SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
๑
โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร ห้องเรียนคุณภาพ (DLIT Classroom)
http://krupiyarerk.wordpress.com “เรียนภาษาไทยน่ารู้กับครูปิยะฤกษ์” ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา
ใบความรู้ที่ ๑
เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา
วิชา ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร สพม. เขต ๒๙
เพลงคําและพยางค์
ทํานอง : ป่าดงพงพี
คําและพยางค์นั้นมีความหมายต่างกัน ศึกษาเร็วพลันคําที่ใช้นั้นหลากหลาย
ทุกคําที่เรามีใช้ ความหมายนั้นมีอยู่ ส่วนพยางค์จงคิดและจําเร็วหนู
ส่วนพยางค์จงคิดและจําเร็วหนู ทุก ๆ ครั้งเปล่งเสียงกู่
มีความหมายอยู่หรือไม่มีความหมาย
พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาแต่ละครั้ง จะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ซึ่งเป็นส่วน
หนึ่งของคํา
พยางค์จําแนกออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่
พยางค์เปิด คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ (ต่างกับ
พยางค์ปิดคือ ไม่มีเสียงพยัญชนะท้าย) เช่น ขา โอ ชู คี่ เซ เป็นต้น
พยางค์ปิด คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ และ เสียง
พยัญชนะท้าย (ที่มีเสียงตัวสะกด) เช่น ถาม ดึก สงสัย ภาคภูมิ ไม่ เข้า ทํา เป็นต้น
คํา คือ หน่วยของภาษาที่ประกอบด้วยเสียงและความหมาย คําจําแนกตามพยางค์ได้ดังนี้
๑. คําพยางค์เดียว เพียงเปล่งเสียงครั้งเดียวก็มีความหมาย เช่นคําว่า เดือน ฟ้า กิ่ง
ขาว เสื้อ เป็นต้น
๒. คําหลายพยางค์ ต้องเปล่งเสียงหลายพยางค์จึงทําให้เกิดคําหรือมีความหมาย เช่น
คําว่า ประตู วัตถุ คอมพิวเตอร์ นาฬิกา ประไหมสุหรี เป็นต้น จะพบว่า บางพยางค์ที่พบจาก
๒
โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร ห้องเรียนคุณภาพ (DLIT Classroom)
http://krupiyarerk.wordpress.com “เรียนภาษาไทยน่ารู้กับครูปิยะฤกษ์” ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา
คําหลายพยางค์ แม้ว่าพยางค์นั้น ๆ จะมีความหมายแต่ก็ไม่ได้ให้ความหมายที่เกี่ยวข้องกันกับคํา
นั้น ๆ
องค์ประกอบของพยางค์
ผังความคิดองค์ประกอบของพยางค์
พยางค์
เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์
เสียงพยัญชนะต้น เสียงพยัญชนะท้าย
(พยัญชนะสะกด/
ตัวสะกด)พ.ต้นเดี่ยว (พ)
พ.ต้นประสม
(พพ)
เสียงยาว/
ประสม (สส)
เสียงสั้น (ส) เสียงสามัญ ( )
๐
เสียงเอก ( )
๑
เสียงโท ( )
๒
เสียงตรี ( )
๓
เสียงจัตวา ( )
๔
ตัวการันต์
(อักษรที่ไม่ออกเสียง)
๓
โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร ห้องเรียนคุณภาพ (DLIT Classroom)
http://krupiyarerk.wordpress.com “เรียนภาษาไทยน่ารู้กับครูปิยะฤกษ์” ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา
ในทุก ๆ พยางค์ ต้องมีองค์ประกอบอย่างน้อย ๓ ส่วนเท่านั้น ได้แก่
๑. เสียงพยัญชนะต้น
๒. เสียงสระ
๑. เสียงวรรณยุกต์
สิ่งที่ควรทราบเบื้องต้นเพื่อการวิเคราะห์องค์ประกอบเสียงของพยางค์
๑. เครื่องหมายเส้นเอนคู่ / / ใช้กํากับหน่วยเสียง
๒. เครื่องหมายวงเล็บ ( ) ใช้กํากับประเภทของหน่วยเสียงที่ใช้เป็นสัญลักษณ์
ดังนี้ (พ) แทน หน่วยเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยว
(พพ) แทน หน่วยเสียงพยัญชนะต้นประสม (ควบกล้ําแท้)
(ส) แทน หน่วยเสียงสระเดี่ยวเสียงสั้น
(สส) แทน หน่วยเสียงสระเดี่ยวเสียงยาว หรือ สระประสม
๓. ตัวเลข ๐-๔
แทนหน่วยเสียงวรรณยุกต์แต่ละหน่วยเสียงวรรณยุกต์ ได้แก่
๐
แทน หน่วยเสียงวรรณยุกต์สามัญ
๑
แทน หน่วยเสียงวรรณยุกต์เอก
๒
แทน หน่วยเสียงวรรณยุกต์โท
๓
แทน หน่วยเสียงวรรณยุกต์ตรี
๔
แทน หน่วยเสียงวรรณยุกต์จัตวา
การพิจารณาเพื่อหาคําตอบจากข้อสอบเมื่อถามเกี่ยวกับองค์ประกอบ
ของพยางค์ (โครงสร้างพยางค์) เหมือนหรือต่างให้พิจารณา ดังนี้
๑. เป็นพยางค์เปิด หรือ พยางค์ปิด
๒. มีเสียงพยัญชนะต้น (เสียงพยัญชนะเดี่ยว หรือ เสียงพยัญชนะประสม (ควบแท้) )
๔
โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร ห้องเรียนคุณภาพ (DLIT Classroom)
http://krupiyarerk.wordpress.com “เรียนภาษาไทยน่ารู้กับครูปิยะฤกษ์” ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา
๓. มีเสียงสระ (เสียงสระเดี่ยว ถ้าเดี่ยวเหมือนกันต้องดูด้วยว่าเป็นเสียงสระสั้น หรือ
เสียงสระยาว เสียงสระประสม ๓ เสียงที่ใช้ในปัจจุบันก็จัดอยู่ในกลุ่มสระเสียงยาว)
๔. มีเสียงวรรณยุกต์ (เป็นเสียงสามัญ เอก โท ตรี หรือ จัตวา)
อีกนัยหนึ่งถ้าไม่มีคําตอบที่แน่ชัด ต้องพิจารณาว่าจัดอยู่ในประเภทเสียงวรรณยุกต์ระดับ หรือ
เปลี่ยนระดับ)
ถ้าถามองค์ประกอบพยางค์ (โครงสร้างพยางค์) เราจะพิจารณาเฉพาะเสียงของคํา เป็นหลัก
ถ้าถามการประสมอักษร เราจะพิจารณาทั้งเสียง+รูปลักษณ์ของคํา
ส่วนวิธีประสมอักษร จะพิจารณาที่รูปลักษณ์ของคําเป็นหลัก มีทั้งหมด ๓ วิธีดังนี้
๑. การประสมอักษร ๓ ส่วน เช่นคําว่า ปา มี ดู โต เป็นต้น
๒. การประสมอักษร ๔ ส่วน ได้แก่ การประสมอักษร ๔ ส่วนปกติ เช่นคําว่า บอก เล่า
กรรม นํา ใจ ไย เป็นต้น และ การประสมอักษร ๔ ส่วนพิเศษ เช่นคําว่า เล่ห์ พ่าห์ เป็นต้น
๓. การประสมอักษร ๕ ส่วน เช่นคําว่า การณ์ พราหมณ์ เป็นต้น
ตารางวิเคราะห์โครงสร้าง (องค์ประกอบ) เสียงของพยางค์
รูปคํา
เสียง
พยางค์
(คําอ่าน)
เสียง
พยัญชนะ
ต้น
เสียง
สระ
เสียง
วรรณยุกต์
เสียง
พยัญชนะ
ท้าย
(พ.ปิด)
ตัว
การันต์
(ไม่ออก
เสียง)
สรุป
ชะ ชะ (พ) (ส) /๓
/ - - ๓ ส่วน
พระ พฺระ (พพ) (ส) /๓
/ - - ๓ ส่วน
กา กา (พ) (สส) /๐
/ - - ๓ ส่วน
เรื้อ เรื้อ (พ) (สส) /๓
/ - - ๓ ส่วน
กราบ กฺราบ (พพ) (สส) /๑
/ /ป/ - ๔ ส่วนปกติ
๕
โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร ห้องเรียนคุณภาพ (DLIT Classroom)
http://krupiyarerk.wordpress.com “เรียนภาษาไทยน่ารู้กับครูปิยะฤกษ์” ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา
ก๊าซ ก๊าด (พ) (สส) /๓
/ /ด/ ๔ ส่วนปกติ
ใจ ไจ (พ) (ส) /๐
/ /ย/ - ๔ ส่วนปกติ
พร่ํา พฺร่ํา (พพ) (ส) /๒
/ /ม/ - ๔ ส่วนปกติ
เขลา เขฺลา (พพ) (ส) /๔
/ /ว/ - ๔ ส่วนปกติ
ความ คฺวาม (พพ) (สส) /๐
/ /ม/ - ๔ ส่วนปกติ
เล่ห์ เล่ (พ) (สส) /๒
/ - ห ๔ ส่วนพิเศษ
พ่าห์ พ่า (พ) (สส) /๒
/ - ห ๔ ส่วนพิเศษ
อนุสรณ์ อะ (พ) (ส) /๑
/ - - ๓ ส่วน
นุ (พ) (ส) /๓
/ - - ๓ ส่วน
สอน (พ) (สส) /๔
/ /น/ ณ ๕ ส่วน
พราหมณ์ พฺราม (พพ) (สส) /๐
/ /ม/ ห_ณ ๕ ส่วน
พฤกษ์ พฺรึก (พพ) (ส) /๓
/ /ก/ ษ ๕ ส่วน
มหาโพธิ์ โพ (พ) (สส) /๐
/ - ธ, ิ ๔ ส่วนพิเศษ
เปลี่ยน เปฺลี่ยน (พพ) (สส) /๑
/ /น/ - ๔ ส่วนปกติ

More Related Content

What's hot

ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
bambookruble
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
อุษณีษ์ ศรีสม
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ssuser456899
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 

What's hot (20)

ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 

Viewers also liked

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (18)

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
 
พยางค์
พยางค์พยางค์
พยางค์
 
อินทร๑๑
อินทร๑๑อินทร๑๑
อินทร๑๑
 
วิช
วิชวิช
วิช
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 

Similar to ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ

หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
sukuman139
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
wattanaka
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
Tongsamut vorasan
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
Tongsamut vorasan
 

Similar to ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ (20)

ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ชุด5
ชุด5ชุด5
ชุด5
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
1276933222 morpheme
1276933222 morpheme1276933222 morpheme
1276933222 morpheme
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14 ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 

More from Piyarerk Bunkoson

003 คำแนะนำชุดฝึก
003 คำแนะนำชุดฝึก003 คำแนะนำชุดฝึก
003 คำแนะนำชุดฝึก
Piyarerk Bunkoson
 
004 ปกแรกชุดฝึกทักษะ
004 ปกแรกชุดฝึกทักษะ004 ปกแรกชุดฝึกทักษะ
004 ปกแรกชุดฝึกทักษะ
Piyarerk Bunkoson
 
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
Piyarerk Bunkoson
 

More from Piyarerk Bunkoson (20)

แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
 
016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12
 
015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11
 
014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10
 
013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9
 
012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8
 
011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7
 
010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6
 
009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5
 
008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4
 
007 ชุดที่ 3
007 ชุดที่ 3007 ชุดที่ 3
007 ชุดที่ 3
 
006 ชุดที่ 2
006 ชุดที่ 2006 ชุดที่ 2
006 ชุดที่ 2
 
005 ชุดที่ 1
005 ชุดที่ 1005 ชุดที่ 1
005 ชุดที่ 1
 
003 คำแนะนำชุดฝึก
003 คำแนะนำชุดฝึก003 คำแนะนำชุดฝึก
003 คำแนะนำชุดฝึก
 
002 สารบัญ
002 สารบัญ002 สารบัญ
002 สารบัญ
 
004 ปกแรกชุดฝึกทักษะ
004 ปกแรกชุดฝึกทักษะ004 ปกแรกชุดฝึกทักษะ
004 ปกแรกชุดฝึกทักษะ
 
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ001 คำนำชุดฝึกทักษะ
001 คำนำชุดฝึกทักษะ
 

ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ

  • 1. ๑ โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร ห้องเรียนคุณภาพ (DLIT Classroom) http://krupiyarerk.wordpress.com “เรียนภาษาไทยน่ารู้กับครูปิยะฤกษ์” ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา วิชา ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร สพม. เขต ๒๙ เพลงคําและพยางค์ ทํานอง : ป่าดงพงพี คําและพยางค์นั้นมีความหมายต่างกัน ศึกษาเร็วพลันคําที่ใช้นั้นหลากหลาย ทุกคําที่เรามีใช้ ความหมายนั้นมีอยู่ ส่วนพยางค์จงคิดและจําเร็วหนู ส่วนพยางค์จงคิดและจําเร็วหนู ทุก ๆ ครั้งเปล่งเสียงกู่ มีความหมายอยู่หรือไม่มีความหมาย พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาแต่ละครั้ง จะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ซึ่งเป็นส่วน หนึ่งของคํา พยางค์จําแนกออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ พยางค์เปิด คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ (ต่างกับ พยางค์ปิดคือ ไม่มีเสียงพยัญชนะท้าย) เช่น ขา โอ ชู คี่ เซ เป็นต้น พยางค์ปิด คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ และ เสียง พยัญชนะท้าย (ที่มีเสียงตัวสะกด) เช่น ถาม ดึก สงสัย ภาคภูมิ ไม่ เข้า ทํา เป็นต้น คํา คือ หน่วยของภาษาที่ประกอบด้วยเสียงและความหมาย คําจําแนกตามพยางค์ได้ดังนี้ ๑. คําพยางค์เดียว เพียงเปล่งเสียงครั้งเดียวก็มีความหมาย เช่นคําว่า เดือน ฟ้า กิ่ง ขาว เสื้อ เป็นต้น ๒. คําหลายพยางค์ ต้องเปล่งเสียงหลายพยางค์จึงทําให้เกิดคําหรือมีความหมาย เช่น คําว่า ประตู วัตถุ คอมพิวเตอร์ นาฬิกา ประไหมสุหรี เป็นต้น จะพบว่า บางพยางค์ที่พบจาก
  • 2. ๒ โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร ห้องเรียนคุณภาพ (DLIT Classroom) http://krupiyarerk.wordpress.com “เรียนภาษาไทยน่ารู้กับครูปิยะฤกษ์” ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา คําหลายพยางค์ แม้ว่าพยางค์นั้น ๆ จะมีความหมายแต่ก็ไม่ได้ให้ความหมายที่เกี่ยวข้องกันกับคํา นั้น ๆ องค์ประกอบของพยางค์ ผังความคิดองค์ประกอบของพยางค์ พยางค์ เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ เสียงพยัญชนะต้น เสียงพยัญชนะท้าย (พยัญชนะสะกด/ ตัวสะกด)พ.ต้นเดี่ยว (พ) พ.ต้นประสม (พพ) เสียงยาว/ ประสม (สส) เสียงสั้น (ส) เสียงสามัญ ( ) ๐ เสียงเอก ( ) ๑ เสียงโท ( ) ๒ เสียงตรี ( ) ๓ เสียงจัตวา ( ) ๔ ตัวการันต์ (อักษรที่ไม่ออกเสียง)
  • 3. ๓ โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร ห้องเรียนคุณภาพ (DLIT Classroom) http://krupiyarerk.wordpress.com “เรียนภาษาไทยน่ารู้กับครูปิยะฤกษ์” ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา ในทุก ๆ พยางค์ ต้องมีองค์ประกอบอย่างน้อย ๓ ส่วนเท่านั้น ได้แก่ ๑. เสียงพยัญชนะต้น ๒. เสียงสระ ๑. เสียงวรรณยุกต์ สิ่งที่ควรทราบเบื้องต้นเพื่อการวิเคราะห์องค์ประกอบเสียงของพยางค์ ๑. เครื่องหมายเส้นเอนคู่ / / ใช้กํากับหน่วยเสียง ๒. เครื่องหมายวงเล็บ ( ) ใช้กํากับประเภทของหน่วยเสียงที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ ดังนี้ (พ) แทน หน่วยเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยว (พพ) แทน หน่วยเสียงพยัญชนะต้นประสม (ควบกล้ําแท้) (ส) แทน หน่วยเสียงสระเดี่ยวเสียงสั้น (สส) แทน หน่วยเสียงสระเดี่ยวเสียงยาว หรือ สระประสม ๓. ตัวเลข ๐-๔ แทนหน่วยเสียงวรรณยุกต์แต่ละหน่วยเสียงวรรณยุกต์ ได้แก่ ๐ แทน หน่วยเสียงวรรณยุกต์สามัญ ๑ แทน หน่วยเสียงวรรณยุกต์เอก ๒ แทน หน่วยเสียงวรรณยุกต์โท ๓ แทน หน่วยเสียงวรรณยุกต์ตรี ๔ แทน หน่วยเสียงวรรณยุกต์จัตวา การพิจารณาเพื่อหาคําตอบจากข้อสอบเมื่อถามเกี่ยวกับองค์ประกอบ ของพยางค์ (โครงสร้างพยางค์) เหมือนหรือต่างให้พิจารณา ดังนี้ ๑. เป็นพยางค์เปิด หรือ พยางค์ปิด ๒. มีเสียงพยัญชนะต้น (เสียงพยัญชนะเดี่ยว หรือ เสียงพยัญชนะประสม (ควบแท้) )
  • 4. ๔ โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร ห้องเรียนคุณภาพ (DLIT Classroom) http://krupiyarerk.wordpress.com “เรียนภาษาไทยน่ารู้กับครูปิยะฤกษ์” ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา ๓. มีเสียงสระ (เสียงสระเดี่ยว ถ้าเดี่ยวเหมือนกันต้องดูด้วยว่าเป็นเสียงสระสั้น หรือ เสียงสระยาว เสียงสระประสม ๓ เสียงที่ใช้ในปัจจุบันก็จัดอยู่ในกลุ่มสระเสียงยาว) ๔. มีเสียงวรรณยุกต์ (เป็นเสียงสามัญ เอก โท ตรี หรือ จัตวา) อีกนัยหนึ่งถ้าไม่มีคําตอบที่แน่ชัด ต้องพิจารณาว่าจัดอยู่ในประเภทเสียงวรรณยุกต์ระดับ หรือ เปลี่ยนระดับ) ถ้าถามองค์ประกอบพยางค์ (โครงสร้างพยางค์) เราจะพิจารณาเฉพาะเสียงของคํา เป็นหลัก ถ้าถามการประสมอักษร เราจะพิจารณาทั้งเสียง+รูปลักษณ์ของคํา ส่วนวิธีประสมอักษร จะพิจารณาที่รูปลักษณ์ของคําเป็นหลัก มีทั้งหมด ๓ วิธีดังนี้ ๑. การประสมอักษร ๓ ส่วน เช่นคําว่า ปา มี ดู โต เป็นต้น ๒. การประสมอักษร ๔ ส่วน ได้แก่ การประสมอักษร ๔ ส่วนปกติ เช่นคําว่า บอก เล่า กรรม นํา ใจ ไย เป็นต้น และ การประสมอักษร ๔ ส่วนพิเศษ เช่นคําว่า เล่ห์ พ่าห์ เป็นต้น ๓. การประสมอักษร ๕ ส่วน เช่นคําว่า การณ์ พราหมณ์ เป็นต้น ตารางวิเคราะห์โครงสร้าง (องค์ประกอบ) เสียงของพยางค์ รูปคํา เสียง พยางค์ (คําอ่าน) เสียง พยัญชนะ ต้น เสียง สระ เสียง วรรณยุกต์ เสียง พยัญชนะ ท้าย (พ.ปิด) ตัว การันต์ (ไม่ออก เสียง) สรุป ชะ ชะ (พ) (ส) /๓ / - - ๓ ส่วน พระ พฺระ (พพ) (ส) /๓ / - - ๓ ส่วน กา กา (พ) (สส) /๐ / - - ๓ ส่วน เรื้อ เรื้อ (พ) (สส) /๓ / - - ๓ ส่วน กราบ กฺราบ (พพ) (สส) /๑ / /ป/ - ๔ ส่วนปกติ
  • 5. ๕ โดย ครูปิยะฤกษ์ บุญโกศล โรงเรียนเขื่องในพิทยาคาร ห้องเรียนคุณภาพ (DLIT Classroom) http://krupiyarerk.wordpress.com “เรียนภาษาไทยน่ารู้กับครูปิยะฤกษ์” ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง องค์ประกอบของพยางค์และคํา ก๊าซ ก๊าด (พ) (สส) /๓ / /ด/ ๔ ส่วนปกติ ใจ ไจ (พ) (ส) /๐ / /ย/ - ๔ ส่วนปกติ พร่ํา พฺร่ํา (พพ) (ส) /๒ / /ม/ - ๔ ส่วนปกติ เขลา เขฺลา (พพ) (ส) /๔ / /ว/ - ๔ ส่วนปกติ ความ คฺวาม (พพ) (สส) /๐ / /ม/ - ๔ ส่วนปกติ เล่ห์ เล่ (พ) (สส) /๒ / - ห ๔ ส่วนพิเศษ พ่าห์ พ่า (พ) (สส) /๒ / - ห ๔ ส่วนพิเศษ อนุสรณ์ อะ (พ) (ส) /๑ / - - ๓ ส่วน นุ (พ) (ส) /๓ / - - ๓ ส่วน สอน (พ) (สส) /๔ / /น/ ณ ๕ ส่วน พราหมณ์ พฺราม (พพ) (สส) /๐ / /ม/ ห_ณ ๕ ส่วน พฤกษ์ พฺรึก (พพ) (ส) /๓ / /ก/ ษ ๕ ส่วน มหาโพธิ์ โพ (พ) (สส) /๐ / - ธ, ิ ๔ ส่วนพิเศษ เปลี่ยน เปฺลี่ยน (พพ) (สส) /๑ / /น/ - ๔ ส่วนปกติ