SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
Télécharger pour lire hors ligne
ระบบขับถ่าย
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
ระบบขับถ่าย
นอกจากแก๊สCO2 แล้วยังมีสารอื่นที่ร่างกายต้องกาจัดอีกเช่น แอมโมเนียยูเรีย
และกรดยูริก
และเรียกกลไกนี้ ว่า“การขับถ่าย” โดยจะกาจัดออกทางไตและผิวหนัง
ไต (Kidney)
ไตของคนมี2 ข้าง รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วแดงอยู่ด้านหลังเหนือระดับเอวเล็กน้อย
ทาหน้าที่ขับถ่ายของเสียและรักษาสมดุลของน้าและแร่ธาตุ
ประกอบด้วยหน่วยไตล้างละประมาณ1 ล้านหน่วย
การทางานของไต
ไตจะทาหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือด
เลือดเข้าทางเส้นเลือดอาร์เทอรี(แดง)เมื่อกรองแล้วจะกลับคืนทางเส้นเลือดเวน(ดา)
โดยจะเกิดการถ่ายเลือดบริเวณเส้นเลือดฝอยที่ล้อมรอบท่อขดของหน่วยไต
ของเสียที่ถูกกรองไว้จะไปรวมที่ท่อไตและลงไปที่กระเพาะปัสสาวะเพื่อขับถ่ายต่อไป
ส่วนประกอบของปัสสาวะ
สาร น้าเลือด(ร้อยละ) ปัสสาวะ(ร้อยละ)
น้า 92 95
โปรตีน 7 0
ยูเรีย 0.03 2
กลูโคส 0.1 0
คลอไรด์ 0.37 0.6
การทางานของไต
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม
ระบบประสาทประกอบด้วยสมองไขสันหลังและเส้นประสาท
มีศูนย์กลางคือสมองและไขสันหลังโดยมีตัวกลางคือ “เซลล์ประสาท”
เซลล์ประสาท
ประกอบด้วยส่วนที่เป็นตัวเซลล์ส่วนใหญ่จะอยู่ในสมอง
เส้นใยประสาทซึ่งแบ่งเป็น 2พวก คือนากระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ เรียกว่า
เดนไดรต์
นากระแสประสาทออกจากเซลล์เรียกว่าแอกซอน
หน้าที่ของอวัยวะส่วนต่างๆ
สมอง
บรรจุอยู่ในกะโหลกศีรษะ เป็นศูนย์กลางการทางานของอวัยวะต่างๆ
รับและรวบรวมข้อมูลจากส่วนต่างๆแปลผลและสั่งงานให้เกิดการตอบสนอง
หน้าที่ของอวัยวะส่วนต่างๆ
หน้าที่ของอวัยวะส่วนต่างๆ
ไขสันหลัง
บรรจุอยู่โพรงของกระดูกสันหลัง อยู่ถัดจากสมอง
รับประสานระหว่างสมองกับเส้นประสาทในการรับส่งข้อมูล
หน้าที่ของอวัยวะส่วนต่างๆ
เส้นประสาท
เชื่อมระหว่างอวัยวะต่างๆกับสมองและไขสันหลัง
โดยจะรับคาสั่งจากสมองและไขสันหลังแล้วส่งไปยังอวัยวะโดยใช้กระแสประสาท
หน้าที่ของอวัยวะส่วนต่างๆ
หน้าที่ของอวัยวะส่วนต่างๆ
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด
เกิดเองโดยไม่ต้องมีการเรียนรู้ หรือมีประสบการณ์มาก่อน
เช่นการชักมือกลับเมื่อเจ็บปวดการกระพริบตาเมื่อมีสิ่งแปลกปลอม
การสร้างรังของนกการชักใยของแมงมุมการดูดนมของเด็กทารก
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้
เกิดโดยต้องมีการเรียนรู้ หรือมีประสบการณ์มาก่อน
เช่นการสื่อสารด้วยภาษา การเล่นดนตรีกีฬาการฝึกสุนัข
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
ระบบสืบพันธุ์
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ประกอบด้วยอวัยวะที่สาคัญคืออัณฑะ, องคชาติ
และอวัยวะอื่นๆเช่นหลอดเก็บอสุจิ, หลอดนาอสุจิ ,ต่อมลูกหมากต่อมคาวเปอร์
ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิและท่อปัสสาวะ
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
เซลล์สืบพันธุ์เพศชาย
อัณฑะทั้ง 2 ข้างจะทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนเพศชายและเซลล์สืบพันธุ์คืออสุจิ
อสุจิจะเคลื่อนที่ไป“หลอดเก็บอสุจิ” เพื่อเจริญเติบโต
เมื่อมีการหลั่งอสุจิจะถูกลาเลียงไปตามหลอดนาอสุจิ ไปสู่ท่อปัสสาวะ
เซลล์สืบพันธุ์เพศชาย
ก่อนที่อสุจิจะเข้าสู่ท่อปัสสาวะจะมีส่วนที่ช่วยปรับสภาพได้แก่
ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ ต่อมลูกหมากสาหรับปรับค่า pH
ต่อมคาวเปอร์สร้างสารหล่อลื่นในท่อปัสสาวะเรียกรวมว่า“น้าอสุจิ”
เริ่มสร้างตั้งแต่อายุ12 – 13 ปี ถึง ตลอดชีวิต
เซลล์สืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ประกอบด้วยอวัยวะที่สาคัญคือรังไข่ , มดลูก,ท่อนาไข่,ช่องคลอด
รังไข่มี 2 ข้าง ทาหน้าที่ผลิตไข่และฮอร์โมนเพศหญิง
ที่รังไข่มีท่อนาไข่ที่เปิดเข้าสู่มดลูกซึ่งมีผนังหนาผนังด้านในสามารถแบ่งตัวได้
บริเวณมดลูกที่ติดกับช่องคลอดเรียกว่า “ปากมดลูก”
เซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง
เมื่อไข่เจริญเต็มที่พร้อมได้รับการผสมเรียกว่า“ไข่สุก”
ไข่ที่สุกแล้วจะเข้าสู่ท่อนาไข่เรียกว่า“การตกไข่”โดยจะตกไข่เดือนละ 1เซลล์
เรียกวัยที่มีการสร้างไข่และตกไข่ว่า“วัยเจริญพันธุ์”
การเกิดประจาเดือน
ในขณะที่ไข่ตกผนังมดลูกจะมีผนังหนาขึ้นเพื่อรองรับการฝังตัวของเอมบริโอ
ถ้าเซลล์ไข่ไม่ได้รับการผสมจะสลายตัวไปส่วนผนังมดลูกจะหลุดลอกเป็น
ประจาเดือน
ผู้หญิงจะเริ่มมีประจาเดือนตั้งแต่ 10 – 13 ปี และหยุดเมื่อ45 – 50 ปี
การเกิดประจาเดือน
การเกิดประจาเดือน
การเกิดประจาเดือน
การตั้งครรภ์และการคลอด
เมื่อมีการหลั่งอสุจิเข้าช่องคลอดของเพศหญิงจะเคลื่อนที่ผ่านมดลูก
ไปผสมกับไข่ที่ท่อนาไข่เกิดเป็นไซโกต ซึ่งจะแบ่งตัวไปเรื่อยๆจนเป็นกลุ่มเซลล์
ที่เรียกว่าเอ็มบริโอและไปฝังตัวที่ผนังมดลูก
เมื่อมีอายุครบ8 สัปดาห์จะมีอวัยวะครบเรียกว่า ฟีตัส
มนุษย์ตั้งครรภ์ประมาณ 280วัน หรือ 40 สัปดาห์นับจากวันแรกของมี
ประจาเดือนครั้งสุดท้าย
การตั้งครรภ์และการคลอด
การตั้งครรภ์และการคลอด

Contenu connexe

Tendances

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3oraneehussem
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 

Tendances (20)

ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 

Plus de Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 

Plus de Pinutchaya Nakchumroon (20)

บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2