SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Introduction to Information Technology


                 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล

ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
      การสื่ อ สารข้ อ มู ล หมายถึ ง การโอนถ่ า ย (Transmission)
ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้
อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีตัวกลาง เช่น
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สำาหรับควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูล
จากต้นทางไปยังปลายทาง นอกจากนี้อาจจะมีผู้รับผิดชอบในการกำา
หนดกฏเกณฑ์ในการส่งหรือรับข้อมูลตามรูปแบบที่ต้องการ

องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่อสารข้อมูล
      การสื่อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์นั้น จะทำาได้ก็ต่อเมื่อมีองค์
ประกอบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
      ١. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล(Sender)
      ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ที่ อ ยู่ ต้ น ทางจะต้ อ งจั ด เตรี ย มนำา เข้ า สู่ อุ ป กรณ์
สำา หรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล ซึ่ ง ได้ แ ก่ เ ครื่ อ งพิ ม พ์ หรื อ อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม ต่ า ง ๆ
จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นถูกเปลี่ยนให้อยู่ใน
รูปแบบที่สามารถส่งข้อมูลนันได้ก่อน      ้

     ٢. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver)
     ข้อมูลทีถูกส่งจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลต้นทาง เมื่อไปถึงปลายทาง
              ่
ก็จะมีอุปกรณ์สำา หรับรับข้อมูลเหล่านั้นเพื่อนำา ไปใช้ประโยชน์ต่อไป
อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องพิมพ์ คอมพิวเตอร์ จานไมโครเวฟ จาน
ดาวเทียม ฯลฯ

       ٣. โปรโตคอล (Protocal)
       โปรโตคอล คื อ กฏระเบี ย บ หรื อ วิ ธี ก ารใช้ เ ป็ น ข้ อ กำา หนด
สำา หรับการสื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ซึ่งมีหลายชนิด
ให้เลือกใช้ เช่น TCP/IP, X.25, SDLC เป็นต้น

       ٤. ซอฟต์แวร์ (Software)




                                                                                         1
Introduction to Information Technology


      การส่งข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์จำาเป็นต้องมีโปรแกรมสำาหรับกำา
เนิน การ และควบคุ มการส่ งข้ อมู ลเพื่อ ให้ ได้ ข้อ มู ล ตามที่ กำา หนดไว้
ได้แก่ Novell’s netware] UNIX Windows NT ฯลฯ


         ٥. ข่าวสาร (Message)
         เป็นรายละเอีย ดซึ่ งอยู่ใ นรูปแบบต่ าง ๆ ที่จ ะส่ ง ผ่ า นระบบการ
สื่อสาร ซึ่งมีหลายรูปแบบดังนี้
         ٥.١ ข้ อ มู ล (Data) เป็ น รายละเอี ย ดของสิ่ ง ต่ า ง ๆ ซึ่ ง ถู ก
สร้างและจัดเก็บด้วยคอมพิวเตอร์ มีรูปแบบแน่นอน เช่น ข้อมูลเกี่ยว
กับบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า เป็นต้น ข้อมูลสามารถนับจำา นวนได้
และส่งผ่านระบบสื่อสารได้เร็ว
         ٥.٢ ข้ อ ความ (Text) อยู่ ใ นรู ป ของเอกสารหรื อ ตั ว อั ก ขระ
ไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ชัดเจนนับจำานวนได้ค่อนข้างยาก และมีความ
สามารถในการส่งปานกลาง
         ٥.٣ รู ป ภาพ (Image) เป็ น ข่ า วสารที่ อ ยู่ ใ นรู ป ของภาพ
กราฟิกแบบต่าง ๆ ได้แก่ รูปภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดีโอ ซึ่ง
ข้ อ มู ล ชนิ ด นี้ จ ะต้ อ งอาศั ย สื่ อ สำา หรั บ เก็ บ และใช้ ห น่ ว ยความจำา เป็ น
จำานวนมาก
         ٥.٤ เสี ย ง (Voice) อยู่ ใ นรู ป ของเสี ย งพู ด เสี ย งดนตรี หรื อ
เสี ย งอื่ น ๆ ข้ อ มู ล ชนิ ด นี้ จ ะกระจั ด กระจาย ไม่ ส ามารถวั ด ขนาดที่
แน่นอนได้ การส่งจะทำาได้ด้วยความเร็ว ค่อนข้างตำ่า

          ٦. ตัวกลาง(Medium)
          เป็นตัวกลางหรือสื่อกลางที่ทำา หน้าที่นำา ข่าวสารในรูปแบบต่าง
ๆ จากผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งต้นทางไปยังผู้รับหรืออุปกรณ์รับปลายทาง
ซึ่ ง มี ห ลายรู ป แบบได้ แ ก่ สายไป ขดลวด สายเคเบิ ล สายไฟเบอร์
ออฟติก ตัวกลางอาจจะอยู่ในรูปของคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น
คลื่นไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น

การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สำาหรับสื่อสารข้อมูล




                                                                                    2
Introduction to Information Technology


    เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ต้นทางเข้ากับคอมพิวเตอร์ปลาย
ทาง โดยใช้ตัวกลางหรือสื่อกลางสำา หรับเชื่อมต่อ ซึ่งสามารถทำาได้
หลายรูปแบบดังรูป

        การต่อแบบสายตรงตามรูปนั้นอาจจะต่อตรงโดยใช้ช่องต่อแบบ
ขนานของเครื่อง ทั้ง ٢ เครื่อง เพื่อใช้สำา หรับโอนย้ายข้อมูลระหว่าง
เครื่ อ งได้ หรื อ อาจจะต่ อ โดยใช้ อิ น เทอร์ เ ฟสคาร์ ด ใส่ ไ ว้ ใ นเครื่ อ ง
สำาหรับเป้นจุดต่อก้ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของการใช้งานเป็นการเชื่อม
ต่อระยะไกลจากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปยังปลายทาง โดยผ่านเครือ
ข่ายโทรศัพท์สาธารณะ



การส่งสัญญาณข้อมูล (Transmission Definition)
          การส่ ง สั ญ ญาณข้ อ มู ล หมายถึ ง การส่ ง ข้ อ มู ล หรื อ ข่ า วสาร
ต่างๆจากอุปกรณ์สำา หรับส่งหรือผู้ส่ง ผ่านทางตัวกลางหรือสื่อกลาง
ไปยังอุปกรณ์รับหรือผู้รับข้อมูลหรือข่าว ซึ่งข้อมูลหรือข่าวสารที่ส่ง
ไปอาจจะอยู่ในรูปของสัญญาณเสียง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสง
ก็ ได้ โดยที่สื่ อกลางหรื อตั ว กลางของสั ญ ญาณนั้ น แบ่ ง เป็ น ٢ ชนิ ด
คื อ ชนิ ด ที่ ส ามารถกำา หนดเส้ น ทางสั ญ ญาณได้ เช่ น สายเกลี ย วคู่
(Twisted paire) สายโทรศัพท์ สายโอแอกเชียล (Coaxial) สายใย
แก้ ว นำา แสง(Fiber Optic)ส่ ว นตั ว กลางอี ก ชนิ ด หนึ่ ง นั้ น ไม่ ส ามารถ
กำา หนดเส้ น ทางของสั ญ ญาณได้ เช่ น สุ ญ ญากาศ นำ้า และ ชั้ น
บรรยากาศ เป็นต้น

แบบของการส่งสัญญาณข้อมูล
        การส่งสัญญาณข้อมูล สามารถแบ่งได้เป็น ٤ รูปแบบดังนี้
    1. การส่ ง สั ญ ญาณทางเดี ย ว (One-Way Transmission
        หรือ Simplex)
        การส่งสัญญาณแบบนี้ในเวลาเดียวกันจะส่งได้เพียงทางเดียว
เท่านั้น ถึงแม้ว่าตัวส่งจะมีสัญญาณช่องทางก็ตาม ซึ่งมักจะเรียกการ
ส่ ง สั ญ ญาณทางเดี ย วนี้ ว่ า ซิ ม เพล็ ก ซ์ ผู้ ส่ ง สั ญ ญาณจะส่ ง ได้ ท าง



                                                                              3
Introduction to Information Technology


เดี ย ว โดยที่ ผู้ รั บ จะไม่ ส ามารถโต้ ตอบได้ เช่ น การส่ ง วิ ท ยุ ก ระจาย
เสียง การแพร่ภาพโทรทัศน์

   2.     การส่ ง สั ญ ญาณกึ่ ง ทางคู่ (Half-Duplex หรื อ Either-
          Way)
          การส่ ง สั ญ ญาณแบบนี้ เ มื่ อ ผู้ ส่ ง ได้ ทำา การส่ ง สั ญ ญาณไปแล้ ว
ผู้ รั บ ก็ จ ะรั บ สั ญ ญาณนั้ น หลั ง จากนั้ น ผู้ รั บ ก็ ส ามารถปรั บ มาเป็ น ผู้ ส่ ง
สัญญาณแทน ส่วนผู้ส่งเดิมก็ปรับมาเป็นผู้รับแทนสลับกันได้ แต่ไม่
สามารถส่ ง สั ญ ญาณพร้ อ มกั น ในเวลาเดี ย วกั น ได้ จึ ง เรี ย กการส่ ง
สั ญ ญาณแบบนี้ ว่ า ฮาร์ ฟ ดู เ พล็ ก ซ์ (Half Duplex หรื อ HD) ได้ แ ก่
วิทยุสนามที่ตำารวจใช้ เป็นต้น

    การส่ ง สั ญ ญาณทางคู่ (Full-Duplex หรื อ Both way
   3.
    Transmission)
    การส่ ง สั ญ ญาณแบบนี้ ส ามารถส่ ง ข้ อ มู ล ได้ พ ร้ อ มกั น ทั้ ง สอง
ทางในเวลาเดี ย วกั น เช่ น การใช้ โ ทรศั พ ท์ ผู้ ใ ช้ ส ามารถพู ด สาย
โทรศัพท์ได้พร้อม ๆ กัน

   มาตรฐานสากล(International Standards)
      เพื่อความเป็นระเบียบและความสะดวกของผู้ผ ลิตในการผลิ ต
อุปกรณ์สื่อสารแบบต่าง ๆ ขึ้นมา จึงได้มีการกำา หนดมาตรฐานสากล
สำาหรับระบบติดต่อสื่อสารข้อมูลขึ้น ซึ่งประกอบด้วยโปรโตคอล และ
สถาปั ต ยกรรมโดยมี ก ารจั ด ตั้ ง องค์ ก ารสำา หรั บ พั ฒ นา และควบคุ ม
มาตรฐานหมายองค์กรดังต่อไปนี้
      1. ISO            (The           International              Standards
          Organization)
      เ ป็ น อ ง ค์ ก า ร ส า ก ล ที่ พั ฒ น า ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล เ กี่ ย ว กั บ
สถาปัตยกรรมเครือข่าย โดยมีการแบ่งโครงสร้างในการติดต่อสื่อสาร
ออกเป็น ٧ ชั้น (Layers)

        2. CCITT (The                 Conseclitive             Committee              in
           International)



                                                                                        4
Introduction to Information Technology


      เป็นองค์กรสากลที่พฒนามาตรฐาน v และ x โดยทีมาตรฐาน v
                        ั                         ่
ใช้สำาหรับวงจรโทรศัพท์และโมเด็ม เช่น v29,v34 ส่วนมาจรฐาน x
ใช้กับเครือข่ายข้อมูลสาธารณะเช่น เครือข่าย x.25 แพ็กเกจสวิตช์
(Package switch) เป็นต้น

      3. ANSI (The American National Standards
           Institute)
      เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ม า ต ร ฐ า น ข อ ง ส ห รั ฐ เ ม ริ ก า ANSI ไ ด้ พั ฒ น า
มาตรฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายมาตรฐานส่วน
ใหญ่ จ ะเกี่ ย วข้ อ งกั บ การประดิ ษ ฐ์ ตั ว เลขที่ ใ ช้ ใ นการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร
ข้อมูลและมาตรฐานเทอร์มินัส

      4. IEE (The Institute of Electronic Engineers)
      เป็นมาตรฐานที่เกิดจากการรวมตัวของกลุ่มนักวิชาการ และผู้
ปกครองอาชี พ ทางสาขาไฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใ นอเมริ ก าร
มาตรฐานจะเน้ น ไปทางด้ า นอุ ต สาหกรรมไฟฟ้ า อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์
ไ ม โ ค ร โ ป ร เ ซ ส เ ซ อ ร์ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ใ น ไ ม โ ค ร
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ ช่ น IEE 802.3 ซึ่ ง ใ ช้ ร ะ บ บ LAN (Local Area
Network)

       5. EIA (The Electronics Industries Association)
       เป็นองค์กรมาตรฐานของอเมริกาได้กำา หนดมาตรฐานทางด้าน
ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ม า ต ร ฐ า น EIA จ ะ ขึ้ น ต้ น ด้ ว ย RS
(Recommended Standard) เช่น Rs-232-c เป็นต้น

        การผลิตของผู้ประกอบการต่าง ๆ ไม่ว่าจะใช้มาตรฐานใดก็ตาม
สิ่งที่ผลิตนั้นอย่างน้อยจะต้องได้ครบตามมาตรฐาน แต่อาจจะดีเหนือ
กว่ามาตรฐานก็ได้




                                                                                    5
Introduction to Information Technology


ลักษณะของสัญญาณที่ใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูล
       การส่ ง สั ญ ญาณข้ อ มู ล หรื อ ข่ า วสารต่ า ง ๆ สามารถทำา ได้ ٢
ลักษณะดังนี้
       1. ก า ร ส่ ง สั ญ ญ า ณ แ บ บ อ น า ล อ ก (Analog
            Transmission)
       การส่งสัญญาณแบบอนาลอกจะไม่คำานึงถึงสิ่งต่าง ๆ ที่รวมอยู่
ในสัญญาณเลย โดยสัญญาณจะแทนข้อมูล อนาลอก เช่น สัญญาณ
เสียง เป็นต้น ซึ่งสัญญาณอนาลอกที่ส่งออกไปนั้นเมื่อระยะห่างออก
ไปสัญญาณก็จะอ่อนลงเรื่อย ๆ ทำา ให้สัญญาณไม่ค่อยดี ดังนั้นเมื่อ
ระยะห่างไกลออกไปสามารถแก้ไขได้โดยใช้เครื่องขยายสัญญาณ
(Amplifier) แต่ ก็ มี ผ ลทำา ให้ เ กิ ด สั ญ ญาณรบกวน (Noise) ขึ้ น ยิ่ ง
ระยะไกลมากขึ้ น สั ญ ญาณรบกวนก็ เ พิ่ ม มากขึ้ น ซึ่ ง สามารถแก้ ไ ข
สัญญาณรบกวนนี้ได้โดยใช้เครื่องกรองสัญญาณ (Filter) เพื่อกรอง
เอาสัญญาณรบกวนออกไป
       2. การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล(Digital Transmission)
       การส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะใช้เมื่อต้องการข้อมูลที่ถูกต้อง
ชัดเจนแน่นอน ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องสนใจรายละเอียดทุกอย่างที่บรรจุ
มากับสัญญาณ ในทำา นองเดียวกันกับการส่งสัญญาณแบบอนาลอก
กล่าวคือ เมื่อระยะทางในการส่งมากขึ้น สัญญาณดิจิตอลก็จะจางลง
ซึ่ ง สามารถแก้ ไ ขได้ โ ดยใช้ อุ ป กรณ์ ทำา สั ญ ญาณซำ้า หรื อ รี พี ต
เตอร์(Repeater)
       ปั จ จุ บั น การส่ ง สั ญ ญาณแบบดิ จิ ตอลจะเข้ า มามี บ ทบาทสู ง ใน
การสื่อสารข้อมูล เนื่องจากให้ความถูกต้องชัดเจนของข้อมูลสูง และ
ส่งได้ในระยะไกลด้วย สามารถเชื่ อมต่อ เข้ าสู่ ระบบคอมพิ วเตอร์ไ ด้
ง่ า ยด้ ว ย ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากสั ญ ญาณจากคอมพิ ว เตอร์ อ ยู่ ใ นรู ป ของ
ดิจิตอลนั่นเองแต่เดิมนั้นถ้าหากระยะทางในการสื่อสารไกลมักจะใช้
สัญญาณแบบอนาลอกเสียส่วนใหญ่ เช่น โทรศัพท์, โทรเลข เป็นต้น

รหัสที่ใช้ส่งสัญญาณข้อมูล(Transmission Code)
      การส่งสัญญาณการสื่อสารถูกแบ่งออกเป็น ٢ ระบบ คือ แบบ
ดิจิตอลและแบบอนาลอก ซึ่งการส่งสัญญาณแบบอนาลอกส่วนใหญ่
จะเป็นการติดต่อสื่อสารกันระหว่างมนุษย์ ได้แก่ การได้ยิน การมอง
เห็ น อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ เช่ น โทรศั พ ท์ วิ ท ยุ โทรทั ศ น์ สำา หรั บ การส่ ง

                                                                              6
Introduction to Information Technology


สั ญญาณแบบดิ จิตอลนั้น ส่ว นใหญ่ จ ะสื่ อ สารกั น โดยใช้ เ ครื่ อ งจั ก ร
หรืออุปกรณ์ในการถ่ายทอดข้อมูลซึ่งกันและกัน
       ข้อมูลหรือข่าวสารโดยทั่วไปแล้วในเบื้องต้นส่วนใหญ่จะอยู่ใน
รูปแบบที่มนุษย์เข้าใจได้ในทันที เช่น ตัว อัก ษร ตั วเลข เสียง และ
ภาพต่ า ง ๆ ซึ่ ง ข่ า วสารเหล่ า นี้ จ ะอยู่ ใ นรู ป แบบอนาลอก แต่ เ มื่ อ
ต้ องการนำา ข้อมูลหรือข่าวสารเหล่ า นี้ มาใช้ กับ คอมพิ ว เตอร์ จะต้ อ ง
เปลี่ ย นข้ อ มู ล หรื อ ข่ า วสารเหล่ า นี้ ใ ห้ อ ยู่ ใ นรู ป แบบที่ ค อมพิ ว เตอร์
เข้าใจได้เสียก่อน ซึ่งคอมพิวเตอร์จะรับรู้ข่าวสารที่เป็นแบบดิจิตอล
เท่านั้น นั่นคือการเข้าสู่กระบวนการเปลี่ยนข่าวสารแบบอนาลอกให้
เป็นข่าวสารแบบดิจิตอลนั่นเอง
       จากข้ อ ความหรื อ ข่ า วสารต่ า ง ๆ ที่ เ รามองเห็ น และเข้ า ใจได้
เมื่อเราป้อนเข้าสู่คอมพิวเตอร์โดยพิมพ์เข้าทางแป้นพิมพ์ ตัวอักษรที่
พิมพ์เข้าไปจะต้องมีการเข้ารหัสโดยผ่านตัวเข้ารหัส (Encoder) ให้
อยู่ในรู ปของสัญ ญาณที่ สามารถส่ งสั ญญาณต่อ ไปได้ เมื่ อ สั ญ ญาณ
ถูก ส่ง ไปยั งเครื่ องรับ จากนั้ น เครื่ อ งรั บ ก็ จ ะตี ความสั ญ ญาณที่ ส่ง มา
และผ่านตัวถอดรหัส (Decodes) ให้กลับมาอยู่ในรูปแบบที่เราเข้าใจ
ได้หรืออยู่ในรูปแบบที่ใช้สำาหรับเก็บในคอมพิวเตอร์ก็ได้อีกครั้งหนึ่ง

รูปแบบของรหัส
        รหัสที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปจะอยู่ในรูปของไบนารี
(Binary) หรือเลขฐานสอง ซึ่งประกอบด้วยเลข ٠ กับเลข ١ โดยใช้
รหั ส ที่ เ ป็ น เลข ٠ แทนการไม่ มี สั ญ ญาณไฟและเลข ١ แทนการมี
สัญญาณไฟ ซึ่งเป็นไปตามหลักการของไฟฟ้าที่มีลักษณะมีไฟและ
ไม่ มี ไ ฟอยู่ ต ลอดเวลา เรี ย กรหั ส ที่ ป ระกอบด้ ว ย ٠ กั บ ١ ว่ า บิ ต
(Binary Digit) แต่เนื่องจากข้อมูลหรือข่าวสารทั่วไปประกอบด้วยตัว
อักษร ตัวเลขและสัญลักษณ์มากมาย ถ้าจะใช้ ٠ กับ ١ เป็นรหัสแทน
แล้วก็คงจะได้เพียง ٢ ตัวเท่านั้น เช่น ٠ แทนตัว A และ ١ แทนด้วย
B
        ดังนั้นการกำาหนดรหัสจึงได้นำากลุ่มบิทมาใช้ เช่น ٦ บิท, ٧ บิท
หรือ ٨ บิทแทนตัวอักษร ١ ตัว ซึ่งจะสามารถสร้างรหัสที่แตกต่างกัน
ได้ทั้งหมด รหัสมาตรฐานโดยทั่วไปจะใช้กับอักขระภาษาอังกฤษซึ่ง
มี หลายมาตรฐาน เช่ น รหั ส โบดอต (Baudot code), รหัส เอบซี ดิก
(EBCDIC) และรหัสแอสกี (ASCll Code)

                                                                                   7
Introduction to Information Technology


      รหัสแอสกี (ASCll CODE)
      ร หั ส แ อ ส กี (ASCll CODE) ม า จ า ก คำา เ ต็ ม ว่ า American
Standard Code for Information Interchange ซึ่ ง เ ป็ น ร หั ส
มาตรฐานของอเมริกาที่ใช้สำาหรับส่งข่าวสารมีขนาด ٨ บิท โดยใช้ ٧
บิ ท แรกเข้ า รหั ส แทนตั ว อั ก ษร ส่ ว นบิ ท ที่ ٨ จะเป็ น บิ ท ตรวจสอบ
(Parity Bit Check) ร หั ส แ อ ส กี ไ ด้ รั บ ม า ต ร ฐ า น ข อ ง CCITT
หมายเลข ٥ เป็ น รหั ส ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มในการสื่ อ สารข้ อ มู ล อย่ า ง
กว้างขวาง เนื่องจากรหั สแอสกีใ ช้ ٧ บิทแรกแทนตั วอั กขระ แต่ละ
บิทจะประกอบด้วยตัวเลข ٠ หรือเลข ١ ดังนั้นรหัสแอสกีจะมีรหัสที่
แตกต่ า งกั น ได้ เ ท่ า กั บ ٢٧ หรื อ เท่ า กั บ ١٢٨ ตั ว อั ก ขระนั่ น เองใน
จำา นวนนี้ จ ะแบ่ ง เป็ น ตั ว อั ก ษรที่ พิ ม พ์ ไ ด้ ٩٦ อั ก ขระ และเป็ น ตั ว
ควบคุม (Control Characters) อีก ٣٢ อักขระ ซึ่งใช้สำา หรับควบคุม
อุปกรณ์และการ ทำางานต่าง ๆ



       รหัสโบคอต (Baudot Code)
       รหัสโบคอตเป็นรหัสที่ใช้กับระบบโทรเลข และเทเล็กซ์ ซึ่งอยู่
ภายใต้ ม าตรฐานของ CCITT หมายเลข ٢ เป็ น รหั ส ขนาด ٥ บิ ท
สามารถมีร หั ส ที่ แ ตกต่ า งกั น ได้ เ ท่ า กั บ ٢٥ หรื อ เท่ า กั บ ٣٢ รูป แบบ
ซึ่งไม่เพียงพอกับจำานวนอักขระทังหมด จึงมีการเพิ่มอักขระพิเศษขึ้น
                                             ้
อีก ٢ ตัว คือ ١١١١١ หรือ LS (Letter Shift Character) เพื่อเปลี่ยน
กลุ่ ม ตั ว อั ก ษรเป็ น ตั ว พิ ม พ์ เ ล็ ก (Lower case) และ ١١٠١١ หรื อ
FS(Figured Shift Character) สำา หรั บ เปลี่ ย นกลุ่ ม ตั ว อั ก ษรเป็ น ตั ว
พิมพ์ใหญ่ทำาให้มีรหัสเพิ่มขึ้นอีก ٣٢ ตัว แต่มีอักขระซำ้ากับอักขระเดิม
٦ ตัว จึงสามารถใช้รหัสได้จริง ٥٨ ตัว อีก ٣٢ ตัว แต่มีอักขระซำ้า กับ
อักขระเดิม ٦ เดิม จึงสามารถใช้รหัสได้จริง ٥٨ ตัว เนื่องจากรหัสโบ
คอตมี ข นาด ٥ บิ ท ซึ่ ง ไม่ มี บิ ท ตรวจสอบจึ ง ไม่ นิ ย มนำา มาใช้ กั บ
คอมพิวเตอร์

    รหัสเอบซีดิก (EBCDIC)
    ร หั ส EBVFIC ม า จ า ก คำา เ ต็ ม ว่ า Extended Binary Coded
Deximal Interchange Code พัฒนาขึ้ นโดยบริ ษัท IBM มี ขนาด ٨

                                                                               8
Introduction to Information Technology


บิ ต ต่ อ หนึ่ ง อั ก ขระ โดยใช้ บิ ต ที่ ٩ เป็ น บิ ท ตรวจสอบ ดั ง นั้ น จึ ง
สามารถมีรหัสที่แตกต่างสำาหรับใช้แทนตัวอักษรได้ ٢٨ หรือ ٢٥٦ ตัว
อั ก ษร ปั จ จุ บั น รหั ส เอบซี ดิ ก เป็ น มาตรฐานในการเข้ า ตั ว อั ก ขระบน
เครื่องคอมพิวเตอร์

รหัสแบบของการเชื่อมต่อเพื่อการสื่อสารข้อมูล
       การเชื่อมต่ออุปกรณ์สื่อสารเพื่อสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยัง
อักจุดหนึ่งนั้น สามารถทำา ได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความเหมาะสม
สำาหรับรูปแบบของการเชื่อมต่อแบ่งออกเป็นหลายรูปแบบดังต่อไปนี้
       ١. การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point to Point Line)
       เป็นการเชื่อมต่อแบบพื้นฐาน โดยต่อจากอุปกรณ์รับหรือส่ง ٢
ชุด ใช้สายสื่อสารเพียงสายเดียวมีความยาวของสายไม่จำา กัด เชื่อม
ต่ อ สายสื่ อ สารไว้ ต ลอดเวลา (Lease Line) ซึ่ ง สายส่ ง อาจจะเป็ น
ชนิ ด สายส่ ง ทางเดี ย ว (Simplex) สายส่ ง กึ่ ง ทางคู่ (Half-duplex)
หรือ สายส่งทางคู่ แ บบสมบู ร ณ์ (Full-duplex) ก็ ได้ และสามารถส่ ง
สัญญาณข้อมูลได้ทั้งแบบซิงโครนัสหรือแบบวิงโครนัส การเชื่อมต่อ
แบบจุดต่อจุดมีได้หลายลักษณะดังรูปข้างต้น



      ٢. ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ แ บ บ ห ล า ย จุ ด (Multipoint or
      Multidrop)
      เนื่องจากค่าเช่าช่องทางในการส่งผ่านข้อมูลต้องเสียค่าใช้จ่าย
สู ง การเชื่ อมต่ อแบบจุ ด ต่ อ จุ ดนั้ น สิ้ น เปลื อ งสายสื่ อ สารมากการส่ ง
ข้อมูลไม่ได้ใช้งานตลอดเวลา จึงมีแนวความคิดที่จะใช้สายสื่อสาร
เพียงสายเดียวแต่เชื่อมต่อกับหลายๆ จุด ซึ่งทำาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย
ได้มากกว่า ลักษณะการเชื่อมต่อแบบหลายจุดแสดงให้เห็นได้ดังรูป

 การเชื่ อ มต่ อ แบบหลายจุ ด แต่ จุ ด จะมี บั พ เฟอร์ (Buffer) ซึ่ ง เป็ น
 ที่พักเก็บข้อมูลชั่วคราวก่อนทำา การส่ง โดยบัพเฟอร์จะรับข้อมูลมา
 เก็บเรื่อย ๆ จนเต็มบัพเฟอร์ ข้อมูลจะถูกส่งทันทีหรือเมื่อมีคำาสั่งให้
 ส่ง เพื่อใช้สายสื่อสารให้เต็มประสิทธิภาพในการส่งแต่ละครั้ง และ
 ช่วงใดที่ว่างก็สามารถให้ผู้อื่นส่งได้ การเชื่อมต่อแบบนี้จะเหมาะกับ

                                                                              9
Introduction to Information Technology


 การสื่อสารที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก และเป็นข้อมูลที่ไม่ต่อเนื่อง แต่
 อย่ า งไรก็ ต ามถึ ง แม้ ว่ า การสื่ อ สารข้ อ มู ล โดยวิ ธี ก ารเชื่ อ มต่ อ แบบ
 หลายจุดจะประหยัดค่าใช้จ่ายและใช้ระบบสื่อสารได้ค่อนข้างเต็ม
 ประสิทธิภาพ แต่ก็มีข้อจำากัดหลายประการดังต่อไปนี้
      1. ประสิทธิภาพของเครื่องและซอฟต์แวร์ที่ใช้สื่อสารข้อมูล
      2. ปริมาณการส่งผ่านข้อมูลที่เกิดขึ้นจากสถานีส่งและรับข้อมูล
      3. ความเร็วของช่องทางการส่งผ่านข้อมูลทีใช้           ่
      4. ข้อจำา กัดที่ออกโดยองค์การที่ควบคุมการสื่อสารของแต่ละ
         ประเทศ

       3.  การเชื่ อ มต่ อ เครื อ ข่ า ยแบบสลั บ ช่ อ งทางการสื่ อ สาร
           (Switched Network)
       จากรูปแบบการเชื่อมต่อที่เป็นแบบจุดซึ่งต้องต่อสายสื่อสารไว้
ตลอดเวลา แต่ ใ นทางปฏิ บั ติ จ ริ ง แล้ ว การสื่ อ สารข้ อ มู ล ไม่ ไ ด้ ผ่ า น
ตลอดเวลา ดั ง นั้ น จึ ง มี แ นวความคิ ด ในการเชื่ อ มต่ อ เครื อ ข่ า ยแบบ
ส ลั บ ช่ อ ง ท า ง ก า ร สื่ อ ส า ร ห รื อ เ ค รื อ ข่ า ย ส วิ ต ซ์ ซิ่ ง เ พื่ อ เ พิ่ ม
ประสิทธิภาพของการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุดให้สามารถใช้
สื่อสารได้มากที่สุด ลักษณะเครือข่ายแบบสลับช่องทางการสื่อสาร
สามารถแสดงได้ดังรูป

            เครือข่ายแบบสลับช่องทางการสื่อสารที่เห็นโดยทั่วไป
            มี ٤ รูปแบบดังนี้
               1. เ ค รื อ ข่ า ย สื่ อ ส า ร โ ท ร ศั พ ท์ (The Telephone
                  NetworK)
               2. เ ค รื อ ข่ า ย สื่ อ ส า ร เ ท ล เ ล็ ก ช์ (The Telex/TWX
                  Network)
               3. เ ค รื อ ข่ า ย สื่ อ ส า ร แ พ ค เ ก ต ส วิ ต ซ์ ซิ่ ง (package
                  Switching Network)
               4. เครื อ ข่ า ยสื่ อ สารสเปเซี ย ลไลซ์ ดิ จิ ต อล(Specialized
                  Digital Network)




                                                                                         10
Introduction to Information Technology




         หลั ก การทำา งานของเครื อ ข่ า ยแบบสลั บ ช่ อ งทางการ
         สื่อสารดังนี้
             1. การเชื่อมต่อด้องเป็นแบบจุดต่อจุด
             2. ต้องมีการเชื่อมต่อการสื่อสารกันทั้งฝ่ายรับและส่งก่อน
                จะเริ่ ม รั บ หรื อ ส่ ง ข้ อ มู ล เช่ น หมุ น เบอร์ โ ทรศั พ ท์
                เป็นต้น
             3. หลัง จากสื่อสารกัน เสร็จเรีย บร้อยจะต้องตัดการเชื่อ ม
                ต่อ เพื่อให้ผู้อื่นใช้สายสื่อสารได้ต่อไป

สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
       องค์ประกอบที่สำาคัญที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลอันหนึ่งที่ขาดไม่
ได้ คื อ สายสื่ อ กลาง ซึ่ ง แบ่ ง เป็ น ٢ ประเภทใหญ่ คื อ สื่ อ กลางที่
กำา หนดเส้ น ทางได้ เช่ น สายโคแอกเซี ย ล (Coaxial) สายเกลี ย วคู่
(Twisted-pair) สายไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic) และสื่อกลางที่
กำาหนดเส้นทางไม่ได้ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นดาวเทียม คลื่นไมโครเวฟ
เป็นต้น

      การเลื อ กสื่ อ กลางที่ จ ะนำา มาใช้ ใ นการเชื่ อ มต่ อ ระบบสื่ อ สาร
ข้อมูลนั้น จำาเป็นต้องพิจารณากันหลายประการ เช่น ความเร็วในการ
ส่งข้อมูล ราคาของอุปกรณ์ที่ใช้ สถานที่ใช้ การบริการ การควบคุม
ตลอดจนเทคโนโลยี ที่ จ ะนำา มาใช้ ซึ่ ง ลื่ อ กลางแต่ ล ะชนิ ด จะมี
คุณสมบัติแตกต่างกันไป

       สายโคแอกเซียล (Coaxial Cable)
       สายโคแอกเซียลเป็นสายที่นิยมใช้กันค่อนข้างมากในระบบการ
สื่อสารความถี่สูง เช่น สายอากาศของทีวี สายชนิดนี้ถูกออกแบบมา
ให้มีค่าความต้านทาน ٧٥ โอห์มและ ٥٠ โอห์ม โดยสาย ٧٥ โอห์ม
ส่วนใหญ่ใช้กับสายอากาศทีวีและสาย ٥٠ โอห์ม จะนำา มาใช้กับการ
สื่อสารที่เป็นระบบดิจิตอล
       คุ ณ สมบั ติ ข องสายโคแอกเซี ย ลประกอบด้ ว ยตั ว นำา สองสาย
โดยมีสายหนึ่งเป็นแกนอยู่ตรงกลางและอีกเส้นเป็นตัวนำาล้อมรอบอยู่
อีกชั้น มีขนาดของสาย ٠.٤ ถึง ١ นิว้

                                                                             11
Introduction to Information Technology


      สายโคแอกเซียลมี ٢ แบบ คือ แบบหนา (Thick) และแบบบาง
(Thin) แบบหนาจะแข็ง การเดินสายทำาได้ค่อนข้างยาก แต่สามารถ
ส่งสัญญาณได้ไกลกว่าแบบบางสามารถเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของ
สายสื่อสารกลางแบบโคแอกเชียลได้ดังต่อไปนี้


        สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair)
        สายคู่ เ กลี ยวเป็ น สายมาตรฐานสองเส้ น หุ้ ม ด้ ว ยฉนวนแล้ ว บิ ด
เป็นเกลียว สามารถรับส่งข้อมูลได้ทั้งแบบ อนาลอกและแบบดิจิตอล
สายชนิดนี้จะมีขนาด ٠.٠٥٦-٠.٠١٥ นิ้ว ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็ว ١٠
เมกะบิ ท ต่ อ วิ น าที ถ้ า ใช้ ส่ ง สั ญ ญาณแบบอนาลอกจะต้ อ งใช้ ว งจร
ขยายหรือแอมพลิฟายเออร์ ทุก ๆ ระยะ ٦-٥ กม. แต่ถ้าต้องการส่ง
สัญญาณแบบดิจิตอลจะต้องใช้อุปกรณ์ทำา ซำ้า สัญญาณ (Repeater)
ทุก ๆ ระยะ ٣-٢ กม. โดยทั่วไปแล้วสำาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล
สัญญาณที่ส่งเป็นลักษณะคลื่นสี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้
ส่ ง ข้ อ มู ล ได้ ห ลายเมกะบิ ต ต่ อ วิ น าที ใ นระยะทางได้ ไ กลหลาย
กิโลเมตร เนื่องจากสายคู่เกลียว มีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี
และมีนำ้าหนักเบา นอกจากนั้นยังง่ายต่อการติดตั้ง จึงถูกใช้งานอย่าง
กว้ างขวางตั ว อย่ า งของสายคู่ บิ ดเกลี ย ว คื อ สายโทรศั พ ท์ สำา หรั บ
สายคู่บิดเกลียวนันจะมีอยู่ ٢ ชนิดคือ
                       ้
        1. สายคู่ บิ ด เกลี ย วชนิ ด หุ้ ม ฉนวน (Shielded Twisted Pair :
             STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีก
             ชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่ นแม่ เหล็ก ไฟฟ้า ดัง
             รูป
        2. สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน              (Unshielded Twisted
             Pair : UTP) เป็ น สายคู่ บิ ดเกลี ย วที่ หุ้ ม ด้ ว ยฉนวนชั้ น นอกที่
             บางทำาให้สะดวกในการโค้งงอ แต่จะป้องกันการรบกวนของ
             คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรก ดังรูป

     สายส่ ง ข้ อ มู ล แบบไฟเบอร์ อ อฟติ ก จะประกอบด้ ว ยเส้ น ใยทำา
จากแก้ว ٢ ชนิด ชนิดหนึ่งอยู่ตรงแกนกลาง อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก
โดยที่ใยแก้วทั้ง ٢ นี้จะมีดัชนีในการสะท้อนแสงต่างกัน ทำาให้แสงที่
ส่งจากปลายด้านหนึงผ่านไปยังอีกด้านหนึ่งได้
                       ่

                                                                               12
Introduction to Information Technology




      สายส่งแบบไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic)
      เป็ น การส่ ง สั ญ ญาณด้ ว ยใยแก้ ว และส่ ง สั ญ ญาณด้ ว ยแสงมี
ความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสามารถส่งข้อมูลได้ด้วยเร็วเท่ากับแสง
ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอก

     สายส่งข้อมูลแบบไฟเบอร์ออฟติกจะประกอบด้วยเส้นใยแก้ว ٢
ชนิด ชนิดหนึ่งอยู่ตรงแกนกลาง อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก โดยที่ใย
แก้วทั้ง ٢ นี้จะมีดัชนีในการสะท้อนแสงต่างกัน ทำา ให้แสงที่ส่งจาก
ปลายด้านหนึ่งผ่านไปยังอีกด้านหนึ่งได้


อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์
      โมเด็ม (MODEM)
      MODEM มาจากคำา เต็ ม ว่ า Modulator – DEModulator ทำา
หน้ า ที่ แ ปลงสั ญ ญาณข้ อ มู ล ดิ จิ ต อล ที่ ไ ด้ รั บ จากเครื่ อ งส่ ง หรื อ
คอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณแบบอนาลอกก่อนทำา การส่งไปยังปลาย
ทางต่อไป โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์ และเมื่อส่งถึงปลายทางก็จะมี
โมเด็มทำา หน้าที่แปลงสัญญาณจากอนาลอกให้เป็นดิจิตอล เพื่อใช้
กับคอมพิวเตอร์ปลายทาง

         มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer)
         วิธีการเชื่อมต่อการสื่อสารระหว่างผู้รับและผู้ส่งปลายทางที่ง่าย
ที่สุดคือ การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point to Point) แต่ต้องเสียค่า
ใช้ จ่ า ยสู งและใช้ ง านไม่ เ ต็ ม ที่ จึ ง มี วิ ธีก ารเชื่ อ มต่ อ ที่ ยุ่ ง ยากขึ้ น คื อ
การเชื่อมต่อแบบหลายจุดซึ่งใช้สายสื่อสารเพียงเส้น ٨٠٢.٣

     คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator)
     คอนเซนเตรเตอร์ เ ป็ น มั ล ติ เ พล็ ก ซ์ เ ซอร์ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง
สามารถเพิ่มสายหรือช่องทางการส่งข้อมูลได้มากขึ้น การส่งข้อมูล
จะเป็นแบบอซิงโครนัส

       คอนโทรลเลอร์(Controller)

                                                                                          13
Introduction to Information Technology


      คอนโทรลเลอร์ เ ป็ น มั ล ติ เ พล็ ก ซ์ เ ซอร์ ที่ ส่ง ข้ อ มู ล แบบอซิ ง โค
รนั ส ที่ ส ามารถส่ ง ข้ อ มู ล ด้ ว ยความเร็ ว สู ง ได้ ดี การทำา งานจะต้ อ งมี
โปรโตคอลพิ เ ศษสำา หรั บ กำา หนดวิ ธี ก ารรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล มี บ อร์ ด วงจร
ไฟฟ้าและซอฟต์แวร์สำาหรับคอมพิวเตอร์

       ฮับ (HUB)
       ฮั บเป็น อุป กรณ์อิ เล็ กทรอนิ กส์ ทำา หน้า ที่ เ ช่ น เดี ย วกั บ มั ล ติ เ พล็
กซ์ เ ซอร์ ซึ่ ง นิ ย มใช้ กั บ ระบบเครื อ ข่ า ยท้ อ งถิ่ น (LAN) มี ร าคาตำ่า
ติดต่อสื่อสารข้อมูลตามมาตรฐาน IEEE 802.3

         ฟ ร อ น ต์ – เ อ็ น โ ป ร เ ซ ส เ ซ อ ร์ FEP (Front-End
Processor)
         FEP เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างโฮสต์คอมพิวเตอร์
หรือ มินิ คอมพิ วเตอร์กั บอุ ปกรณ์ เครือ ข่า ยสำา หรับ สื่อ สารข้ อ มู ล เช่ น
โมเด็ม มัลติเล็กซ์เซอร์ เป็นต้น FEP เป็นอุปกรณ์ทีมีหน่วยความจำา
(RAM) และซอฟต์แวร์สำา หรับควบคุมการทำางานเป็นของตัวเองโดย
มี ห น้ า ที่ ห ลั กคื อ ทำา หน้ า ที่ แ ก้ ไ ขข่ า วสาร เก็ บ ข่ า วสาร เปลี่ ย นรหั ส
รวบรวมหรือกระจายอักขระ ควบคุมอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูล
จัดคิวเข้าออกของข้อมูล ตรวจสอบข้อผิดพลาดในการส่งข้อมูล

       อิมูเลเตอร์ (Emulator)
       อิ มู เ ลเตอร์ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ที่ ทำา หน้ า ที่ เ ปลี่ ย นกลุ่ ม ข่ า วสารจาก
โปรโตคอลแบบหนึ่งไปเป็นกลุ่มข่าวสาร ซึ่งใช้ โปรโตคอลอีก แบบ
หนึ่ ง แต่ จ ะเป็ น อุ ป กรณ์ ฮ าร์ ดแวร์ ห รื อ เป็ น โปรแกรมซอฟต์ แ วร์ ก็ไ ด้
บางครั้งอาจจะเป็นทั้ง ٢ อย่าง โดยทำาให้คอมพิวเตอร์ที่ต่อเข้ามานั้น
ดูเหมือนเป็นเครื่องเทอร์มินัลหนึ่งเครื่อง โฮสต์หรือมินิคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบันนิยมนำาเครื่อง PC มาใช้เป็นเทอร์มินัลของเครื่องเมนเฟรม
คอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เพราะประหยัดกว่าและเมื่อไรที่ไม่ใช้ติดต่อกับมินิ
หรือเมนแฟรมก็สามารถใช้เป็น PC ทัวไปได้          ่

       เกตเวย์ (Gateway)
       เกตเวย์ เ ป็ น อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ มี ห น้ า ที่ ห ลั ก คื อ ทำา ให้
เครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ٢ เครื อ ข่ า ยหรื อ มากกว่า ซึ่ ง มี ลั ก ษณะแตก

                                                                                       14
Introduction to Information Technology


ต่างกัน สามารถสื่อสารกันได้เสมือนกับเป็นเครือ ข่า ยเดีย วกั น โดย
ทั่วไปแล้วระบบเครือข่ายแต่ละเครือข่ายอาจจะแตกต่างกันในหลาย
กรณี เช่ น ลั ก ษณะการเชื่ อ มต่ อ (Connectivity) ที่ ไ ม่ เ หมื อ นกั น
โปรโตคอลที่ใช้สำาหรับรับส่งข้อมูลต่างกัน เป็นต้น

     บริดจ์ (Bridge)
     เป็ น อุ ป กรณ์ IWU (Inter Working Unit) ที่ ใ ช้ สำา หรั บ เชื่ อ ม
เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network หรือ LAN) ٢ เครือข่ายเข้า
ด้วยกัน ซึ่งอาจจะใช้โปรโตคอลที่เหมือนกันหรือต่างกันก็ได้

       เราเตอร์ (Router)
       เป็น อุป กรณ์ที่ใ ช้เ ชื่อ มต่ อเครือ ข่ า ยเข้ า ด้ ว ยกั น ซึ่ ง อาจจะเป็ น
เครื อ ข่ า ยเดี ย วกั น หรื อ ข้ า มเครื อ ข่ า ยกั น โดยการเชื่ อ มกั น ระหว่ า ง
หลายเครือข่ายแบบนี้เรียกว่า เครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) โดย
เครื อ ข่ า ยแต่ ล ะเครื อ ข่ า ยจะเรี ย กว่ า เครื อ ข่ า ยย่ อ ย (Subnetwork)
ส่ ว นอุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ เ ชื่ อ อมต่ อ ระหว่ า งเครื อ ข่ า ย เรี ย กว่ า IWU (Inter
Working Unit) ได้แก่ เราเตอร์และบริดจ์



       รีพีตเตอร์ (Repeater)
       เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำา หรับส่งสัญญาณซำ้า เพื่อส่งสัญญาณต่อไป
นี้ในระยะไกลป้องกันการขาดหายของสัญญาณ ซึ่งรูปแบบของเครือ
ข่ า ยแต่ ล ะแบบรวมทั้ ง สายสั ญ ญาณที่ ใ ช้ เ ป็ น ตั ว กลางหรื อ สื่ อ กลาง
แต่ละชนิดจะมีข้อจำากัดของระยะทางในการส่ง ดังนั้นเมื่อต้องการส่ง
สั ญ ญาณให้ ไ กลกว่ า ปกติ ต้ อ งเชื่ อ มต่ อ กั บ รี พี ต เตอร์ ดั ง กล่ า ว เพื่ อ
ทำาให้สามารถส่งสัญญาณ ได้ไกลยิ่งขึ้น

    เครือข่าย (Networks)
    เครื อ ข่ า ย หมายถึ ง กลุ่ ม ของคอมพิ ว เตอร์ และอุ ป กรณ์
คอมพิว เตอร์ ที่ ถู กนำา มาเชื่ อ มต่ อ กั น ดั ง นั้ น เครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ จึ ง
ประกอบด้วยสื่อการติดต่อสื่อสาร อุปกรณ์ และซอฟต์แวร์ที่จำาเป็นใน



                                                                                    15
Introduction to Information Technology


การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ ٢ ระบบเข้าด้วยกัน รวมทั้งอุปกรณ์
อื่น ๆ
       ความจำา เป็ น ในการใช้ เครื อ ข่ า ยคอม พิ ว เตอร์ เครื อข่ าย
คอมพิวเตอร์มีความจำา เป็นในการทำา งานในยุคปัจ จุบั น ด้วยเหตุผ ล
ดังนี้
       ١) เครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ทำา ให้ ก ารทำา งานมี ค วามคล่ อ งตั ว
ยืดหยุ่น และปรับตัวให้เข้ากับเงื่อนไขต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่าง
รวดเร็ว
       ٢) เครือข่ายช่วยให้หน่วยงานประหยัดงบประมาณโดยช่วย
สนับสนุนการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน เช่น ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ และฐานข้อมูล
       ٣) เครือข่ายทำาให้พนักงานหรือทีมงานของหน่วยงานที่อยู่ห่าง
ไกลกันสามารถใช้เอกสารร่วมกัน และแลกเปลี่ยนแนวคิด ความเห็น
ตลอดจนเสริมให้การทำา งานเป็นทีมมีประสิทธิภาพดีขึ้น และกระตุ้น
ให้เกิดความคิดใหม่ ๆ
       ٤) เครือข่ายช่วยสร้างให้การติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานกับ
ลูกค้าหรือองค์การภายนอกมีความใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น
       ประเภทของเครือข่าย
       ١) จำาแนกตามพื้นที่
       - เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network-LAN)
       เป็ น การติ ด ต่ อ อุ ป กรณ์ สื่ อ สารตั้ ง แต่ ٢ ชิ้ น ขึ้ น ไประยะ ٢,٠٠٠
ฟุ ต (โดยปกติ จ ะอยู่ ใ นอาคารเดี ย วกั น) LAN จะช่ว ยให้ ผู้ ใ ช้ จำา นวน
มากสามารถใช้ ท รั พ ยากรของหน่ ว ยงานร่ ว มกั น เช่ น พริ น ต์ เ ตอร์
โปรแกรม และไฟล์ข้อมูล ในกรณีที่ LAN ต้องการเชื่อมต่อกับเครือ
ข่า ยสาธารณะภายนอก เช่ น เครื อ ข่ า ยโทรศั พ ท์ ห รื อ เครื อ ข่ า ยของ
หน่ ว ยงานอื่ น จะต้ อ งมี gateway ซึ่ ง ทำา หน้ า ที่ เ หมื อ นประตู ติ ด ต่ อ
ระหว่างเครือข่า ยที่แตกต่ างกัน โดยช่ วยแปลโปรโตคอลของเครื อ
ข่ายให้กับอีกโปรโตคอลหนึ่งเพื่อจะทำางานร่วมกันได้

    - เครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network-MAN)
    เครือข่ายเป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำา มาเชื่อมต่อกันเป็น
วงขนาดใหญ่ขึ้นภายในพื้นทีบริเวณใกล้เคียง เช่น ในเมืองเดียวกัน
                          ่



                                                                              16
Introduction to Information Technology


       - เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network-WAN)
       เป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมพื้นที่ในบริเวณกว้างโดยครอบคลุม
ทั้ ง ประเทศหรื อ ทั้ ง ทวี ป WAN จะอาศั ย สื่ อ โทรคมนาคมหลาย
ประเภท เช่น เคเบิ้ล ดาวเทียม และไมโครเวฟ

        ٢) แบ่งตามความเป็นเจ้าของ
         - เครือข่ายสาธารณะ (Public Network)
        เป็นเครือข่ายที่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้โดยทั่วไปได้ใช้ประโยชน์ ดัง
นั้นผู้ใช้จะต้องแข่งกับผู้ใช้รายอื่น โดยเฉพาะช่วงเวลาที่มีผู้ใช้จำานาน
มาก เช่น ระบบโทรศัพท์สาธารณะ ซึ่งผู้ใช้ไม่มีหลักประกันว่าสายจะ
ว่างในช่วงนี้ต้องการหรือไม่

     - เครือข่ายเอกชน (Private Network)
    เป็นเครือข่ายที่หน่วยงานสามารถเป็นเจ้าของเอง หรือ เช่าเพื่อ
ประโยชน์ในการสื่อสาร กรณีนี้ก็จะเป็นหลักประกันว่าหน่วยงานจะมี
โอกาสได้ใช้เครือข่ายเมื่อต้องการเสมอ

      - เครือข่ายแบบมูลค่าเพิ่ม (Value-added Network-VAN)
เป็นเครือข่ายกึ่งสาธารณะซึ่งให้บริการเพิ่มขึ้นจากการติดต่อสื่อสาร
ปกติ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารสื่ อ สาร (Communication service provider) เป็ น
เจ้าของ VAN อย่างไรก็ตาม VAN เร็วกว่าเครือข่ายสาธารณะและมี
ความปลอดภัยมากกว่า เครือข่ายสาธารณะ




       - เครือข่ายเอกชนเสมือนจริง (Virtual Private Network-VPN)
       เป็ น เครื อ ข่ า ยสาธารณะที่ รั บ ประกั น ว่ า ผู้ ใ ช้ จ ะมี โ อกาสใช้ ง าน
เครือข่ายได้ตลอดเวลาแต่ไม่ได้ให้สายหรือช่องทางการสื่อสารแก่
หน่วยงานผู้ใช้โดยเฉพาะ แต่จะใช้วิธีแปลงรหัสข้อมูลของหน่วยงาน
ผู้ใช้โดยเฉพาะ แต่จะใช้วิธีแปลงรหัสข้อมูลของหน่วยงานเพื่อที่จะ
ส่งไปพร้อม ๆ กับหน่วยงานอื่น ๆ



                                                                                 17
Introduction to Information Technology


          Network Topology
          คือการออกแบบและการติดต่อเชื่อมโยงกันของเครือข่ายทาง
กายภาพ โดยทั่วไปโทโปโลจีพื้นฐานมีอยู่ ٣ ประเภท ดังนี้
          ١) แบบดาว (Star Network)
          เป็ น เครื อ ข่ า ยที่ ค อมพิ ว เตอร์ ทุ ก ตั ว และอุ ป กรณ์ อื่ น เชื่ อ มกั บ
โฮสต์คอมพิวเตอร์ที่อยู่ และการสื่อสารทั้งหมดระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ
ภายในเครื อ ข่ า ยต้ อ งผ่ า นโฮสต์ ค อมพิ ว เตอร์ เนื่ อ งจากโฮสต์
คอมพิวเตอร์เป็นตัวควบคุมอุปกรณ์อื่นทั้งหมดในเครือข่าย เครือข่าย
แบบดาวเหมาะสำา หรับการประมวลผลที่มีลักษณะรวมศูนย์ อย่างไร
ก็ตามข้อจำา กัดของแบบนี้ คือ หากใช้ โฮสต์ คอมพิว เตอร์ก็จะทำา ให้
ระบบทังหมดทำางานไม่ได้
           ้
          ٢) แบบบัส (Bus Network)
          เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์โดยใช้สายวงจรเดียว ซึ่งอาจจะ
เป็ น สายเกลีย วคู่ ส ายโคแอกเชี ย ล หรื อ สายใยแก้ ว ก็ ไ ด้ สั ญ ญาณ
สามารถสื่อสารได้ ٢ ทางในเครือข่ายโดยมีซอฟต์แวร์คอยช่วยแยก
ว่าอุปกรณ์ใดจะเป็นตัวรับข้อมูล หากมีคอมพิวเตอร์ตัวใดในระบบล้ม
เหลวจะไม่มีผลต่อคอมพิ วเตอร์ อื่น อย่างไรก็ ตามช่ องทางในระบบ
เครือข่ายแบบนี้สามารถจัดการรับข้อมูล ได้ ครั้ งละ ١ ชุดเท่านั้น ดัง
นั้นจึงเกิดปัญหาการจราจรของข้อมูลได้ในกรณีที่มีผู้ต้องการใช้งาน
พร้อมกัน โทโปโลจีแบบนี้นยมใช้ในวงแลน ิ
          ٣) แบบวงแหวน (Ring Network)
          คอมพิว เตอร์ ทุกตัว เชื่ อมโยงเป็น วงจรปิด ทำา ให้ ก ารส่ ง ข้ อ มูล
จากคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่งโดยเดินทางไปในทิศทาง
เดียว คอมพิวเตอร์แต่ละตัวทำางานโดยอิสระ หากมีตัวใด ตัวหนึ่งเสีย
ระบบการสื่อสารในเครือข่ายได้รับการกระทบกระเทือน ยกเว้นจะมี
วงแหวนคู่ในการรับส่ง ข้อมูลในทิศทางต่างๆ กัน เพื่อเป็นเส้นทาง
สำารองในการป้องกันไม่ให้เครือข่ายหยุดทำางานโดยสิ้นเชิง
          นอกจากโทโปโลจี ทั้ ง ٣ แบบที่ ก ล่ า วข้ า งต้ น อาจจะพบโท
โปโลจี แ บบอื่ น ๆ เช่ น แบบโครงสร้ า งลำา ดั บ ชั้ น (Hierarchical
Network) ซึ่ ง มี ลั ก ษณะโครงสร้ า งคล้ า ยต้ น ไม้ (Tree) หรื อ มี แ บบ
ผสม (Hybrid) อย่างไรก็ตามโทโปโลจีแต่ละประเภทจะมีข้อดีและ
ข้อจำากัดแตกต่างกันผู้พัฒนาระบบจะต้องพิจารณาถึงความเร็ว ความ
เชื่ อ ถื อได้ และความสามารถของเครื อ ข่ า ยในการทำา งาน หรื อ การ

                                                                                      18
Introduction to Information Technology


แก้ไขข้อบกพร่องในกรณีที่อุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่งในระบบมีปัญหา
ตลอดจนลักษณะทางกายภาพ เช่น ระยะห่างของ node และต้นทุน
ของทั้งระบบ
รู ป แ บ บ ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล แ บ บ ก ร ะ จ า ย เ ค รื อ ข่ า ย
(Organizational Distributed Processing)
      วิธีการประมวลผลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์มี ٣ รูปแบบ คือ
      ١.Terminal-to-Host Processing
      ٢. File Server Processing
      ٣. Client/Server




                                                                     19

More Related Content

What's hot

การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)ภูเบศ เศรษฐบุตร
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัดTuang Thidarat Apinya
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน7roommate
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลHappy Sara
 
สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่Sand Jutarmart
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 

What's hot (20)

การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์
 
สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 

Viewers also liked

สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404ณัชชา เอื้อนฤมลสุข
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffsพื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center StaffsChideeHom
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟPeerapas Trungtreechut
 
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนเฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนpeter dontoom
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
Internet protocol (ip) ppt
Internet protocol (ip) pptInternet protocol (ip) ppt
Internet protocol (ip) pptDulith Kasun
 
Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?John Spencer
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItJennifer Jones
 

Viewers also liked (11)

สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffsพื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟ
 
Supercapacitors as an Energy Storage Device
Supercapacitors as an Energy Storage DeviceSupercapacitors as an Energy Storage Device
Supercapacitors as an Energy Storage Device
 
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนเฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
Internet protocol (ip) ppt
Internet protocol (ip) pptInternet protocol (ip) ppt
Internet protocol (ip) ppt
 
Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?Can We Assess Creativity?
Can We Assess Creativity?
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of It
 

Similar to บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย

Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารBeauso English
 
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศป.ปลา ตากลม
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8ratiporn555
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8niramon_gam
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายNote Narudaj
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 

Similar to บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย (20)

Network
NetworkNetwork
Network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
PPT WORK
PPT WORKPPT WORK
PPT WORK
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสําคัญและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

More from Pokypoky Leonardo

บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำบทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำPokypoky Leonardo
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตPokypoky Leonardo
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 

More from Pokypoky Leonardo (7)

บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำบทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำ
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย

  • 1. Introduction to Information Technology ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล ความหมายของการสื่อสารข้อมูล การสื่ อ สารข้ อ มู ล หมายถึ ง การโอนถ่ า ย (Transmission) ข้อมูลหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง โดยใช้ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีตัวกลาง เช่น ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สำาหรับควบคุมการส่งและการไหลของข้อมูล จากต้นทางไปยังปลายทาง นอกจากนี้อาจจะมีผู้รับผิดชอบในการกำา หนดกฏเกณฑ์ในการส่งหรือรับข้อมูลตามรูปแบบที่ต้องการ องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์นั้น จะทำาได้ก็ต่อเมื่อมีองค์ ประกอบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ١. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล(Sender) ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ที่ อ ยู่ ต้ น ทางจะต้ อ งจั ด เตรี ย มนำา เข้ า สู่ อุ ป กรณ์ สำา หรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล ซึ่ ง ได้ แ ก่ เ ครื่ อ งพิ ม พ์ หรื อ อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม ต่ า ง ๆ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นถูกเปลี่ยนให้อยู่ใน รูปแบบที่สามารถส่งข้อมูลนันได้ก่อน ้ ٢. ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) ข้อมูลทีถูกส่งจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลต้นทาง เมื่อไปถึงปลายทาง ่ ก็จะมีอุปกรณ์สำา หรับรับข้อมูลเหล่านั้นเพื่อนำา ไปใช้ประโยชน์ต่อไป อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องพิมพ์ คอมพิวเตอร์ จานไมโครเวฟ จาน ดาวเทียม ฯลฯ ٣. โปรโตคอล (Protocal) โปรโตคอล คื อ กฏระเบี ย บ หรื อ วิ ธี ก ารใช้ เ ป็ น ข้ อ กำา หนด สำา หรับการสื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ซึ่งมีหลายชนิด ให้เลือกใช้ เช่น TCP/IP, X.25, SDLC เป็นต้น ٤. ซอฟต์แวร์ (Software) 1
  • 2. Introduction to Information Technology การส่งข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์จำาเป็นต้องมีโปรแกรมสำาหรับกำา เนิน การ และควบคุ มการส่ งข้ อมู ลเพื่อ ให้ ได้ ข้อ มู ล ตามที่ กำา หนดไว้ ได้แก่ Novell’s netware] UNIX Windows NT ฯลฯ ٥. ข่าวสาร (Message) เป็นรายละเอีย ดซึ่ งอยู่ใ นรูปแบบต่ าง ๆ ที่จ ะส่ ง ผ่ า นระบบการ สื่อสาร ซึ่งมีหลายรูปแบบดังนี้ ٥.١ ข้ อ มู ล (Data) เป็ น รายละเอี ย ดของสิ่ ง ต่ า ง ๆ ซึ่ ง ถู ก สร้างและจัดเก็บด้วยคอมพิวเตอร์ มีรูปแบบแน่นอน เช่น ข้อมูลเกี่ยว กับบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า เป็นต้น ข้อมูลสามารถนับจำา นวนได้ และส่งผ่านระบบสื่อสารได้เร็ว ٥.٢ ข้ อ ความ (Text) อยู่ ใ นรู ป ของเอกสารหรื อ ตั ว อั ก ขระ ไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ชัดเจนนับจำานวนได้ค่อนข้างยาก และมีความ สามารถในการส่งปานกลาง ٥.٣ รู ป ภาพ (Image) เป็ น ข่ า วสารที่ อ ยู่ ใ นรู ป ของภาพ กราฟิกแบบต่าง ๆ ได้แก่ รูปภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดีโอ ซึ่ง ข้ อ มู ล ชนิ ด นี้ จ ะต้ อ งอาศั ย สื่ อ สำา หรั บ เก็ บ และใช้ ห น่ ว ยความจำา เป็ น จำานวนมาก ٥.٤ เสี ย ง (Voice) อยู่ ใ นรู ป ของเสี ย งพู ด เสี ย งดนตรี หรื อ เสี ย งอื่ น ๆ ข้ อ มู ล ชนิ ด นี้ จ ะกระจั ด กระจาย ไม่ ส ามารถวั ด ขนาดที่ แน่นอนได้ การส่งจะทำาได้ด้วยความเร็ว ค่อนข้างตำ่า ٦. ตัวกลาง(Medium) เป็นตัวกลางหรือสื่อกลางที่ทำา หน้าที่นำา ข่าวสารในรูปแบบต่าง ๆ จากผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งต้นทางไปยังผู้รับหรืออุปกรณ์รับปลายทาง ซึ่ ง มี ห ลายรู ป แบบได้ แ ก่ สายไป ขดลวด สายเคเบิ ล สายไฟเบอร์ ออฟติก ตัวกลางอาจจะอยู่ในรูปของคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สำาหรับสื่อสารข้อมูล 2
  • 3. Introduction to Information Technology เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ต้นทางเข้ากับคอมพิวเตอร์ปลาย ทาง โดยใช้ตัวกลางหรือสื่อกลางสำา หรับเชื่อมต่อ ซึ่งสามารถทำาได้ หลายรูปแบบดังรูป การต่อแบบสายตรงตามรูปนั้นอาจจะต่อตรงโดยใช้ช่องต่อแบบ ขนานของเครื่อง ทั้ง ٢ เครื่อง เพื่อใช้สำา หรับโอนย้ายข้อมูลระหว่าง เครื่ อ งได้ หรื อ อาจจะต่ อ โดยใช้ อิ น เทอร์ เ ฟสคาร์ ด ใส่ ไ ว้ ใ นเครื่ อ ง สำาหรับเป้นจุดต่อก้ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของการใช้งานเป็นการเชื่อม ต่อระยะไกลจากคอมพิวเตอร์ต้นทางไปยังปลายทาง โดยผ่านเครือ ข่ายโทรศัพท์สาธารณะ การส่งสัญญาณข้อมูล (Transmission Definition) การส่ ง สั ญ ญาณข้ อ มู ล หมายถึ ง การส่ ง ข้ อ มู ล หรื อ ข่ า วสาร ต่างๆจากอุปกรณ์สำา หรับส่งหรือผู้ส่ง ผ่านทางตัวกลางหรือสื่อกลาง ไปยังอุปกรณ์รับหรือผู้รับข้อมูลหรือข่าว ซึ่งข้อมูลหรือข่าวสารที่ส่ง ไปอาจจะอยู่ในรูปของสัญญาณเสียง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือแสง ก็ ได้ โดยที่สื่ อกลางหรื อตั ว กลางของสั ญ ญาณนั้ น แบ่ ง เป็ น ٢ ชนิ ด คื อ ชนิ ด ที่ ส ามารถกำา หนดเส้ น ทางสั ญ ญาณได้ เช่ น สายเกลี ย วคู่ (Twisted paire) สายโทรศัพท์ สายโอแอกเชียล (Coaxial) สายใย แก้ ว นำา แสง(Fiber Optic)ส่ ว นตั ว กลางอี ก ชนิ ด หนึ่ ง นั้ น ไม่ ส ามารถ กำา หนดเส้ น ทางของสั ญ ญาณได้ เช่ น สุ ญ ญากาศ นำ้า และ ชั้ น บรรยากาศ เป็นต้น แบบของการส่งสัญญาณข้อมูล การส่งสัญญาณข้อมูล สามารถแบ่งได้เป็น ٤ รูปแบบดังนี้ 1. การส่ ง สั ญ ญาณทางเดี ย ว (One-Way Transmission หรือ Simplex) การส่งสัญญาณแบบนี้ในเวลาเดียวกันจะส่งได้เพียงทางเดียว เท่านั้น ถึงแม้ว่าตัวส่งจะมีสัญญาณช่องทางก็ตาม ซึ่งมักจะเรียกการ ส่ ง สั ญ ญาณทางเดี ย วนี้ ว่ า ซิ ม เพล็ ก ซ์ ผู้ ส่ ง สั ญ ญาณจะส่ ง ได้ ท าง 3
  • 4. Introduction to Information Technology เดี ย ว โดยที่ ผู้ รั บ จะไม่ ส ามารถโต้ ตอบได้ เช่ น การส่ ง วิ ท ยุ ก ระจาย เสียง การแพร่ภาพโทรทัศน์ 2. การส่ ง สั ญ ญาณกึ่ ง ทางคู่ (Half-Duplex หรื อ Either- Way) การส่ ง สั ญ ญาณแบบนี้ เ มื่ อ ผู้ ส่ ง ได้ ทำา การส่ ง สั ญ ญาณไปแล้ ว ผู้ รั บ ก็ จ ะรั บ สั ญ ญาณนั้ น หลั ง จากนั้ น ผู้ รั บ ก็ ส ามารถปรั บ มาเป็ น ผู้ ส่ ง สัญญาณแทน ส่วนผู้ส่งเดิมก็ปรับมาเป็นผู้รับแทนสลับกันได้ แต่ไม่ สามารถส่ ง สั ญ ญาณพร้ อ มกั น ในเวลาเดี ย วกั น ได้ จึ ง เรี ย กการส่ ง สั ญ ญาณแบบนี้ ว่ า ฮาร์ ฟ ดู เ พล็ ก ซ์ (Half Duplex หรื อ HD) ได้ แ ก่ วิทยุสนามที่ตำารวจใช้ เป็นต้น การส่ ง สั ญ ญาณทางคู่ (Full-Duplex หรื อ Both way 3. Transmission) การส่ ง สั ญ ญาณแบบนี้ ส ามารถส่ ง ข้ อ มู ล ได้ พ ร้ อ มกั น ทั้ ง สอง ทางในเวลาเดี ย วกั น เช่ น การใช้ โ ทรศั พ ท์ ผู้ ใ ช้ ส ามารถพู ด สาย โทรศัพท์ได้พร้อม ๆ กัน มาตรฐานสากล(International Standards) เพื่อความเป็นระเบียบและความสะดวกของผู้ผ ลิตในการผลิ ต อุปกรณ์สื่อสารแบบต่าง ๆ ขึ้นมา จึงได้มีการกำา หนดมาตรฐานสากล สำาหรับระบบติดต่อสื่อสารข้อมูลขึ้น ซึ่งประกอบด้วยโปรโตคอล และ สถาปั ต ยกรรมโดยมี ก ารจั ด ตั้ ง องค์ ก ารสำา หรั บ พั ฒ นา และควบคุ ม มาตรฐานหมายองค์กรดังต่อไปนี้ 1. ISO (The International Standards Organization) เ ป็ น อ ง ค์ ก า ร ส า ก ล ที่ พั ฒ น า ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล เ กี่ ย ว กั บ สถาปัตยกรรมเครือข่าย โดยมีการแบ่งโครงสร้างในการติดต่อสื่อสาร ออกเป็น ٧ ชั้น (Layers) 2. CCITT (The Conseclitive Committee in International) 4
  • 5. Introduction to Information Technology เป็นองค์กรสากลที่พฒนามาตรฐาน v และ x โดยทีมาตรฐาน v ั ่ ใช้สำาหรับวงจรโทรศัพท์และโมเด็ม เช่น v29,v34 ส่วนมาจรฐาน x ใช้กับเครือข่ายข้อมูลสาธารณะเช่น เครือข่าย x.25 แพ็กเกจสวิตช์ (Package switch) เป็นต้น 3. ANSI (The American National Standards Institute) เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ม า ต ร ฐ า น ข อ ง ส ห รั ฐ เ ม ริ ก า ANSI ไ ด้ พั ฒ น า มาตรฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายมาตรฐานส่วน ใหญ่ จ ะเกี่ ย วข้ อ งกั บ การประดิ ษ ฐ์ ตั ว เลขที่ ใ ช้ ใ นการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ข้อมูลและมาตรฐานเทอร์มินัส 4. IEE (The Institute of Electronic Engineers) เป็นมาตรฐานที่เกิดจากการรวมตัวของกลุ่มนักวิชาการ และผู้ ปกครองอาชี พ ทางสาขาไฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใ นอเมริ ก าร มาตรฐานจะเน้ น ไปทางด้ า นอุ ต สาหกรรมไฟฟ้ า อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ไ ม โ ค ร โ ป ร เ ซ ส เ ซ อ ร์ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ใ น ไ ม โ ค ร ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ ช่ น IEE 802.3 ซึ่ ง ใ ช้ ร ะ บ บ LAN (Local Area Network) 5. EIA (The Electronics Industries Association) เป็นองค์กรมาตรฐานของอเมริกาได้กำา หนดมาตรฐานทางด้าน ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ม า ต ร ฐ า น EIA จ ะ ขึ้ น ต้ น ด้ ว ย RS (Recommended Standard) เช่น Rs-232-c เป็นต้น การผลิตของผู้ประกอบการต่าง ๆ ไม่ว่าจะใช้มาตรฐานใดก็ตาม สิ่งที่ผลิตนั้นอย่างน้อยจะต้องได้ครบตามมาตรฐาน แต่อาจจะดีเหนือ กว่ามาตรฐานก็ได้ 5
  • 6. Introduction to Information Technology ลักษณะของสัญญาณที่ใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูล การส่ ง สั ญ ญาณข้ อ มู ล หรื อ ข่ า วสารต่ า ง ๆ สามารถทำา ได้ ٢ ลักษณะดังนี้ 1. ก า ร ส่ ง สั ญ ญ า ณ แ บ บ อ น า ล อ ก (Analog Transmission) การส่งสัญญาณแบบอนาลอกจะไม่คำานึงถึงสิ่งต่าง ๆ ที่รวมอยู่ ในสัญญาณเลย โดยสัญญาณจะแทนข้อมูล อนาลอก เช่น สัญญาณ เสียง เป็นต้น ซึ่งสัญญาณอนาลอกที่ส่งออกไปนั้นเมื่อระยะห่างออก ไปสัญญาณก็จะอ่อนลงเรื่อย ๆ ทำา ให้สัญญาณไม่ค่อยดี ดังนั้นเมื่อ ระยะห่างไกลออกไปสามารถแก้ไขได้โดยใช้เครื่องขยายสัญญาณ (Amplifier) แต่ ก็ มี ผ ลทำา ให้ เ กิ ด สั ญ ญาณรบกวน (Noise) ขึ้ น ยิ่ ง ระยะไกลมากขึ้ น สั ญ ญาณรบกวนก็ เ พิ่ ม มากขึ้ น ซึ่ ง สามารถแก้ ไ ข สัญญาณรบกวนนี้ได้โดยใช้เครื่องกรองสัญญาณ (Filter) เพื่อกรอง เอาสัญญาณรบกวนออกไป 2. การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล(Digital Transmission) การส่งสัญญาณแบบดิจิตอลจะใช้เมื่อต้องการข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจนแน่นอน ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องสนใจรายละเอียดทุกอย่างที่บรรจุ มากับสัญญาณ ในทำา นองเดียวกันกับการส่งสัญญาณแบบอนาลอก กล่าวคือ เมื่อระยะทางในการส่งมากขึ้น สัญญาณดิจิตอลก็จะจางลง ซึ่ ง สามารถแก้ ไ ขได้ โ ดยใช้ อุ ป กรณ์ ทำา สั ญ ญาณซำ้า หรื อ รี พี ต เตอร์(Repeater) ปั จ จุ บั น การส่ ง สั ญ ญาณแบบดิ จิ ตอลจะเข้ า มามี บ ทบาทสู ง ใน การสื่อสารข้อมูล เนื่องจากให้ความถูกต้องชัดเจนของข้อมูลสูง และ ส่งได้ในระยะไกลด้วย สามารถเชื่ อมต่อ เข้ าสู่ ระบบคอมพิ วเตอร์ไ ด้ ง่ า ยด้ ว ย ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากสั ญ ญาณจากคอมพิ ว เตอร์ อ ยู่ ใ นรู ป ของ ดิจิตอลนั่นเองแต่เดิมนั้นถ้าหากระยะทางในการสื่อสารไกลมักจะใช้ สัญญาณแบบอนาลอกเสียส่วนใหญ่ เช่น โทรศัพท์, โทรเลข เป็นต้น รหัสที่ใช้ส่งสัญญาณข้อมูล(Transmission Code) การส่งสัญญาณการสื่อสารถูกแบ่งออกเป็น ٢ ระบบ คือ แบบ ดิจิตอลและแบบอนาลอก ซึ่งการส่งสัญญาณแบบอนาลอกส่วนใหญ่ จะเป็นการติดต่อสื่อสารกันระหว่างมนุษย์ ได้แก่ การได้ยิน การมอง เห็ น อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ เช่ น โทรศั พ ท์ วิ ท ยุ โทรทั ศ น์ สำา หรั บ การส่ ง 6
  • 7. Introduction to Information Technology สั ญญาณแบบดิ จิตอลนั้น ส่ว นใหญ่ จ ะสื่ อ สารกั น โดยใช้ เ ครื่ อ งจั ก ร หรืออุปกรณ์ในการถ่ายทอดข้อมูลซึ่งกันและกัน ข้อมูลหรือข่าวสารโดยทั่วไปแล้วในเบื้องต้นส่วนใหญ่จะอยู่ใน รูปแบบที่มนุษย์เข้าใจได้ในทันที เช่น ตัว อัก ษร ตั วเลข เสียง และ ภาพต่ า ง ๆ ซึ่ ง ข่ า วสารเหล่ า นี้ จ ะอยู่ ใ นรู ป แบบอนาลอก แต่ เ มื่ อ ต้ องการนำา ข้อมูลหรือข่าวสารเหล่ า นี้ มาใช้ กับ คอมพิ ว เตอร์ จะต้ อ ง เปลี่ ย นข้ อ มู ล หรื อ ข่ า วสารเหล่ า นี้ ใ ห้ อ ยู่ ใ นรู ป แบบที่ ค อมพิ ว เตอร์ เข้าใจได้เสียก่อน ซึ่งคอมพิวเตอร์จะรับรู้ข่าวสารที่เป็นแบบดิจิตอล เท่านั้น นั่นคือการเข้าสู่กระบวนการเปลี่ยนข่าวสารแบบอนาลอกให้ เป็นข่าวสารแบบดิจิตอลนั่นเอง จากข้ อ ความหรื อ ข่ า วสารต่ า ง ๆ ที่ เ รามองเห็ น และเข้ า ใจได้ เมื่อเราป้อนเข้าสู่คอมพิวเตอร์โดยพิมพ์เข้าทางแป้นพิมพ์ ตัวอักษรที่ พิมพ์เข้าไปจะต้องมีการเข้ารหัสโดยผ่านตัวเข้ารหัส (Encoder) ให้ อยู่ในรู ปของสัญ ญาณที่ สามารถส่ งสั ญญาณต่อ ไปได้ เมื่ อ สั ญ ญาณ ถูก ส่ง ไปยั งเครื่ องรับ จากนั้ น เครื่ อ งรั บ ก็ จ ะตี ความสั ญ ญาณที่ ส่ง มา และผ่านตัวถอดรหัส (Decodes) ให้กลับมาอยู่ในรูปแบบที่เราเข้าใจ ได้หรืออยู่ในรูปแบบที่ใช้สำาหรับเก็บในคอมพิวเตอร์ก็ได้อีกครั้งหนึ่ง รูปแบบของรหัส รหัสที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลโดยทั่วไปจะอยู่ในรูปของไบนารี (Binary) หรือเลขฐานสอง ซึ่งประกอบด้วยเลข ٠ กับเลข ١ โดยใช้ รหั ส ที่ เ ป็ น เลข ٠ แทนการไม่ มี สั ญ ญาณไฟและเลข ١ แทนการมี สัญญาณไฟ ซึ่งเป็นไปตามหลักการของไฟฟ้าที่มีลักษณะมีไฟและ ไม่ มี ไ ฟอยู่ ต ลอดเวลา เรี ย กรหั ส ที่ ป ระกอบด้ ว ย ٠ กั บ ١ ว่ า บิ ต (Binary Digit) แต่เนื่องจากข้อมูลหรือข่าวสารทั่วไปประกอบด้วยตัว อักษร ตัวเลขและสัญลักษณ์มากมาย ถ้าจะใช้ ٠ กับ ١ เป็นรหัสแทน แล้วก็คงจะได้เพียง ٢ ตัวเท่านั้น เช่น ٠ แทนตัว A และ ١ แทนด้วย B ดังนั้นการกำาหนดรหัสจึงได้นำากลุ่มบิทมาใช้ เช่น ٦ บิท, ٧ บิท หรือ ٨ บิทแทนตัวอักษร ١ ตัว ซึ่งจะสามารถสร้างรหัสที่แตกต่างกัน ได้ทั้งหมด รหัสมาตรฐานโดยทั่วไปจะใช้กับอักขระภาษาอังกฤษซึ่ง มี หลายมาตรฐาน เช่ น รหั ส โบดอต (Baudot code), รหัส เอบซี ดิก (EBCDIC) และรหัสแอสกี (ASCll Code) 7
  • 8. Introduction to Information Technology รหัสแอสกี (ASCll CODE) ร หั ส แ อ ส กี (ASCll CODE) ม า จ า ก คำา เ ต็ ม ว่ า American Standard Code for Information Interchange ซึ่ ง เ ป็ น ร หั ส มาตรฐานของอเมริกาที่ใช้สำาหรับส่งข่าวสารมีขนาด ٨ บิท โดยใช้ ٧ บิ ท แรกเข้ า รหั ส แทนตั ว อั ก ษร ส่ ว นบิ ท ที่ ٨ จะเป็ น บิ ท ตรวจสอบ (Parity Bit Check) ร หั ส แ อ ส กี ไ ด้ รั บ ม า ต ร ฐ า น ข อ ง CCITT หมายเลข ٥ เป็ น รหั ส ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มในการสื่ อ สารข้ อ มู ล อย่ า ง กว้างขวาง เนื่องจากรหั สแอสกีใ ช้ ٧ บิทแรกแทนตั วอั กขระ แต่ละ บิทจะประกอบด้วยตัวเลข ٠ หรือเลข ١ ดังนั้นรหัสแอสกีจะมีรหัสที่ แตกต่ า งกั น ได้ เ ท่ า กั บ ٢٧ หรื อ เท่ า กั บ ١٢٨ ตั ว อั ก ขระนั่ น เองใน จำา นวนนี้ จ ะแบ่ ง เป็ น ตั ว อั ก ษรที่ พิ ม พ์ ไ ด้ ٩٦ อั ก ขระ และเป็ น ตั ว ควบคุม (Control Characters) อีก ٣٢ อักขระ ซึ่งใช้สำา หรับควบคุม อุปกรณ์และการ ทำางานต่าง ๆ รหัสโบคอต (Baudot Code) รหัสโบคอตเป็นรหัสที่ใช้กับระบบโทรเลข และเทเล็กซ์ ซึ่งอยู่ ภายใต้ ม าตรฐานของ CCITT หมายเลข ٢ เป็ น รหั ส ขนาด ٥ บิ ท สามารถมีร หั ส ที่ แ ตกต่ า งกั น ได้ เ ท่ า กั บ ٢٥ หรื อ เท่ า กั บ ٣٢ รูป แบบ ซึ่งไม่เพียงพอกับจำานวนอักขระทังหมด จึงมีการเพิ่มอักขระพิเศษขึ้น ้ อีก ٢ ตัว คือ ١١١١١ หรือ LS (Letter Shift Character) เพื่อเปลี่ยน กลุ่ ม ตั ว อั ก ษรเป็ น ตั ว พิ ม พ์ เ ล็ ก (Lower case) และ ١١٠١١ หรื อ FS(Figured Shift Character) สำา หรั บ เปลี่ ย นกลุ่ ม ตั ว อั ก ษรเป็ น ตั ว พิมพ์ใหญ่ทำาให้มีรหัสเพิ่มขึ้นอีก ٣٢ ตัว แต่มีอักขระซำ้ากับอักขระเดิม ٦ ตัว จึงสามารถใช้รหัสได้จริง ٥٨ ตัว อีก ٣٢ ตัว แต่มีอักขระซำ้า กับ อักขระเดิม ٦ เดิม จึงสามารถใช้รหัสได้จริง ٥٨ ตัว เนื่องจากรหัสโบ คอตมี ข นาด ٥ บิ ท ซึ่ ง ไม่ มี บิ ท ตรวจสอบจึ ง ไม่ นิ ย มนำา มาใช้ กั บ คอมพิวเตอร์ รหัสเอบซีดิก (EBCDIC) ร หั ส EBVFIC ม า จ า ก คำา เ ต็ ม ว่ า Extended Binary Coded Deximal Interchange Code พัฒนาขึ้ นโดยบริ ษัท IBM มี ขนาด ٨ 8
  • 9. Introduction to Information Technology บิ ต ต่ อ หนึ่ ง อั ก ขระ โดยใช้ บิ ต ที่ ٩ เป็ น บิ ท ตรวจสอบ ดั ง นั้ น จึ ง สามารถมีรหัสที่แตกต่างสำาหรับใช้แทนตัวอักษรได้ ٢٨ หรือ ٢٥٦ ตัว อั ก ษร ปั จ จุ บั น รหั ส เอบซี ดิ ก เป็ น มาตรฐานในการเข้ า ตั ว อั ก ขระบน เครื่องคอมพิวเตอร์ รหัสแบบของการเชื่อมต่อเพื่อการสื่อสารข้อมูล การเชื่อมต่ออุปกรณ์สื่อสารเพื่อสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยัง อักจุดหนึ่งนั้น สามารถทำา ได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความเหมาะสม สำาหรับรูปแบบของการเชื่อมต่อแบ่งออกเป็นหลายรูปแบบดังต่อไปนี้ ١. การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point to Point Line) เป็นการเชื่อมต่อแบบพื้นฐาน โดยต่อจากอุปกรณ์รับหรือส่ง ٢ ชุด ใช้สายสื่อสารเพียงสายเดียวมีความยาวของสายไม่จำา กัด เชื่อม ต่ อ สายสื่ อ สารไว้ ต ลอดเวลา (Lease Line) ซึ่ ง สายส่ ง อาจจะเป็ น ชนิ ด สายส่ ง ทางเดี ย ว (Simplex) สายส่ ง กึ่ ง ทางคู่ (Half-duplex) หรือ สายส่งทางคู่ แ บบสมบู ร ณ์ (Full-duplex) ก็ ได้ และสามารถส่ ง สัญญาณข้อมูลได้ทั้งแบบซิงโครนัสหรือแบบวิงโครนัส การเชื่อมต่อ แบบจุดต่อจุดมีได้หลายลักษณะดังรูปข้างต้น ٢. ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ แ บ บ ห ล า ย จุ ด (Multipoint or Multidrop) เนื่องจากค่าเช่าช่องทางในการส่งผ่านข้อมูลต้องเสียค่าใช้จ่าย สู ง การเชื่ อมต่ อแบบจุ ด ต่ อ จุ ดนั้ น สิ้ น เปลื อ งสายสื่ อ สารมากการส่ ง ข้อมูลไม่ได้ใช้งานตลอดเวลา จึงมีแนวความคิดที่จะใช้สายสื่อสาร เพียงสายเดียวแต่เชื่อมต่อกับหลายๆ จุด ซึ่งทำาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ได้มากกว่า ลักษณะการเชื่อมต่อแบบหลายจุดแสดงให้เห็นได้ดังรูป การเชื่ อ มต่ อ แบบหลายจุ ด แต่ จุ ด จะมี บั พ เฟอร์ (Buffer) ซึ่ ง เป็ น ที่พักเก็บข้อมูลชั่วคราวก่อนทำา การส่ง โดยบัพเฟอร์จะรับข้อมูลมา เก็บเรื่อย ๆ จนเต็มบัพเฟอร์ ข้อมูลจะถูกส่งทันทีหรือเมื่อมีคำาสั่งให้ ส่ง เพื่อใช้สายสื่อสารให้เต็มประสิทธิภาพในการส่งแต่ละครั้ง และ ช่วงใดที่ว่างก็สามารถให้ผู้อื่นส่งได้ การเชื่อมต่อแบบนี้จะเหมาะกับ 9
  • 10. Introduction to Information Technology การสื่อสารที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก และเป็นข้อมูลที่ไม่ต่อเนื่อง แต่ อย่ า งไรก็ ต ามถึ ง แม้ ว่ า การสื่ อ สารข้ อ มู ล โดยวิ ธี ก ารเชื่ อ มต่ อ แบบ หลายจุดจะประหยัดค่าใช้จ่ายและใช้ระบบสื่อสารได้ค่อนข้างเต็ม ประสิทธิภาพ แต่ก็มีข้อจำากัดหลายประการดังต่อไปนี้ 1. ประสิทธิภาพของเครื่องและซอฟต์แวร์ที่ใช้สื่อสารข้อมูล 2. ปริมาณการส่งผ่านข้อมูลที่เกิดขึ้นจากสถานีส่งและรับข้อมูล 3. ความเร็วของช่องทางการส่งผ่านข้อมูลทีใช้ ่ 4. ข้อจำา กัดที่ออกโดยองค์การที่ควบคุมการสื่อสารของแต่ละ ประเทศ 3. การเชื่ อ มต่ อ เครื อ ข่ า ยแบบสลั บ ช่ อ งทางการสื่ อ สาร (Switched Network) จากรูปแบบการเชื่อมต่อที่เป็นแบบจุดซึ่งต้องต่อสายสื่อสารไว้ ตลอดเวลา แต่ ใ นทางปฏิ บั ติ จ ริ ง แล้ ว การสื่ อ สารข้ อ มู ล ไม่ ไ ด้ ผ่ า น ตลอดเวลา ดั ง นั้ น จึ ง มี แ นวความคิ ด ในการเชื่ อ มต่ อ เครื อ ข่ า ยแบบ ส ลั บ ช่ อ ง ท า ง ก า ร สื่ อ ส า ร ห รื อ เ ค รื อ ข่ า ย ส วิ ต ซ์ ซิ่ ง เ พื่ อ เ พิ่ ม ประสิทธิภาพของการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุดให้สามารถใช้ สื่อสารได้มากที่สุด ลักษณะเครือข่ายแบบสลับช่องทางการสื่อสาร สามารถแสดงได้ดังรูป เครือข่ายแบบสลับช่องทางการสื่อสารที่เห็นโดยทั่วไป มี ٤ รูปแบบดังนี้ 1. เ ค รื อ ข่ า ย สื่ อ ส า ร โ ท ร ศั พ ท์ (The Telephone NetworK) 2. เ ค รื อ ข่ า ย สื่ อ ส า ร เ ท ล เ ล็ ก ช์ (The Telex/TWX Network) 3. เ ค รื อ ข่ า ย สื่ อ ส า ร แ พ ค เ ก ต ส วิ ต ซ์ ซิ่ ง (package Switching Network) 4. เครื อ ข่ า ยสื่ อ สารสเปเซี ย ลไลซ์ ดิ จิ ต อล(Specialized Digital Network) 10
  • 11. Introduction to Information Technology หลั ก การทำา งานของเครื อ ข่ า ยแบบสลั บ ช่ อ งทางการ สื่อสารดังนี้ 1. การเชื่อมต่อด้องเป็นแบบจุดต่อจุด 2. ต้องมีการเชื่อมต่อการสื่อสารกันทั้งฝ่ายรับและส่งก่อน จะเริ่ ม รั บ หรื อ ส่ ง ข้ อ มู ล เช่ น หมุ น เบอร์ โ ทรศั พ ท์ เป็นต้น 3. หลัง จากสื่อสารกัน เสร็จเรีย บร้อยจะต้องตัดการเชื่อ ม ต่อ เพื่อให้ผู้อื่นใช้สายสื่อสารได้ต่อไป สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล องค์ประกอบที่สำาคัญที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลอันหนึ่งที่ขาดไม่ ได้ คื อ สายสื่ อ กลาง ซึ่ ง แบ่ ง เป็ น ٢ ประเภทใหญ่ คื อ สื่ อ กลางที่ กำา หนดเส้ น ทางได้ เช่ น สายโคแอกเซี ย ล (Coaxial) สายเกลี ย วคู่ (Twisted-pair) สายไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic) และสื่อกลางที่ กำาหนดเส้นทางไม่ได้ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นดาวเทียม คลื่นไมโครเวฟ เป็นต้น การเลื อ กสื่ อ กลางที่ จ ะนำา มาใช้ ใ นการเชื่ อ มต่ อ ระบบสื่ อ สาร ข้อมูลนั้น จำาเป็นต้องพิจารณากันหลายประการ เช่น ความเร็วในการ ส่งข้อมูล ราคาของอุปกรณ์ที่ใช้ สถานที่ใช้ การบริการ การควบคุม ตลอดจนเทคโนโลยี ที่ จ ะนำา มาใช้ ซึ่ ง ลื่ อ กลางแต่ ล ะชนิ ด จะมี คุณสมบัติแตกต่างกันไป สายโคแอกเซียล (Coaxial Cable) สายโคแอกเซียลเป็นสายที่นิยมใช้กันค่อนข้างมากในระบบการ สื่อสารความถี่สูง เช่น สายอากาศของทีวี สายชนิดนี้ถูกออกแบบมา ให้มีค่าความต้านทาน ٧٥ โอห์มและ ٥٠ โอห์ม โดยสาย ٧٥ โอห์ม ส่วนใหญ่ใช้กับสายอากาศทีวีและสาย ٥٠ โอห์ม จะนำา มาใช้กับการ สื่อสารที่เป็นระบบดิจิตอล คุ ณ สมบั ติ ข องสายโคแอกเซี ย ลประกอบด้ ว ยตั ว นำา สองสาย โดยมีสายหนึ่งเป็นแกนอยู่ตรงกลางและอีกเส้นเป็นตัวนำาล้อมรอบอยู่ อีกชั้น มีขนาดของสาย ٠.٤ ถึง ١ นิว้ 11
  • 12. Introduction to Information Technology สายโคแอกเซียลมี ٢ แบบ คือ แบบหนา (Thick) และแบบบาง (Thin) แบบหนาจะแข็ง การเดินสายทำาได้ค่อนข้างยาก แต่สามารถ ส่งสัญญาณได้ไกลกว่าแบบบางสามารถเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของ สายสื่อสารกลางแบบโคแอกเชียลได้ดังต่อไปนี้ สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair) สายคู่ เ กลี ยวเป็ น สายมาตรฐานสองเส้ น หุ้ ม ด้ ว ยฉนวนแล้ ว บิ ด เป็นเกลียว สามารถรับส่งข้อมูลได้ทั้งแบบ อนาลอกและแบบดิจิตอล สายชนิดนี้จะมีขนาด ٠.٠٥٦-٠.٠١٥ นิ้ว ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็ว ١٠ เมกะบิ ท ต่ อ วิ น าที ถ้ า ใช้ ส่ ง สั ญ ญาณแบบอนาลอกจะต้ อ งใช้ ว งจร ขยายหรือแอมพลิฟายเออร์ ทุก ๆ ระยะ ٦-٥ กม. แต่ถ้าต้องการส่ง สัญญาณแบบดิจิตอลจะต้องใช้อุปกรณ์ทำา ซำ้า สัญญาณ (Repeater) ทุก ๆ ระยะ ٣-٢ กม. โดยทั่วไปแล้วสำาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล สัญญาณที่ส่งเป็นลักษณะคลื่นสี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ ส่ ง ข้ อ มู ล ได้ ห ลายเมกะบิ ต ต่ อ วิ น าที ใ นระยะทางได้ ไ กลหลาย กิโลเมตร เนื่องจากสายคู่เกลียว มีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี และมีนำ้าหนักเบา นอกจากนั้นยังง่ายต่อการติดตั้ง จึงถูกใช้งานอย่าง กว้ างขวางตั ว อย่ า งของสายคู่ บิ ดเกลี ย ว คื อ สายโทรศั พ ท์ สำา หรั บ สายคู่บิดเกลียวนันจะมีอยู่ ٢ ชนิดคือ ้ 1. สายคู่ บิ ด เกลี ย วชนิ ด หุ้ ม ฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีก ชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่ นแม่ เหล็ก ไฟฟ้า ดัง รูป 2. สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็ น สายคู่ บิ ดเกลี ย วที่ หุ้ ม ด้ ว ยฉนวนชั้ น นอกที่ บางทำาให้สะดวกในการโค้งงอ แต่จะป้องกันการรบกวนของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรก ดังรูป สายส่ ง ข้ อ มู ล แบบไฟเบอร์ อ อฟติ ก จะประกอบด้ ว ยเส้ น ใยทำา จากแก้ว ٢ ชนิด ชนิดหนึ่งอยู่ตรงแกนกลาง อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก โดยที่ใยแก้วทั้ง ٢ นี้จะมีดัชนีในการสะท้อนแสงต่างกัน ทำาให้แสงที่ ส่งจากปลายด้านหนึงผ่านไปยังอีกด้านหนึ่งได้ ่ 12
  • 13. Introduction to Information Technology สายส่งแบบไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic) เป็ น การส่ ง สั ญ ญาณด้ ว ยใยแก้ ว และส่ ง สั ญ ญาณด้ ว ยแสงมี ความเร็วในการส่งข้อมูลสูงสามารถส่งข้อมูลได้ด้วยเร็วเท่ากับแสง ไม่มีสัญญาณรบกวนจากภายนอก สายส่งข้อมูลแบบไฟเบอร์ออฟติกจะประกอบด้วยเส้นใยแก้ว ٢ ชนิด ชนิดหนึ่งอยู่ตรงแกนกลาง อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก โดยที่ใย แก้วทั้ง ٢ นี้จะมีดัชนีในการสะท้อนแสงต่างกัน ทำา ให้แสงที่ส่งจาก ปลายด้านหนึ่งผ่านไปยังอีกด้านหนึ่งได้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์ โมเด็ม (MODEM) MODEM มาจากคำา เต็ ม ว่ า Modulator – DEModulator ทำา หน้ า ที่ แ ปลงสั ญ ญาณข้ อ มู ล ดิ จิ ต อล ที่ ไ ด้ รั บ จากเครื่ อ งส่ ง หรื อ คอมพิวเตอร์ เป็นสัญญาณแบบอนาลอกก่อนทำา การส่งไปยังปลาย ทางต่อไป โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์ และเมื่อส่งถึงปลายทางก็จะมี โมเด็มทำา หน้าที่แปลงสัญญาณจากอนาลอกให้เป็นดิจิตอล เพื่อใช้ กับคอมพิวเตอร์ปลายทาง มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer) วิธีการเชื่อมต่อการสื่อสารระหว่างผู้รับและผู้ส่งปลายทางที่ง่าย ที่สุดคือ การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point to Point) แต่ต้องเสียค่า ใช้ จ่ า ยสู งและใช้ ง านไม่ เ ต็ ม ที่ จึ ง มี วิ ธีก ารเชื่ อ มต่ อ ที่ ยุ่ ง ยากขึ้ น คื อ การเชื่อมต่อแบบหลายจุดซึ่งใช้สายสื่อสารเพียงเส้น ٨٠٢.٣ คอนเซนเตรเตอร์ (Concentrator) คอนเซนเตรเตอร์ เ ป็ น มั ล ติ เ พล็ ก ซ์ เ ซอร์ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สามารถเพิ่มสายหรือช่องทางการส่งข้อมูลได้มากขึ้น การส่งข้อมูล จะเป็นแบบอซิงโครนัส คอนโทรลเลอร์(Controller) 13
  • 14. Introduction to Information Technology คอนโทรลเลอร์ เ ป็ น มั ล ติ เ พล็ ก ซ์ เ ซอร์ ที่ ส่ง ข้ อ มู ล แบบอซิ ง โค รนั ส ที่ ส ามารถส่ ง ข้ อ มู ล ด้ ว ยความเร็ ว สู ง ได้ ดี การทำา งานจะต้ อ งมี โปรโตคอลพิ เ ศษสำา หรั บ กำา หนดวิ ธี ก ารรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล มี บ อร์ ด วงจร ไฟฟ้าและซอฟต์แวร์สำาหรับคอมพิวเตอร์ ฮับ (HUB) ฮั บเป็น อุป กรณ์อิ เล็ กทรอนิ กส์ ทำา หน้า ที่ เ ช่ น เดี ย วกั บ มั ล ติ เ พล็ กซ์ เ ซอร์ ซึ่ ง นิ ย มใช้ กั บ ระบบเครื อ ข่ า ยท้ อ งถิ่ น (LAN) มี ร าคาตำ่า ติดต่อสื่อสารข้อมูลตามมาตรฐาน IEEE 802.3 ฟ ร อ น ต์ – เ อ็ น โ ป ร เ ซ ส เ ซ อ ร์ FEP (Front-End Processor) FEP เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างโฮสต์คอมพิวเตอร์ หรือ มินิ คอมพิ วเตอร์กั บอุ ปกรณ์ เครือ ข่า ยสำา หรับ สื่อ สารข้ อ มู ล เช่ น โมเด็ม มัลติเล็กซ์เซอร์ เป็นต้น FEP เป็นอุปกรณ์ทีมีหน่วยความจำา (RAM) และซอฟต์แวร์สำา หรับควบคุมการทำางานเป็นของตัวเองโดย มี ห น้ า ที่ ห ลั กคื อ ทำา หน้ า ที่ แ ก้ ไ ขข่ า วสาร เก็ บ ข่ า วสาร เปลี่ ย นรหั ส รวบรวมหรือกระจายอักขระ ควบคุมอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูล จัดคิวเข้าออกของข้อมูล ตรวจสอบข้อผิดพลาดในการส่งข้อมูล อิมูเลเตอร์ (Emulator) อิ มู เ ลเตอร์ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ที่ ทำา หน้ า ที่ เ ปลี่ ย นกลุ่ ม ข่ า วสารจาก โปรโตคอลแบบหนึ่งไปเป็นกลุ่มข่าวสาร ซึ่งใช้ โปรโตคอลอีก แบบ หนึ่ ง แต่ จ ะเป็ น อุ ป กรณ์ ฮ าร์ ดแวร์ ห รื อ เป็ น โปรแกรมซอฟต์ แ วร์ ก็ไ ด้ บางครั้งอาจจะเป็นทั้ง ٢ อย่าง โดยทำาให้คอมพิวเตอร์ที่ต่อเข้ามานั้น ดูเหมือนเป็นเครื่องเทอร์มินัลหนึ่งเครื่อง โฮสต์หรือมินิคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันนิยมนำาเครื่อง PC มาใช้เป็นเทอร์มินัลของเครื่องเมนเฟรม คอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เพราะประหยัดกว่าและเมื่อไรที่ไม่ใช้ติดต่อกับมินิ หรือเมนแฟรมก็สามารถใช้เป็น PC ทัวไปได้ ่ เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์ เ ป็ น อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ มี ห น้ า ที่ ห ลั ก คื อ ทำา ให้ เครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ٢ เครื อ ข่ า ยหรื อ มากกว่า ซึ่ ง มี ลั ก ษณะแตก 14
  • 15. Introduction to Information Technology ต่างกัน สามารถสื่อสารกันได้เสมือนกับเป็นเครือ ข่า ยเดีย วกั น โดย ทั่วไปแล้วระบบเครือข่ายแต่ละเครือข่ายอาจจะแตกต่างกันในหลาย กรณี เช่ น ลั ก ษณะการเชื่ อ มต่ อ (Connectivity) ที่ ไ ม่ เ หมื อ นกั น โปรโตคอลที่ใช้สำาหรับรับส่งข้อมูลต่างกัน เป็นต้น บริดจ์ (Bridge) เป็ น อุ ป กรณ์ IWU (Inter Working Unit) ที่ ใ ช้ สำา หรั บ เชื่ อ ม เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network หรือ LAN) ٢ เครือข่ายเข้า ด้วยกัน ซึ่งอาจจะใช้โปรโตคอลที่เหมือนกันหรือต่างกันก็ได้ เราเตอร์ (Router) เป็น อุป กรณ์ที่ใ ช้เ ชื่อ มต่ อเครือ ข่ า ยเข้ า ด้ ว ยกั น ซึ่ ง อาจจะเป็ น เครื อ ข่ า ยเดี ย วกั น หรื อ ข้ า มเครื อ ข่ า ยกั น โดยการเชื่ อ มกั น ระหว่ า ง หลายเครือข่ายแบบนี้เรียกว่า เครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Internet) โดย เครื อ ข่ า ยแต่ ล ะเครื อ ข่ า ยจะเรี ย กว่ า เครื อ ข่ า ยย่ อ ย (Subnetwork) ส่ ว นอุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ เ ชื่ อ อมต่ อ ระหว่ า งเครื อ ข่ า ย เรี ย กว่ า IWU (Inter Working Unit) ได้แก่ เราเตอร์และบริดจ์ รีพีตเตอร์ (Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำา หรับส่งสัญญาณซำ้า เพื่อส่งสัญญาณต่อไป นี้ในระยะไกลป้องกันการขาดหายของสัญญาณ ซึ่งรูปแบบของเครือ ข่ า ยแต่ ล ะแบบรวมทั้ ง สายสั ญ ญาณที่ ใ ช้ เ ป็ น ตั ว กลางหรื อ สื่ อ กลาง แต่ละชนิดจะมีข้อจำากัดของระยะทางในการส่ง ดังนั้นเมื่อต้องการส่ง สั ญ ญาณให้ ไ กลกว่ า ปกติ ต้ อ งเชื่ อ มต่ อ กั บ รี พี ต เตอร์ ดั ง กล่ า ว เพื่ อ ทำาให้สามารถส่งสัญญาณ ได้ไกลยิ่งขึ้น เครือข่าย (Networks) เครื อ ข่ า ย หมายถึ ง กลุ่ ม ของคอมพิ ว เตอร์ และอุ ป กรณ์ คอมพิว เตอร์ ที่ ถู กนำา มาเชื่ อ มต่ อ กั น ดั ง นั้ น เครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ จึ ง ประกอบด้วยสื่อการติดต่อสื่อสาร อุปกรณ์ และซอฟต์แวร์ที่จำาเป็นใน 15
  • 16. Introduction to Information Technology การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ ٢ ระบบเข้าด้วยกัน รวมทั้งอุปกรณ์ อื่น ๆ ความจำา เป็ น ในการใช้ เครื อ ข่ า ยคอม พิ ว เตอร์ เครื อข่ าย คอมพิวเตอร์มีความจำา เป็นในการทำา งานในยุคปัจ จุบั น ด้วยเหตุผ ล ดังนี้ ١) เครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ทำา ให้ ก ารทำา งานมี ค วามคล่ อ งตั ว ยืดหยุ่น และปรับตัวให้เข้ากับเงื่อนไขต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว ٢) เครือข่ายช่วยให้หน่วยงานประหยัดงบประมาณโดยช่วย สนับสนุนการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน เช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และฐานข้อมูล ٣) เครือข่ายทำาให้พนักงานหรือทีมงานของหน่วยงานที่อยู่ห่าง ไกลกันสามารถใช้เอกสารร่วมกัน และแลกเปลี่ยนแนวคิด ความเห็น ตลอดจนเสริมให้การทำา งานเป็นทีมมีประสิทธิภาพดีขึ้น และกระตุ้น ให้เกิดความคิดใหม่ ๆ ٤) เครือข่ายช่วยสร้างให้การติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานกับ ลูกค้าหรือองค์การภายนอกมีความใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ประเภทของเครือข่าย ١) จำาแนกตามพื้นที่ - เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network-LAN) เป็ น การติ ด ต่ อ อุ ป กรณ์ สื่ อ สารตั้ ง แต่ ٢ ชิ้ น ขึ้ น ไประยะ ٢,٠٠٠ ฟุ ต (โดยปกติ จ ะอยู่ ใ นอาคารเดี ย วกั น) LAN จะช่ว ยให้ ผู้ ใ ช้ จำา นวน มากสามารถใช้ ท รั พ ยากรของหน่ ว ยงานร่ ว มกั น เช่ น พริ น ต์ เ ตอร์ โปรแกรม และไฟล์ข้อมูล ในกรณีที่ LAN ต้องการเชื่อมต่อกับเครือ ข่า ยสาธารณะภายนอก เช่ น เครื อ ข่ า ยโทรศั พ ท์ ห รื อ เครื อ ข่ า ยของ หน่ ว ยงานอื่ น จะต้ อ งมี gateway ซึ่ ง ทำา หน้ า ที่ เ หมื อ นประตู ติ ด ต่ อ ระหว่างเครือข่า ยที่แตกต่ างกัน โดยช่ วยแปลโปรโตคอลของเครื อ ข่ายให้กับอีกโปรโตคอลหนึ่งเพื่อจะทำางานร่วมกันได้ - เครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network-MAN) เครือข่ายเป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำา มาเชื่อมต่อกันเป็น วงขนาดใหญ่ขึ้นภายในพื้นทีบริเวณใกล้เคียง เช่น ในเมืองเดียวกัน ่ 16
  • 17. Introduction to Information Technology - เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network-WAN) เป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมพื้นที่ในบริเวณกว้างโดยครอบคลุม ทั้ ง ประเทศหรื อ ทั้ ง ทวี ป WAN จะอาศั ย สื่ อ โทรคมนาคมหลาย ประเภท เช่น เคเบิ้ล ดาวเทียม และไมโครเวฟ ٢) แบ่งตามความเป็นเจ้าของ - เครือข่ายสาธารณะ (Public Network) เป็นเครือข่ายที่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้โดยทั่วไปได้ใช้ประโยชน์ ดัง นั้นผู้ใช้จะต้องแข่งกับผู้ใช้รายอื่น โดยเฉพาะช่วงเวลาที่มีผู้ใช้จำานาน มาก เช่น ระบบโทรศัพท์สาธารณะ ซึ่งผู้ใช้ไม่มีหลักประกันว่าสายจะ ว่างในช่วงนี้ต้องการหรือไม่ - เครือข่ายเอกชน (Private Network) เป็นเครือข่ายที่หน่วยงานสามารถเป็นเจ้าของเอง หรือ เช่าเพื่อ ประโยชน์ในการสื่อสาร กรณีนี้ก็จะเป็นหลักประกันว่าหน่วยงานจะมี โอกาสได้ใช้เครือข่ายเมื่อต้องการเสมอ - เครือข่ายแบบมูลค่าเพิ่ม (Value-added Network-VAN) เป็นเครือข่ายกึ่งสาธารณะซึ่งให้บริการเพิ่มขึ้นจากการติดต่อสื่อสาร ปกติ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารสื่ อ สาร (Communication service provider) เป็ น เจ้าของ VAN อย่างไรก็ตาม VAN เร็วกว่าเครือข่ายสาธารณะและมี ความปลอดภัยมากกว่า เครือข่ายสาธารณะ - เครือข่ายเอกชนเสมือนจริง (Virtual Private Network-VPN) เป็ น เครื อ ข่ า ยสาธารณะที่ รั บ ประกั น ว่ า ผู้ ใ ช้ จ ะมี โ อกาสใช้ ง าน เครือข่ายได้ตลอดเวลาแต่ไม่ได้ให้สายหรือช่องทางการสื่อสารแก่ หน่วยงานผู้ใช้โดยเฉพาะ แต่จะใช้วิธีแปลงรหัสข้อมูลของหน่วยงาน ผู้ใช้โดยเฉพาะ แต่จะใช้วิธีแปลงรหัสข้อมูลของหน่วยงานเพื่อที่จะ ส่งไปพร้อม ๆ กับหน่วยงานอื่น ๆ 17
  • 18. Introduction to Information Technology Network Topology คือการออกแบบและการติดต่อเชื่อมโยงกันของเครือข่ายทาง กายภาพ โดยทั่วไปโทโปโลจีพื้นฐานมีอยู่ ٣ ประเภท ดังนี้ ١) แบบดาว (Star Network) เป็ น เครื อ ข่ า ยที่ ค อมพิ ว เตอร์ ทุ ก ตั ว และอุ ป กรณ์ อื่ น เชื่ อ มกั บ โฮสต์คอมพิวเตอร์ที่อยู่ และการสื่อสารทั้งหมดระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครื อ ข่ า ยต้ อ งผ่ า นโฮสต์ ค อมพิ ว เตอร์ เนื่ อ งจากโฮสต์ คอมพิวเตอร์เป็นตัวควบคุมอุปกรณ์อื่นทั้งหมดในเครือข่าย เครือข่าย แบบดาวเหมาะสำา หรับการประมวลผลที่มีลักษณะรวมศูนย์ อย่างไร ก็ตามข้อจำา กัดของแบบนี้ คือ หากใช้ โฮสต์ คอมพิว เตอร์ก็จะทำา ให้ ระบบทังหมดทำางานไม่ได้ ้ ٢) แบบบัส (Bus Network) เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์โดยใช้สายวงจรเดียว ซึ่งอาจจะ เป็ น สายเกลีย วคู่ ส ายโคแอกเชี ย ล หรื อ สายใยแก้ ว ก็ ไ ด้ สั ญ ญาณ สามารถสื่อสารได้ ٢ ทางในเครือข่ายโดยมีซอฟต์แวร์คอยช่วยแยก ว่าอุปกรณ์ใดจะเป็นตัวรับข้อมูล หากมีคอมพิวเตอร์ตัวใดในระบบล้ม เหลวจะไม่มีผลต่อคอมพิ วเตอร์ อื่น อย่างไรก็ ตามช่ องทางในระบบ เครือข่ายแบบนี้สามารถจัดการรับข้อมูล ได้ ครั้ งละ ١ ชุดเท่านั้น ดัง นั้นจึงเกิดปัญหาการจราจรของข้อมูลได้ในกรณีที่มีผู้ต้องการใช้งาน พร้อมกัน โทโปโลจีแบบนี้นยมใช้ในวงแลน ิ ٣) แบบวงแหวน (Ring Network) คอมพิว เตอร์ ทุกตัว เชื่ อมโยงเป็น วงจรปิด ทำา ให้ ก ารส่ ง ข้ อ มูล จากคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่งโดยเดินทางไปในทิศทาง เดียว คอมพิวเตอร์แต่ละตัวทำางานโดยอิสระ หากมีตัวใด ตัวหนึ่งเสีย ระบบการสื่อสารในเครือข่ายได้รับการกระทบกระเทือน ยกเว้นจะมี วงแหวนคู่ในการรับส่ง ข้อมูลในทิศทางต่างๆ กัน เพื่อเป็นเส้นทาง สำารองในการป้องกันไม่ให้เครือข่ายหยุดทำางานโดยสิ้นเชิง นอกจากโทโปโลจี ทั้ ง ٣ แบบที่ ก ล่ า วข้ า งต้ น อาจจะพบโท โปโลจี แ บบอื่ น ๆ เช่ น แบบโครงสร้ า งลำา ดั บ ชั้ น (Hierarchical Network) ซึ่ ง มี ลั ก ษณะโครงสร้ า งคล้ า ยต้ น ไม้ (Tree) หรื อ มี แ บบ ผสม (Hybrid) อย่างไรก็ตามโทโปโลจีแต่ละประเภทจะมีข้อดีและ ข้อจำากัดแตกต่างกันผู้พัฒนาระบบจะต้องพิจารณาถึงความเร็ว ความ เชื่ อ ถื อได้ และความสามารถของเครื อ ข่ า ยในการทำา งาน หรื อ การ 18
  • 19. Introduction to Information Technology แก้ไขข้อบกพร่องในกรณีที่อุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่งในระบบมีปัญหา ตลอดจนลักษณะทางกายภาพ เช่น ระยะห่างของ node และต้นทุน ของทั้งระบบ รู ป แ บ บ ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล แ บ บ ก ร ะ จ า ย เ ค รื อ ข่ า ย (Organizational Distributed Processing) วิธีการประมวลผลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์มี ٣ รูปแบบ คือ ١.Terminal-to-Host Processing ٢. File Server Processing ٣. Client/Server 19