SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจา วัน 
การบรรยายครัง้ที่ 4
• สิทธิ 
• เสรีภาพ 
•หน้าที่
สิทธิ หมายถึง ความชอบธรรมที่บุคคลสามารถใช้ยันกับบุคคลอื่น เพื่อคุ้มครองหรือ 
รักษาประโยชน์อันเป็นส่วนที่พึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น 
ฏี.124/2487 “พูดถึงสิทธิ หากจะกล่าวโดยย่อและรวบรัดแล้วก็ได้แก่ประโยชน์อันบุคคลมีอยู่ แต่ 
ประโยชน์อันบุคคลมีอยู่ แต่ประโยชน์จะเป็นสิทธิหรือไม่ก็แล้วแต่ว่าบุคคลอื่นมีหน้าที่ต้อง 
เคารพหรือไม่ ถ้าบุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องเคารพ ประโยชน์นัน้ก็เป็นสิทธิ กล่าวคือได้รับความ 
คุ้มครองตามกฎหมาย”
- สิทธิต้องเป็นความชอบธรรม ---- ในการรักษาผลประโยชน์ที่พึงมีพึงได้ของตน 
- ต้องมีบุคคลเป็นผู้ถือสิทธิ---- ผู้ทรงสิทธิ 
สัตว์หรือสิ่งของไม่อาจถือสิทธิหรือใช้สิทธิได้ สิทธิย่อมสงวนไว้สาหรับบุคคลโดยเฉพา 
- บุคคลผู้มีหน้าที่ต้องเคารพสิทธิ สิทธินัน้ต้องเป็นสิ่งที่ยันกับคนอื่นได้ ---- ผู้มีหน้าที่ อาจเป็นหน้าที่ 
โดยเฉพาะ หรือหน้าที่โดยทวั่ไปก็ได้ 
ตามสัญญาซือ้ขายผู้ซือ้มีสิทธิเรียกร้องให้ผู้ขายส่งมอบทรัพย์ ในขณะเดียวกับผู้ซือ้ก็มีหน้าที่จาต้องรับมอบ 
ทรัพย์สินที่ตนซือ้ไว้ และใช้ราคาตามสัญญา 
หน้าที่โดยทั่วไป ก มีกรรมสิทธิ์เหนือบ้านของตน ทุกคนต้องเคารพสิทธิ์ของ ก ห้ามเข้าบ้าน ก จนกว่าได้รับ 
อนุญาต 
- สิทธิต้องมีเนื้อหา ---- กระทาการอย่างหนงึ่อย่างใด งดเว้นกระทาการ ส่งมอบทรัพย์ เช่น เนือ้หาสิทธิของ 
เจ้าหนี้คือ เจ้าหนีมี้สิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนีช้าระหนี้ถ้าเป็นหนีเ้งินต้องชาระด้วยต้นเงินและดอกเบีย้
ประเภทของสิทธิ 
• สิทธิมหาชน --- เป็นสิทธิซงึ่เกิดขึน้จากกฎหมายมหาชน โดยทวั่ไปเป็นสิทธิของ 
พลเมืองที่ดีต่อรัฐ เช่น สิทธิในการชุมนุม สิทธิในการแสดงความคิดเห็น 
• สิทธิเอกชน --- เป็นสิทธิระหว่างเอกชนกับเอกชนซึ่งเกิดจากกฎหมายเอกชน 
- สิทธิมิใช่ทางทรัพย์สิน --- สิทธิในร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ชื่อเสียง สิทธิของ 
บิดามารดา สิทธิการเป็นสามีภรรยา เป็นต้น 
- สิทธิทางทรัพย์สิน --- กรรมสิทธิ์ สิทธิ์ทางหนี้เป็นต้น
การใช้สิทธิ 
หลัก 
• ปพพ. ม. 421 “การใช้สิทธิที่มีแต่จะให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นนัน้ ท่านว่าเป็นการอันมิ 
ชอบด้วยกฎหมาย” 
• ปพพ. ม. 5 “ในการใช้สิทธิแห่งตนก็ดี ในการชาระหนีก้็ดี บุคคลทุกคนต้องกระทาโดยสุจริต”
การคุ้มครองสิทธิ 
เป็นกรณีการทาความเสียหายให้เกิดแก่บุคคลอื่นโดยกฎหมายอนุญาต โดยเป็นการกระทา 
เพื่อป้องกันสิทธิหรือประโยชน์ของตนโดยชอบด้วยกฎหมาย 
• การกระทาเพื่อป้องกัน --- ปอ. ม.68 การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย 
• การกระทาโดยความจาเป็น --- ปอ. ม.67 
• การใช้สิทธิช่วยเหลือตนเอง --- เจ้าของสิทธิย่อมสามารถใช้สิทธิได้โดยไม่ต้อพึ่งพาคนอื่น
หน้าที่หมายถึง ความชอบธรรมในทางที่เป็นความผูกพันให้บุคคลตกอยู่ในสถานะจะต้อง กระทา 
งดเว้นกระทา หรือยอมให้เขากระทา เพื่อให้เป็นไปตามผลประโยชน์อันชอบธรรมของบุคคลอื่น 
ความแตกต่างระหว่างหน้าที่ กับ สิทธิ 
• หน้าที่เป็นความชอบธรรมในด้านเสียประโยชน์ --- สิทธิเป็นความชอบธรรมในด้านได้ประโยชน์ 
• ผู้มีหน้าที่เลือกไม่ได้จะต้องปฏิบัติ --- ผู้มีสิทธิเลือกที่จะรับสิทธินัน้หรือไม่ก็ได้ 
• ถ้ามีหน้าที่เกิดขึน้ ไม่จาเป็นต้องมีสิทธิตาม --- ถ้ามีสิทธิแล้วต้องมีหน้าที่ตามมาเสมอ
เสรีภาพ หมายถึง อา นาจตัดสินใจด้วยตนเองของมนุษย์ที่จะเลือกดา เนินพฤติกรรม 
ของตนเอง โดยไม่มีบุคคลอื่นใดอ้างหรือใช้อา นาจแทรกแซงเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ 
นั้น ทั้งนี้ต้องไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย 
• ข้อแตกต่างระหว่าง “สิทธิ”และ “เสรีภาพ” 
• เสรีภาพ เป็นอานาจที่บุคคลมีอยู่เหนือตนเอง ไม่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่บุคคลอื่นแต่อย่างใด ต่าง 
จากสิทธิที่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่รัฐ ดังนัน้ จึงอาจกล่าวได้ว่า 
• สิทธิเป็นอานาจที่บุคคลมีเพื่อเรียกร้องให้ผู้อื่นกระทาการหรือละเว้นการกระทาการอย่างใดอย่าง 
หนึ่ง เพื่อประโยชน์ของตน
สรุป ความเหมือนและแตกต่างระหว่าง สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ 
สิทธิเสรีภาพ หน้าที่ 
- สิทธิเป็นความชอบธรรมในด้านได้ 
ประโยชน์ 
- เป็นอานาจที่บุคคลมีอยู่เหนือตนเอง 
สื่อออกมาในรูปแบบของการ 
แสดงออก 
- หน้าที่เป็นความชอบธรรมในด้าน 
เสียประโยชน์ 
- ถ้ามีสิทธิแล้วต้องมีหน้าที่ตามมา 
เสมอ 
- ไม่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่บุคคลอื่นแต่ 
อย่างใด 
- ถ้ามีหน้าที่เกิดขนึ้ ไม่จาเป็นต้องมี 
สิทธิตามมา 
- ผู้มีสิทธิเลือกที่จะรับสิทธินัน้หรือไม่ 
ก็ได้ 
- ผู้มีหน้าที่เลือกไม่ได้จะต้องปฏิบัติ 
- อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย - อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย - อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย
สิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ 
สิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ หมายถึง 
1 สิทธิปละหน้าที่ที่ถูกกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ 
2 เป็นสิทธิและหน้าที่ที่กฎหมายอื่นจะมาขัดหรือแย้งไม่ได้ 
3 เป็นศูนย์รวมและหลักของกฎหมายอื่น
• บททั่วไป 
- การจากัดสิทธิและเสรีภาพจะกระทามิได้ เว้นแต้ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติของกฎหมายซึ่ง 
ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อสิทธิและเสรีภาพนัน้ 
• ความเสมอภาค 
- ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน 
- การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความต่างในเรื่อง ถิ่นกาเนิด เชือ้ชาติ 
ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจ ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือ 
ความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทามิได้ 
• สิทธิและเสรีภาพทั่วไป 
- บุคคลยอ่มเสรีภาพในเคหะสถาน การเดินทาง การเลือกถิ่นที่อยู่ การเลือกศาสนา กรประกอบ 
อาชีพ การชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ 
- การเนรเทศ หรือห้ามเข้ามาในประเทศ ซงึ่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยจะกระทามิได้
• สิทธิในทรัพย์สิน 
- สิทธิของบุคคลในทรัพย์สินย่อมได้รับความคุ้มครอง 
- การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์จะกระทามิได้ เว้นแต่ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติของ 
กฎหมาย 
• บุคคลย่อมมีสิทธิเสอมกันในการได้รับการศึกษาขั้นพนื้ฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี 
• ผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสีย 
ค่าใช้จ่าย 
• บุคคลซ่งึมีอายุเกิน 60 ปีและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชี มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ 
จากรัฐ 
• บุคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ 
• บุคคลจะใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี 
พระมหากษัตริย์เป็นประมุขไม่ได้
หน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ 
• บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 
• บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกต้งั 
• บุคคลมีหน้าที่รับราชการทหาร เสียภาษีอากร

Contenu connexe

Tendances

กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่chonlataz
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นMac Legendlaw
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11AJ Por
 

Tendances (10)

กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
Human1
Human1Human1
Human1
 
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
Human1.2
Human1.2Human1.2
Human1.2
 

En vedette

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันAJ Por
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนAJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10AJ Por
 
Biomedical Precision Engineering Lab.
Biomedical Precision Engineering Lab.Biomedical Precision Engineering Lab.
Biomedical Precision Engineering Lab.Celso Furukawa
 
Listas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. BimestreListas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. Bimestreaquileoagustin
 
How effective is the combination of your main product and ancillary task?
How effective is the combination of your main product and ancillary task?How effective is the combination of your main product and ancillary task?
How effective is the combination of your main product and ancillary task?'Jonas Mondua
 
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestreListas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestreaquileoagustin
 
Embedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source MechatronicsEmbedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source MechatronicsCelso Furukawa
 
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษาChonnikarn Sangsuwan
 

En vedette (20)

กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
 
Biomedical Precision Engineering Lab.
Biomedical Precision Engineering Lab.Biomedical Precision Engineering Lab.
Biomedical Precision Engineering Lab.
 
Listas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. BimestreListas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. Bimestre
 
How effective is the combination of your main product and ancillary task?
How effective is the combination of your main product and ancillary task?How effective is the combination of your main product and ancillary task?
How effective is the combination of your main product and ancillary task?
 
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestreListas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
 
Embedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source MechatronicsEmbedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source Mechatronics
 
11/11/13 Meeting
11/11/13 Meeting11/11/13 Meeting
11/11/13 Meeting
 
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
 

Similaire à วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4

หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
ความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดีความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดีsaovapa nisapakomol
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 joansr9
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองbunchai
 
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนหลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนพัน พัน
 

Similaire à วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4 (10)

หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
ความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดีความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดี
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014
 
สตรี
สตรีสตรี
สตรี
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมือง
 
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนหลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
 

วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4

  • 2. • สิทธิ • เสรีภาพ •หน้าที่
  • 3. สิทธิ หมายถึง ความชอบธรรมที่บุคคลสามารถใช้ยันกับบุคคลอื่น เพื่อคุ้มครองหรือ รักษาประโยชน์อันเป็นส่วนที่พึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น ฏี.124/2487 “พูดถึงสิทธิ หากจะกล่าวโดยย่อและรวบรัดแล้วก็ได้แก่ประโยชน์อันบุคคลมีอยู่ แต่ ประโยชน์อันบุคคลมีอยู่ แต่ประโยชน์จะเป็นสิทธิหรือไม่ก็แล้วแต่ว่าบุคคลอื่นมีหน้าที่ต้อง เคารพหรือไม่ ถ้าบุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องเคารพ ประโยชน์นัน้ก็เป็นสิทธิ กล่าวคือได้รับความ คุ้มครองตามกฎหมาย”
  • 4. - สิทธิต้องเป็นความชอบธรรม ---- ในการรักษาผลประโยชน์ที่พึงมีพึงได้ของตน - ต้องมีบุคคลเป็นผู้ถือสิทธิ---- ผู้ทรงสิทธิ สัตว์หรือสิ่งของไม่อาจถือสิทธิหรือใช้สิทธิได้ สิทธิย่อมสงวนไว้สาหรับบุคคลโดยเฉพา - บุคคลผู้มีหน้าที่ต้องเคารพสิทธิ สิทธินัน้ต้องเป็นสิ่งที่ยันกับคนอื่นได้ ---- ผู้มีหน้าที่ อาจเป็นหน้าที่ โดยเฉพาะ หรือหน้าที่โดยทวั่ไปก็ได้ ตามสัญญาซือ้ขายผู้ซือ้มีสิทธิเรียกร้องให้ผู้ขายส่งมอบทรัพย์ ในขณะเดียวกับผู้ซือ้ก็มีหน้าที่จาต้องรับมอบ ทรัพย์สินที่ตนซือ้ไว้ และใช้ราคาตามสัญญา หน้าที่โดยทั่วไป ก มีกรรมสิทธิ์เหนือบ้านของตน ทุกคนต้องเคารพสิทธิ์ของ ก ห้ามเข้าบ้าน ก จนกว่าได้รับ อนุญาต - สิทธิต้องมีเนื้อหา ---- กระทาการอย่างหนงึ่อย่างใด งดเว้นกระทาการ ส่งมอบทรัพย์ เช่น เนือ้หาสิทธิของ เจ้าหนี้คือ เจ้าหนีมี้สิทธิที่จะเรียกร้องให้ลูกหนีช้าระหนี้ถ้าเป็นหนีเ้งินต้องชาระด้วยต้นเงินและดอกเบีย้
  • 5. ประเภทของสิทธิ • สิทธิมหาชน --- เป็นสิทธิซงึ่เกิดขึน้จากกฎหมายมหาชน โดยทวั่ไปเป็นสิทธิของ พลเมืองที่ดีต่อรัฐ เช่น สิทธิในการชุมนุม สิทธิในการแสดงความคิดเห็น • สิทธิเอกชน --- เป็นสิทธิระหว่างเอกชนกับเอกชนซึ่งเกิดจากกฎหมายเอกชน - สิทธิมิใช่ทางทรัพย์สิน --- สิทธิในร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ชื่อเสียง สิทธิของ บิดามารดา สิทธิการเป็นสามีภรรยา เป็นต้น - สิทธิทางทรัพย์สิน --- กรรมสิทธิ์ สิทธิ์ทางหนี้เป็นต้น
  • 6. การใช้สิทธิ หลัก • ปพพ. ม. 421 “การใช้สิทธิที่มีแต่จะให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นนัน้ ท่านว่าเป็นการอันมิ ชอบด้วยกฎหมาย” • ปพพ. ม. 5 “ในการใช้สิทธิแห่งตนก็ดี ในการชาระหนีก้็ดี บุคคลทุกคนต้องกระทาโดยสุจริต”
  • 7. การคุ้มครองสิทธิ เป็นกรณีการทาความเสียหายให้เกิดแก่บุคคลอื่นโดยกฎหมายอนุญาต โดยเป็นการกระทา เพื่อป้องกันสิทธิหรือประโยชน์ของตนโดยชอบด้วยกฎหมาย • การกระทาเพื่อป้องกัน --- ปอ. ม.68 การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย • การกระทาโดยความจาเป็น --- ปอ. ม.67 • การใช้สิทธิช่วยเหลือตนเอง --- เจ้าของสิทธิย่อมสามารถใช้สิทธิได้โดยไม่ต้อพึ่งพาคนอื่น
  • 8. หน้าที่หมายถึง ความชอบธรรมในทางที่เป็นความผูกพันให้บุคคลตกอยู่ในสถานะจะต้อง กระทา งดเว้นกระทา หรือยอมให้เขากระทา เพื่อให้เป็นไปตามผลประโยชน์อันชอบธรรมของบุคคลอื่น ความแตกต่างระหว่างหน้าที่ กับ สิทธิ • หน้าที่เป็นความชอบธรรมในด้านเสียประโยชน์ --- สิทธิเป็นความชอบธรรมในด้านได้ประโยชน์ • ผู้มีหน้าที่เลือกไม่ได้จะต้องปฏิบัติ --- ผู้มีสิทธิเลือกที่จะรับสิทธินัน้หรือไม่ก็ได้ • ถ้ามีหน้าที่เกิดขึน้ ไม่จาเป็นต้องมีสิทธิตาม --- ถ้ามีสิทธิแล้วต้องมีหน้าที่ตามมาเสมอ
  • 9. เสรีภาพ หมายถึง อา นาจตัดสินใจด้วยตนเองของมนุษย์ที่จะเลือกดา เนินพฤติกรรม ของตนเอง โดยไม่มีบุคคลอื่นใดอ้างหรือใช้อา นาจแทรกแซงเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ นั้น ทั้งนี้ต้องไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย • ข้อแตกต่างระหว่าง “สิทธิ”และ “เสรีภาพ” • เสรีภาพ เป็นอานาจที่บุคคลมีอยู่เหนือตนเอง ไม่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่บุคคลอื่นแต่อย่างใด ต่าง จากสิทธิที่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่รัฐ ดังนัน้ จึงอาจกล่าวได้ว่า • สิทธิเป็นอานาจที่บุคคลมีเพื่อเรียกร้องให้ผู้อื่นกระทาการหรือละเว้นการกระทาการอย่างใดอย่าง หนึ่ง เพื่อประโยชน์ของตน
  • 10. สรุป ความเหมือนและแตกต่างระหว่าง สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ สิทธิเสรีภาพ หน้าที่ - สิทธิเป็นความชอบธรรมในด้านได้ ประโยชน์ - เป็นอานาจที่บุคคลมีอยู่เหนือตนเอง สื่อออกมาในรูปแบบของการ แสดงออก - หน้าที่เป็นความชอบธรรมในด้าน เสียประโยชน์ - ถ้ามีสิทธิแล้วต้องมีหน้าที่ตามมา เสมอ - ไม่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่บุคคลอื่นแต่ อย่างใด - ถ้ามีหน้าที่เกิดขนึ้ ไม่จาเป็นต้องมี สิทธิตามมา - ผู้มีสิทธิเลือกที่จะรับสิทธินัน้หรือไม่ ก็ได้ - ผู้มีหน้าที่เลือกไม่ได้จะต้องปฏิบัติ - อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย - อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย - อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย
  • 11. สิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ สิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ หมายถึง 1 สิทธิปละหน้าที่ที่ถูกกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ 2 เป็นสิทธิและหน้าที่ที่กฎหมายอื่นจะมาขัดหรือแย้งไม่ได้ 3 เป็นศูนย์รวมและหลักของกฎหมายอื่น
  • 12. • บททั่วไป - การจากัดสิทธิและเสรีภาพจะกระทามิได้ เว้นแต้ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติของกฎหมายซึ่ง ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อสิทธิและเสรีภาพนัน้ • ความเสมอภาค - ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน - การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความต่างในเรื่อง ถิ่นกาเนิด เชือ้ชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจ ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือ ความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทามิได้ • สิทธิและเสรีภาพทั่วไป - บุคคลยอ่มเสรีภาพในเคหะสถาน การเดินทาง การเลือกถิ่นที่อยู่ การเลือกศาสนา กรประกอบ อาชีพ การชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ - การเนรเทศ หรือห้ามเข้ามาในประเทศ ซงึ่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยจะกระทามิได้
  • 13. • สิทธิในทรัพย์สิน - สิทธิของบุคคลในทรัพย์สินย่อมได้รับความคุ้มครอง - การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์จะกระทามิได้ เว้นแต่ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติของ กฎหมาย • บุคคลย่อมมีสิทธิเสอมกันในการได้รับการศึกษาขั้นพนื้ฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี • ผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย • บุคคลซ่งึมีอายุเกิน 60 ปีและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชี มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือ จากรัฐ • บุคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ • บุคคลจะใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุขไม่ได้
  • 14. หน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ • บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ • บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกต้งั • บุคคลมีหน้าที่รับราชการทหาร เสียภาษีอากร