัติศาสตร์ศิลป์ตะวันตก ๔. ลัทธิทางศิลปะ
  • 22. ๒๒ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practica) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ C (capacity) สมรรถนะสาคัญ ๑. อธิบายประวัติศาสตร์ ศิลป์ไทยได้ ๒. อธิบายประวัติและ ผลงานของศิลปินไทยได้ ๓. อธิบายประวัติศาสตร์ ศิลป์ตะวันตกได้ ๔. อธิบายลัทธิทางศิลปะได ๑. สร้างสรรค์งานศิลปะ เรื่อง “กระถางบ้านเชียง” ๒. สร้างสรรค์งานศิลปะ เรื่อง “ขอเลียนแบบด้วย คน” ๓. สร้างสรรค์งานศิลปะ เรื่อง“โคมไฟโรมัน กรีก อียิปต์” ๔. สร้างสรรค์งานศิลปะ เรื่อง“เลียนแบบลัทธิดา ดา” ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถในการ สื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการ แก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) ใบงาน ๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจใบงาน ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) สังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
  • 23. ๒๓ ๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาใบงาน ๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑) ครูนาภาพศิลปะสมัยประวัติศาสตร์ของไทยให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๒) ครูอธิบายการสร้างงานศิลปะและวิวัฒนาการของศิลปะในสมัยต่างๆ ของไทย ๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ประวัติศาสตร์ศิลปะไทย ในหัวข้อดังนี้ - ศิลปะสมัยบ้านเชียง - ศิลปะสมัยทวารวดี - ศิลปะสมัยลพบุรี - ศิลปะสมัยศรีวิชัย ๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา โดยครูคอยอธิบายเสริมความรู้ ๕) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๔.๑ กิจกรรมเรื่อง กระถางบ้านเชียง โดยให้นักเรียนเขียนลายบน กระถางปลูกต้นไม้หรือภาชนะดินเผาสีอิฐ เป็นลวดลายศิลปะบ้านเชียงหรือออกแบบลวดลาย ใหม่ให้ศิลปะบ้านเชียง เน้นความเหมือนด้วยสีและลวดลาย แล้วใช้สีโปสเตอร์เขียนลายและ เคลือบด้วยแลกเกอร์เพื่อกันน้า ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๖) นักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง กระถางบ้านเชียง โดยครูช่วยสรุปความรู้ และประเมินผลการทากิจกรรม
  • 24. ๒๔ ชั่วโมงที่ ๓-๔ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๗) ครูนาตัวอย่างภาพผลงานการสร้างสรรค์ของศิลปินไทยให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๘) ครูอธิบายรูปแบบผลงานการสร้างสรรค์ของศิลปินไทย เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นถึงความ แตกต่าง ๙) ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้า รูปแบบการสร้างสรรค์ของศิลปิน ขรัวอินโข่ง เขียน ยิ้มศิริ ถวัลย์ ดัชนี และทาใบงานที่ ๔.๒ กิจกรรม เรื่อง “ขอเลียนแบบด้วยคน” โดยให้นักเรียนสร้าง ประติมากรรมด้วยไม้ ปูน หรือดิน ตามแนวทางของเขียน ยิ้มศิริ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๐) สุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลงานการสร้างสรรค์กิจกรรม “ขอเลียนแบบด้วยคน” โดยครู และนักเรียนร่วมกันสรุปและประเมินผลการสร้างสรรค์ ชั่วโมงที่ ๕-๖ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๑) ครูนาภาพศิลปะสมัยประวัติศาสตร์ตะวันตกให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๑๒) ครูอธิบายการสร้างงานศิลปะและวิวัฒนาการของศิลปะในตะวันตกเพื่อเปรียบเทียบให้เห็น ความแตกต่าง ๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก ในหัวข้อดังนี้ - ศิลปะอียิปต์ - ศิลปะกรีก - ศิลปะโรมัน ๑๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า โดยครูคอยอธิบายเสริมความรู้ ๑๕) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๔.๓ กิจกรรม เรื่อง “โคมไฟโรมัน กรีก อียิปต์” โดยให้นักเรียน เขียนรูปตามลักษณะของศิลปะโรมัน กรีก อียิปต์ บนกระดาษบางๆ เช่น กระดาษแก้ว กระดาษลอกลาย กระดาษทาว่าว แล้วนากระดาษไปประดิษฐ์โคมไฟ ใช้ลวดเป็นโครง ภายใน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๖) สุ่มนักเรียนออกมานาเสนองานการสร้างสรรค์กิจกรรม เรื่อง “โคมไฟโรมัน กรีก อียิปต์” โดยครูและนักเรียนร่วมกันสรุปและประเมินผลการสร้างสรรค์ ชั่วโมงที่ ๗-๘
  • 25. ๒๕ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๗) ครูนาภาพศิลปะการสร้างสรรค์ของศิลปินในลัทธิทางศิลปะต่างๆ ให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๑๘) ครูอธิบายรูปแบบผลงานการสร้างสรรค์ของศิลปินในลัทธิทางศิลปะต่างๆ เพื่อเปรียบเทียบ ให้เห็นถึงความแตกต่าง ๑๙) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ลัทธิทางศิลปะในหัวข้อดังนี้ - ลัทธิเรียลิสม์ (realism) หรือสัจนิยม - ลัทธิดาดา (dadalism) - ลัทธิเซอร์เรียลิสม์ (surrealism) ๒๐) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า โดยครูคอยอธิบายเสริมความรู้ ๒๑) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๔.๔ กิจกรรม เรื่อง “เลียนแบบลัทธิดาดา” โดยให้นักเรียนศึกษา ภาพของลัทธิดาดา แล้วเขียนรูปตามแบบลัทธิ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๒๒) สุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลงานการสร้างสรรค์ กิจกรรม เรื่อง “เลียนแบบบลัทธิดาดา” โดยครูและนักเรียนร่วมกันสรุปและประเมินผลการสร้างสรรค์ ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. หอศิลป์ ห้องสมุดโรงเรียน ๑๐. การบูรณาการ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………….
  • 26. ๒๖ ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………….………. …………………………………………………………………………………………………….……………. ลงชื่อ......................................... ( .............................. ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ วิชา ทัศนศิลป์ ๑ ศ ๒๑๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การบูรณาการงานทัศนศิลป์ เวลา ๔ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ การศึกษาศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นนั้น เพื่อเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น สารวจสิ่งที่มี ค่าควรอนุรักษ์ และบันทึกเรื่องราวด้วยตัวอักษรและรูปภาพ นักเรียนควรค้นหาจุดเด่นของท้องถิ่นที่ เหมือนและแตกต่างจากท้องถิ่นอื่นๆ เพื่อช่วยกันรักษาและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามนั้น ให้ผู้อื่นได้รับรู้ เป็นการสร้างคุณค่าให้ท้องถิ่นและส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ๒. สาระสาคัญ การบูรณาการสร้างสรรค์ เป็นการเชื่อมโยงหรือหลอมรวมสิ่งต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน และ นามาสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการทางศิลปะ ก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าทางความงาม ความคิด
  • 27. ๒๗ และประโยชน์ใช้สอย การบูรณาการศิลปะกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น สามารถเลือกกิจกรรม และแหล่งเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสมและเป็นอิสระ โดยมีวิธีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การจัดทาโครงงานทัศนศิลป์ เป็นต้น ๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ (ศ ๑.๑) ๑. บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ (ศ ๑.๒) ๑. ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและของท้องถิ่น ตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ๒. ระบุและเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่างๆ ในประเทศไทย ๓. เปรียบเทียบความแตกต่างของจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของ วัฒนธรรมไทยและสากล ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ๒. โครงงานทัศนศิลป์ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 28. ๒๘ K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practica) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ C (capacity) สมรรถนะสาคัญ ๑. อธิบายศิลปวัฒนธรรม ท้องถิ่นได้ ๒. อธิบายขั้นตอนการท า โครงงานทัศนศิลป์ได ๑. สร้างสรรค์งานศิลปะ เรื่อง “ศิลปวัฒนธรรมบ้านเรา” ๒. สร้างสรรค์โครงงาน ทัศนศิลป์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถในการ สื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการ แก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) ใบงาน ๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจใบงาน ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) สังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐
  • 29. ๒๙ ๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาใบงาน ๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑) ครูนาภาพศิลปกรรมที่แสดงภูมิปัญญาท้องถิ่นรูปแบบต่างๆ ให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๒) ครูอธิบายแหล่งที่ควรศึกษาด้านศิลปกรรมของวัฒนธรรมท้องถิ่น ๓) ให้นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้าศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นในหัวข้อดังนี้ - วัด - พระราชวัง - บ้านเรือนที่อยู่อาศัยและเครื่องใช้ - พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น - อุทยานโบราณสถานและมรดกโลก - วิทยากรในท้องถิ่น ๔) สุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการศึกษา โดยครูคอยอธิบายเสริมความรู้ ๕) ให้นักเรียนทาใบงานที่ ๕.๑ กิจกรรม เรื่อง “ศิลปวัฒนธรรมบ้านเรา” โดยให้นักเรียนค้นหา ศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น แล้วเขียนเป็นเรื่องราวที่น่าอ่าน พร้อมวาดภาพประกอบ ให้สวยงาม อาจทาเป็นหนังสือเล่มเล็กหรือรายงานประกอบภาพ ภาพบางภาพที่ไม่สามารถ วาดได้ ให้ใช้วิธีถ่ายภาพแล้วนามาทาหนังสือประกอบคาบรรยาย ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๖) สุ่มนักเรียนออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม เรื่อง “ศิลปวัฒนธรรมบ้านเรา” โดยครูและนักเรียนช่วยสรุป ความรู้และประเมินผลการทากิจกรรม ชั่วโมงที่ ๓-๔ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๗) ครูนาตัวอย่างผลงานการทาโครงงานทัศนศิลป์ให้นักเรียนดู ขั้นสอน