SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
โรคคางทูม
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
21 July 2014 1
โรคคางทูม เป็นการติดเชื้อและมีการ
อักเสบของต่อมน้าลายที่อยู่บริเวณกกหู
ทาให้ที่บริเวณคางบวม จึงได้ชื่อว่าคางทูม
พบในเด็กเป็นส่วนใหญ่
21 July 2014 2
สาเหตุ
 เกิดจากเชื้อไวรัส ในกลุ่ม Paramyxovirus
โดยเชื้อนี้จะอยู่ในน้าลายของผู้ป่วย
 ติดต่อถึงกันผ่านการไอ จามรดกัน
 สัมผัสสิ่งของเครื่องใช้ที่ปนเปื้อนน้าลาย
ของผู้ป่วย
21 July 2014 3
ระบาดวิทยา
 ติดต่อกันได้โดยตรงทางการหายใจ และสัมผัสกับน้าลายของ
ผู้ป่วย
 ถ้าเป็นในผู้ใหญ่จะมีอาการรุนแรง และมีโรคแทรกซ้อนได้บ่อย
กว่าในเด็ก
 ระยะที่ติดต่อกันได้ง่าย คือจาก 1-2 วัน (หรือถึง 7 วัน) ก่อนมี
อาการบวมของต่อมน้าลาย ไปจนถึง 5-9 วันหลังจากมีอาการบวม
ของต่อมน้าลาย
21 July 2014 4
21 July 2014 5
พยาธิสภาพ มีการบวมที่แนวแก้ม เป็นสีแดงก่าและ
บวมโต ซึ่งแสดงว่าต่อมน้าลายมีการ อักเสบมาก ต่อเมื่อ
อาการบวมแดงหายไปแล้วจึงจะพ้นระยะติดต่อ
21 July 2014 6
ระยะฟักตัวของโรค
ระยะติดต่อของโรค
 คือระยะที่ผู้ป่วยสามารถแพร่เชื้อในคนอื่นได้ คือตั้งแต่ 7
วันก่อนมีอาการ จนถึง 9 วันหลังมีอาการคางทูม
ระยะฟักตัวของโรค
 นับตั้งแต่เริ่มติดเชื้อจนมีอาการแสดง ประมาณ 12-25
วัน แต่ส่วนใหญ่จะอยู่ราว 16-18 วัน
21 July 2014 7
อาการ
 มีอาการไข้ต่า อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร
ปวดเมื่อยตามตัว
 ต่อมา 1-2 วัน จะมีอาการปวดหู เจ็บบริเวณ
ขากรรไกรต่อมน้าลายหน้าหูจะโตขึ้นจนคลาได้ โดย
ค่อยๆ โตขึ้นจนถึงบริเวณหน้าหูและขากรรไกร บาง
รายโตขึ้นจนถึงระดับตา ประมาณ 1 สัปดาห์ จะค่อยๆ
ลดขนาดลง
21 July 2014 8
21 July 2014 9
โรคแทรกซ้อน
1. เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ซึ่งส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง
2. โรคแทรกซ้อนที่นับว่ารุนแรงคือ สมองอักเสบ พบได้
ประมาณ 1 ใน 6,000 ราย ซึ่งอาจทาให้ถึงเสียชีวิตได้
3. ถ้าเป็นในเด็กชายวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่อาจมีการอักเสบของ
อัณฑะ ซึ่งในบางรายอาจทาให้เป็นหมันได้
4. โรคแทรกซ้อนอื่นๆ ที่อาจพบได้น้อยมาก คือ ข้ออักเสบ
ตับอ่อนอักเสบ และหูหนวก
21 July 2014 10
ควรไปพบแพทย์เมื่อมีอาการ
 ปวดศีรษะมาก อาเจียน ชัก
 มีไข้มากกว่า 38.5 องศาเซลเซียส
 อัณฑะบวม – ปวดท้องมาก
 หูตึง ได้ยินไม่ชัดเจน
 ปวดฟัน เหงือกบวม
21 July 2014 11
ควรไปพบแพทย์เมื่อมีอาการ
 เจ็บในคอมาก หรือต่อมทอนซิลบวมแดง
 อ้าปากลาบาก จนทานอาหารไม่ได้
 ก้อนที่บวม มีลักษณะบวมแดงมาก หรือปวด
มาก
 ดูแลตัวเองมา 7 วันแล้วไข้ยังไม่ลด หรือ
กาเริบซ้า หลังหายแล้ว
21 July 2014 12
การดูแลผู้ป่วยโรคคางทูม
 รักษาตามอาการ ก็สามารถรักษาให้หายได้เองตาม
ธรรมชาติ โดยจะมีอาการไข้อยู่ 1-6 วัน ส่วนคางทูม
จะยุบเองในไม่เกิน 10 วัน และจะหายสนิทใน 2
สัปดาห์
 ดูแลร่างกายด้วยการพักผ่อนมาก ๆ อย่าทางาน
หนัก
 ดื่มน้ามาก ๆ และทานยาลดไข้ ในเวลาที่มีไข้สูง
21 July 2014 13
การดูแลผู้ป่วยโรคคางทูม
 ใช้น้าอุ่นจัด ๆ ประคบตรงบริเวณที่เป็นคางทูม วัน
ละ 2 ครั้ง แต่ถ้าปวดให้เปลี่ยนไปใช้น้าเย็น หรือ
น้าแข็งแทน
 ควรเลี่ยงการเคี้ยวอาหารที่เคี้ยวยาก ๆ อาหารรส
เปรี้ยว เพราะจะทาให้ปวดมากขึ้น ที่สาคัญควรหยุด
พักรักษาตัวอยู่บ้าน เพื่อป้ องการการแพร่เชื้อสู่คนอื่น
21 July 2014 14
รักษา
 รักษาตามอาการ แต่หากมีโรค
แทรกซ้อน ก็จะรักษาตามอาการแทรก
ซ้อน โดยให้ยารักษาตามอาการนั้น
21 July 2014 15
การป้ องกันโรคคางทูม
 สามารถป้ องกัน โรคคางทูม ได้ด้วยการฉีด
วัคซีนรวมป้ องกันหัด คางทูม หัดเยอรมัน
(MMR) เริ่มฉีดตั้งแต่อายุ 9-12 เดือน และ
ฉีดซ้าอีก 1 ครั้ง ตอนอายุ 4-6 ปี
21 July 2014 16
21 July 2014 17
ช่องทางในการติดต่อ…
 เข้า facebook :
prachaya56@hotmail.com
เข้าร่วมในกลุ่ม คลินิกอาชีวอนามัย

More Related Content

What's hot

หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน sucheera Leethochawalit
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยBallista Pg
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับdentyomaraj
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคChitsanupong Prommawan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
ปริทันต์
ปริทันต์ปริทันต์
ปริทันต์
 
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
ทำอย่างไรให้ฟันลูกน้อยแข็งแรง หน้า ๑,แผ่นพับ
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 

Similar to คางทูม

คางทูม
คางทูม คางทูม
คางทูม Dbeat Dong
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementUtai Sukviwatsirikul
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementUtai Sukviwatsirikul
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียนการเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียนAdisorn Tanprasert
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 

Similar to คางทูม (20)

คางทูม
คางทูม คางทูม
คางทูม
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
คอตีบ+1
คอตีบ+1คอตีบ+1
คอตีบ+1
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียนการเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 

More from Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt. cqi
Ppt. cqiPpt. cqi
Ppt. cqi
 

คางทูม

Editor's Notes

  1. โรคคางทูม เกิดจากเชื้อไวรัส และไม่ได้มีโรคแทรกซ้อนร้ายแรง ดูแลรักษาตามอาการ ก็สามารถรักษาให้หายได้เองตามธรรมชาติ โดยจะมีอาการไข้อยู่ 1-6 วัน ส่วนคางทูมจะยุบเองในไม่เกิน 10 วัน และจะหายสนิทใน 2 สัปดาห์ ผู้ป่วยควรดูแลร่างกายด้วยการพักผ่อนมาก ๆ อย่าทำงานหนัก ดื่มน้ำมาก ๆ และทานยาลดไข้ ในเวลาที่มีไข้สูง ใช้น้ำอุ่นจัด ๆ ประคบตรงบริเวณที่เป็นคางทูม วันละ 2 ครั้ง แต่ถ้าปวดให้เปลี่ยนไปใช้น้ำเย็น หรือน้ำแข็งแทน ควรเลี่ยงการเคี้ยวอาหารที่เคี้ยวยาก ๆ อาหารรสเปรี้ยว เพราะจะทำให้ปวดมากขึ้น ที่สำคัญควรหยุดพักรักษาตัวอยู่บ้าน เพื่อป้องการการแพร่เชื้อสู่คนอื่น