SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  229
สื่อการสอน
ช่างเครื่องยนต์การเก
สำาหรับ โรงเรียน
บัญชา
ครื่องยนต์ดีเชล ( ขนาดเล็ก
คุณสมบัติของช่างที่ดี
1. ตรงต่อเวลา และรับผิด
ชอบต่อหน้าที่
รู้และปฎิบัติตามกฎระเบียบของหน่วยงาน
ความระมัดระวัง รอบคอบและคำานึงถึงความปลอดภัย
นการทำางานเสมอ
ความสะอาดความเป็นระเบียบและรักษาสภาพแวดล้อม
มรักและศรัทธาในอาชีพและรู้จักใฝ่หาความรู้ให้ทันสมัยอ
ใช้เครื่องมือให้ถูกวิธีและเหมาะสมกับงาน
นำ้าใจโอบอ้อมอารีและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับทุกคน
กคิด สังเกตุ มีเหตุผล และรู้จักแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
ณธรรม จริยธรรม และเสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
ามขยันอดทนประหยัดและซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ทั้งต่อหน้าแล
วามรู้ ความสามารถ และปฏิบัติงานได้คุณภาพมาตรฐาน
เปิดใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณสมบัติของช่างที่ดี
ความปลอดภัย
Safety
ความปลอดภัย ( Safety )
คือ ผู้ที่ทำางานสำาเร็จได้ค้วยความปลอดภัย เป็นคติที่ถ่า
หรับผู้ที่ทำางานช่างทั่วๆไป การป้องกันอุบัติเหตุเป็นวิธีทางเดียว
จะช่วยให้ผู้ที่จะทำางานช่าง ทำางานสำาเร็จได้ด้วยความปลอดภัย
กันอุบัติเหตุเป็นเรื่องที่ต้องฝึกให้เป็นนิสัยประจำาตัว เช่นไม่สูบบุหรี่
ข้าสู่โรงซ่อม ถ้าหากปฎิบัติจนเป็นนิสัยดังกล่าวแล้ว อุบัติเหตุย่อม
น และแน่นอนความปลอดภัยย่อมเกิดขึ้นในงานที่ปฎิบัติอยู่เสมอ
การป้องกันอุบัติเหตุ
ใดที่มีการทำางานด้วยเครื่องยนต์หรือเครื่องจักร จะพบว่าอุบัติเหตุ
ดขึ้นอยู่เสมอทั้งนี้เพราะสภาพการทำางานของเครื่องยนต์และเครื่อง
นประกอบทั้งที่เคลื่อนไหวและนำ้ามันเชื้อเพลิง ย่อมเป็นอันตราย
มากต่อผู้ที่ทำางานด้วยความประมาท อย่างไรก็ดีหากมีการป้องกันท
วยลดอุบัติเหตุลงได้มากทีเดียว
ดยปกติแล้วในโรงซ่อมทุกแห่งมักจะมีมาตราการ,กฎและระเบียบ
นเอาไว้เสมอ หากต้องการให้การป้องกันอุบัติเหตุให้ได้ผลนั้น
งปฎิบัติตามมาตรการและกฎระเบียบอย่างเคร่งคลัด
สาเหตุของอุบัติเหตุ
หตุของการเกิดอุบัติเหตุพอที่จะแบ่งได้ดังนี้
เหตุเนื่องมาจากผู้ปฎิบัติงาน
ภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดถภัย
ครื่องจักรและอุปกรณ์
ครื่องมือ
สถานที่
เหตุเนื่องมาจากผู้ปฎิบัติงาน
บื้องต้นของการเกิดอุบัติเหตุย่อมเกิดจากผู้ปฎิบัติงานก่อนเ
โง่เขลา
ประมาท
เชื่อมั่นในตัวเองมากเกินไป
นอย่างรวดเร็ว
วามสนใจในขณะทำางาน
นัยในการทำางาน
ายขาดความพร้อมในการทำางาน
ตุที่มาจากสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย
ความบกพร่องในการจัดการ
การจัดเก็บของไม่เป็นระเบียบ
ไม่มีการตรวจสอบเครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนใช้งาน
การจัดเก็บวัสดุที่เป็นเชื้อเพลิงหรือวัสดุที่ไวไฟไม่เหมาะสม
ไม่ปฎิบัติตามกฎระเบียบของโรงซ่อม
สถานที่ทำางานไม่สะอาด,เสียงดัง,แสงสว่างไม่เพียงพอ
2.ความบกพร่องของเครื่องจักรและอุปกรณ์
- ไม่มีเครื่องป้องกันอุบัติเหตุ เช่นนำ้ายาดับเพลิง
- เครื่องจักรชำารุดแล้วยังใช้งานอยู่
- ขาดการบำารุงรักษา
- ใช้เครื่องจักไม่เหมาะสมกับงาน
อควรปฎิบัติในการทำางาน
ศึกษาและปฎิบัติตามกฎระเบียบของโรงงาน
ษาวิธีการใช้เครื่องมือ เครื่องจักรจากหนังสือคู่มือและ
บัติตามข้อแนะนำาอย่างเคร่งครัด
แต่งกายรัดกุมเหมาะสมกับลักษณะงาน
วจสอบเครื่องมือและอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์
อมใช้งานก่อนปฎิบัติงานทุกครั้ง
ามสะอาดเครื่องมือ,อุปกรณ์และสถานที่ทำางานให้สะอาดอ
ไม่หยอกล้อเล่นกันในขณะทำางาน
ดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ให้เป็นระเบียบและหมวดหมู่
. เลือกใช้เครื่องมือให้ถูกกับงาน
ช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคลในจุดที่ก่อให้เกิดอันตรายได้
งสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะและเกิดความปลอดภัยในสถา
ควรปฎิบัติในการทำางาน ( ต่อ )
เครื่องมือ &
อุปกรณ์
เครื่องมือและอุปกรณ์
รื่องมือหลักในงานช่าง
1. ประแจ ( WRENCH )
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการซ่อม
เครื่องยนต์,เครื่องจักร ใช้สำาหรับขัน
หรือคลายนัตและโบลต์ โดยเลือกใช้ให้
เหมาะกับงาน เพื่อความ
สะดวก รวดเร็ว และความปลอดภัยในการ
ทำางาน
ประแจสามารถแบ่งตามรูปร่างและลักษณะ
การใช้งานได้ดังนี้
ประแจปากตาย
( Open Wrench )
เหมาะสำาหรับงานในพื้นที่แคบๆ ใช้แรงขันไม่
มาก เพราะปากประแจจะสัมผัสกับนอตหรือ
โบลท์เพียงสองด้าน
ประแจแหวน ( Box Wrench )
ใช้สำาหรับขันทั่วไป 1 ตัวจะมี 2 ขนาด ภายใน
หัวประแจจะมี 12 เหลี่ยม จึงสามารถยึดนัตหรือ
โบลท์ได้แน่นใช้แรงขันได้มากกว่าประแจปาก
ตาย
ประแจปอนด์
( Torque Wrench )ใช้สำาหรับขันนัตหรือโบลท์ที่ต้องการ
แรงบิดเท่าๆกันเช่น
ฝาสูบ,แบริ่ง,ล้อช่วยแรง,ฝาเกียร์ ฯลฯ
ประแจ
รวม( Combination
Wrench )
มีปากให้เลือกใช้ได้ทั้งแหวนและปากตายในตัว
เดียวกัน ประแจ 1 ตัว มี 1 ขนาด โดยมีขนาด
และระบบเหมือนกับประแจแหวนหรือปากตาย
คีม
( Pliers
)
เป็นเครื่องมือสำาหรับ จับ ตัด ปอก ถอน
และประกอบงานทั่วๆไป
ประกอบด้วยคีมลักษณะต่างๆดังนี้
1. คีมเลื่อน ใช้กับงานจับทั่วไป
สามารถขยับปรับความกว้าง
ของปากได้
คืมปลายแหลม
ใช้จับงานในช่องแคบๆตัดลวด
หรืองานชิ้นเล็กๆ
2
.
คีมล็อก
ใช้จับงานให้แน่นและใช้แทนประแจ
สามารถปรับความกว้างของปากได้โดย
หมุนเกลียวที่ปลายด้ามคีม
3
.
คีมถอดแหวนล็อก
ใช้ถ่างหรือหุบเพื่อใหสามารถถอดออกจากงาน
หรือประกอบเข้ากับงานได้
มี 2 แบบคือ
- แบบถ่างปากแหวน ให้กว้างออกเพื่อถอด
หรือประกอบล็อกกับเพลา
- แบบหุบปากแหวน ให้แคบเพื่อให้ถอดหรือ
ประกอบกับเสื้อเพลาได้
แบบหุบปากแหวน แบบถ่างปากแหวน
ค้อน
สำาหรับใช้ตอกชิ้นงานเข้า-ออกเวลาถอดหรือ
ประกอบชิ้นส่วน
ค้อนเหล็ก
ใช้กับงานตอกทั่วไป เช่น ตอกนำา
ศูนย์ ยำ้าหมุด
ตอกสกัดฯลฯ
สำาหรับใช้เคาะเวลาประกอบชิ้นส่วนและเวลาถอด
ค้อนพลาสติก
เครื่องยนต์
( ENGINE )
ชิ้นส่วนที่สำาคัญของเครื่องยนต์
หม้อนำ้ารังผึ้งถังนำ้ามันเชื้อเพลิง
ก้านสูบ
เพลาสมดุลย์
เพลาลูกเบี้ยวแหวนลูกสูบ
ห้องเผาไหม้
กระเดื่องกดลิ้น
หัวฉีด
ท่อไอเสีย
เสื้อ
สูบ
ชิ้นส่วนที่สำาคัญของเครื่องยนต์
ฝา
สูบ
กรองอากาศ
ลิ้นไอดี
ลิ้นไอเสีย
ล้อช่วยแรง
ลูก
สูบ
กาวานา
เพลาข้อเหวี่ยง
ปั๊มนำ้ามันเชื้อเพลิง
ประวัติย่อของเครื่องยนต์ดีเชล
6 Dr. N.A.Otto ชาวเยอรมัน ได้ประดิษฐ์เครื่องยนต์ 4 จังหวะขึ้น
แก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นอีกในปี 1886 ได้มีการนำาเครื่องยนต์มาติดต
เป็นการเริ่มต้นแบบฉับบของรถจักรยานยนต์เป็นครั้งแรก
สำาหรับเครื่องยนต์ดีเซลนั้นเป็นผลสำาเร็จของ Dr. Rudolf
Diesel ในปี 1892 Dr. Diesel
เป็นชาวเยอรมันมีความมุ่งหมายให้เครื่องยนต์อัดอากาศ
เพียงอย่างเดียว จนทำาให้มี
อุณหภูมิสูงขึ้นถึงจุดระเบิดเชื้อเพลิงได้ จากการฉีดนำ้ามัน
เชื้อเพลิงเข้าไปกระทบกับ
อากาศร้อนนั้นก็เกิดการสันดาบขึ้น ทำาให้ก๊าซเกิดการ
ขยายตัวผักดันลูกสูบ
เครื่องยนต์เครื่องแรกของ Dr.Diesel ได้
ใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง
แต่ไม่ประสพความสำาเร็จ จึงได้หันมาใช้นำ้ามัน
เชื้อเพลิงโดยอัดอากาศ
ให้มีแรงดันสูงถึง 1500 ปอนด์ / ตรางนิ้ว
ปรากฎว่าการระบายความ
ร้อนยังไม่ดีพอ
Dr.Diesel ได้พยายามจนเป็นผลสำาเร็จในปี ค.ศ 1895
ยนต์ 4 จังหวะ มีกำาลังอัดประมาณ 450 ปอนด์ / ตารางน
ความร้อนด้วยนำ้า การจุดระเบิดโดยให้นำ้ามันเชื้อเพลิง
มันให้เป็นฝอยละอองด้วยแรงดันสูงและถือว่าเป็นต้นฉบับ
รื่องยนต์ดีเซล
ลังจากนั้นเครื่องยนต์ดีเซลได้มีการพัฒนาแก้ไขปรับปรุง
อยๆ ทุกด้าน จนปัจจุบันเครื่องยนต์ดีเซลได้วิวัฒนาการสูง
านประสิทธิภาพ สมรรถนะและความสามารถในด้านต่างๆ
ารถนำาไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางในงานประเภทที่ต้องก
ข้อดีของ
เครื่องยนต์ดีเซล1. ความสิ้นเปลืองนำ้ามันเชื้อเพลิง (Fuel
Consumption)
ความสิ้นเปลืองนำ้ามันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ดีเซล
จะตำ่ากว่าเครื่องยนต์เบนซิล
ทั้งราคานำ้ามันเชื้อเพลิง และราคานำ้ามันเชื้อเพลิงเมื่อ
เทรียบแรงม้า / แรงม้า
ความปลอดภัย ( Safety )
ชื้อเพลิงดีเซลมีจุดวาบไฟสูง จึงปลอดภัยในเรื่องไฟใหม้
รงบิด (Toqur )
รื่องยนต์ดีเซลจะให้แรงบิดสูงกว่าเมื่อเทรียบกับเครื่องยนต์เบนซินแล
มารถให้แรงบิดได้ทุกช่วงของความเร็ว
ความเชื่อถือ ( Reliability )
นื่องจากเครื่องยนต์ดีเซลไม่ต้องใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าช่วยในการ
จุดระเบิดกับคาร์บูเรเตอร์จึงทำาให้ลดปัญหาและข้อขัดคล่อง
ต่างๆของเครื่องยนต์ลงได้
การจ่ายส่วนผสม ( Mixture Distribution )
ารฉีดนำ้ามันเข้ากระบอกสูบของเครื่องยนต์ดีซล มีการแบ่งปริมาณ
องนำ้ามันเชื้อเพลิงได้แน่นอน จึงทำาให้เครื่องยนต์เดินได้เรียบ
ข้อดีของเครื่องยนต์
ดีเซล ( ต่อ )
ข้อเสียของเครื่องยนต์ดีเซล
นักเครื่อง ( Engine weight )
ยนต์ดีเซลมีกำาลังอัดสูง ดังนั้นจึงต้องมีโครงสร้างที่แข็งแรง
ทนต่อกำาลังอัดที่สูง จึงทำาให้มีนำ้าหนักมากกว่าเครื่องยนต์เบนซิน
าคา ( Cost )
มื่อเปรียบเทรียบขนาดของเครื่องยนต์ดีเซลกับเครื่องยนต์เบนซิลที่
ขนาดของแรงม้าที่เท่ากัน เครื่องยนต์ดีเซลจะมีขนาดใหญ่กว่า
ละนำ้าหนักมากกว่าและใช้วัสดุในการสร้างมาจึงทำาให้ราคาสูง
อเสียของเครื่องยนต์ดีเซล ( ต่อ
เสียง ( Noisc )
เครื่องยนต์ดีเซลจะมีเสียงดังกว่าเครื่องยนต์เบนซินโดยเฉพาะอย่า
ในช่วงเดินเบาของเครื่องยนต์ เนื่องจากอัตราส่วนการอัดที่สูงกว่า
และการเผาใหม้ที่รุนแรงจึงทำาให้เกิดเสียงดังกว่าเครื่องยนต์เบนซ
4. ควัน ( Smoke )
เครื่องยนต์ดีเชลจะมีควันไอเสียออกมามาก เนื่องจาก
นำ้ามันที่ใช้เป็นนำ้ามันหนักเป็นเชื้อเพลิงและต้องใช้ความร้อนสูง
จึงทำาให้เกิดเขม่าหรือควันมากกว่า
หลักการทำางานของ
เครื่องยนต์
( ENGINE System)
กการทำางานทั่วไปของเครื่องยนต์
นต์เป็นตัวต้นกำาลังชนิดหนึ่งที่นำาไปใช้ต่อพ่วงกับอุปกรณ์ต
าดใหญ่และขนาดเล็กแล้วแต่ประเภทของงานซึ่งมีทั้งเครื่อง
ลีนและเครื่องยนต์ดีเซล ซึ่งเครื่องยนต์ทั้งสองประเภทนี้ก็มีห
านที่เหมือนๆกันคือ กำาลังที่ได้เกิดจากเผาใหม้ของเชื้อเพล
“กำาลังออกมา เพราะฉนั้นจึงมีคำาจำากัดความของคำาว่า เครื่อ
อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ เปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพล
ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกลนั้น มีลักษณะการเปล
บบต่างๆ สามารถแบ่งประเภทของเครื่องยนต์ ออกได้เป็น
ด้ดังนี้
รื่องยนต์เผาใหม้ภายใน ( Internal Combustion Engin
รื่องยนต์เผาใหม้ภายนอก ( External Combustion Eng
กการทำางานของเครื่องยนต์ ( ต่อ
แรง
ลูก
สูบ
กา
ร
เผ
า
ไห
ม้
1. เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน
(Internal Combustion Engine)
เป็นเครื่องยนต์ที่เกิดการเผาไหม้ภายใน
กระบอกสูบแล้วให้กำาลังออกมา
ที่เห็นในปัจจุบันได้แก่ เครื่องยนต์ดีเซล
และเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
2. เครื่องยนต์เผาไหม้ภายนอก ( External
Combustion Engine )
เป็นเครื่องยนต์ที่เกิดจาการเผาไหม้ภายนอกกระบอก
สูบ แล้วใช้แรงตันที่เกิดขึ้น
จากการเผาใหม้นำ้าไปใช้งานต่อไปเช่นเครื่องจักไอ
นำ้า
ความ
ร้อน
กำาลังดัน
ไอนำ้า
ลูก
สูบ
แ
รง
นำ้า
1. แบ่งตามชนิดของการใช้นำ้ามันเชื้อ
เพลิง แบ่งออกได้ 2 ชนิดคือ
- นำ้ามันเบา หมายถึงนำ้ามันที่ติดไฟง่าย(จุดวาบ
ไฟตำ่า)ได้แก่นำ้ามัเบนซินฯ
- นำ้ามันหนัก หมายถึงนำ้ามันที่ติดไฟยาก(จุดวาบ
ไฟสูง)ได้แก่นำ้ามันโซล่าฯ
2. แบ่งตามวิธีจุดระเบิด แบ่งออกได้ 2 ชนิด
- จุดระเบิดด้วยประกายไฟ ได้แก่เครื่องยนต์แก๊ส
โซลีน ใช้ประกายไฟของ
หัวเทียนจุดเป็นตัวจุดระเบิด
- จุดระเบิดด้วยตัวเอง ได้แก่เครื่องยนต์ดีเซล ที่
เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน
สามารถแบ่งตามลักษณะต่าง ๆ ได้ดังนี้
บ่งตามจังหวะการทำางาน สามารถออกได้ 2 ชนิดค
ครื่องยนต์ 2 จังหวะ
ครื่องยนต์ 4 จังหวะ
การทำางานของเครื่องยนต์เผาใหม้ภายใน
ทำางานของเครื่องยนต์ต้องอาศัยการเผาใหม้ของเชื้อเพลิงแล้วให้ก
ม้นั้นต้องอาศัยอากาศ, ความร้อน, และนำ้ามันเชื้อเพลิง การเผาใหม
บของเครื่องยนต์ จำาเป็นต้องมีชิ้นส่วนที่สำาคัญเช่น ปลอกสูบ,ลูกสูบ
นสูบและเพลาข้อเหวี่ยงเป็นต้น จึงจะเกิดการเผาใหม้ให้กำาลังงานออ
ลูก
สูบ
ก้าน
สูบ
ปลอก
สูบ
เพลาข้อ
เหวี่ยง
ฝา
สูบ
องยนต์ทำางานได้ต้องอาศัยวิธีต่างๆ ในการที่จะให้อากาศเข้าไปใน
บอกสูบ ทำาให้เกิดความร้อน เกิดการเผาใหม้และให้กำาลังงานออกม
มีหลักการทำางานที่เรียกว่า” ”วัฎจักร หรือรอบการทำางาน มีลำาดับขั้น
นดังนี้ จังหวะดูด,จังหวะอัด,จังหวะระเบิดและจังหวะคาย ไม่ว่าจะเป็น
องยนต์ 2 จังหวะ หรือ 4 จังหวะก็ต้องมีวัฎจักรการทำางานที่
อนกัน
จังหวะ
ดูด
จังหวะ
คาย
จังหวะ
ระเบิด
จังหวะ
อัด
เครื่องยนต์ 2 จังหวะ ลูกสูบเลื่อนขึ้น 1 ครั้ง,ลง
เพลาข้อเหวี่ยงหมุน 1 รอบ ได้งาน 1 ครั้ง (จังหวะระเ
เครื่องยนต์ 4 จังหวะ ลูกสูบเลื่อนขึ้น 2 ครั้ง,ลง
เพลาข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ ได้งาน 1 ครั้ง (จังหวะระ
T.D.C.
B.D.C.
ลิ้นไอ
ดี
ระย
ะชัก
ลิ้นไอ
เสีย
หัว
ฉีด
คำาจำากัดความที่ควรรู้จัก
1.ศูนย์ตายบน(Top Dead Center or T.D.C.)
หมายถึง จุดที่ลูกสูบเลื่อนขึ้นไปได้สูงสุด
ในกระบอกสูบถ้าเพลาข้อเหวี่ยงหมุนต่อ
ไปลูกสูบก็จะเลื่อนลง
2.ศูนย์ตายล่าง(Bottom Dead Center or B.D.C.)
หมายถึง จุดที่ลูกสูบเลื่อนลงมาได้ตำ่าสุด
ในกระบอกสูบถ้าเพลาข้อเหวี่ยงหมุนต่อ
ไปลูกสูบก็จะเลื่อนขึ้น
T.D.C.
B.D.C.
ลิ้นไอ
ดี
ระย
ะชัก
ลิ้นไอ
เสีย
หัว
ฉีด
คำาจำากัดความที่ควรรู้จัก
3.ระยะชัก(Stroke)
หมายถึง ระยะที่ลูกสูบเลื่อนจากศูนย์ตายบน
ถึงศูนย์ตายล่าง
4.วาล์วไอดี (Inlet Valve)
หมายถึง วาล์วที่ทำาหน้าที่
เปิดให้อากาศเข้า
มาในกระบอกสูบ
T.D.C.
B.D.C.
ลิ้นไอ
ดี
ระย
ะชัก
ลิ้นไอ
เสีย
หัว
ฉีด
คำาจำากัดความที่ควรรู้จัก
5.วาล์วไอดี (Exhaust Valve)
หมายถึง วาล์วที่ทำาหน้าที่เปิดให้ไอเสีย
ออกจากกระบอกสูบ
6.ช่องไอดี (Inlet Port)
หมายถึง ช่องที่เจาะไว้ข้าง
กระบอกสูบของ
เครื่องยนต์ 2 จังหวะเพื่อให้
ไอดีหรืออากาศ
เข้ามาในกระบอกสูบ
T.D.C.
B.D.C.
ลิ้นไอ
ดี
ระย
ะชัก
ลิ้นไอ
เสีย
หัว
ฉีด
คำาจำากัดความที่ควรรู้จัก
7.ช่องไอเสีย (Exhaust Port)
หมายถึง ช่องที่เจาะไว้ข้างกระบอกสูบของ
เครื่องยนต์ 2 จังหวะเพื่อให้ไอเสียไหลออก
จากกระบอกสูบ
8.วาล์วส่งไอดี (Intake
Valve)
หมายถึง วาล์วสำาหรับให้ไอ
ดีไหลเข้าไปใน
กระบอกสูบ สำาหรับ
เครื่องยนต์ 2 จังหวะ
9.วาล์วส่งไอดี (Intake Valve)
หมายถึง มีหน้าที่ฉีดนำ้ามันให้
เป็นฝอยละออง
เข้าไปในห้องเผาใหม้
หลักการทำางาน
ของ
เครื่องยนต์ดีเซล
4 จังหวะ
ลูกสูบเลื่อนจากศูนย์ตายบน ( TDC ) ลงสู่
ศูนย์ตายล่าง ( BDC ) วาล์วไอดีเปิด ลูกสูบ
ดูดอากาศเข้ามาภายในกระบอกสูบ โดยผ่าน
ชุดกรองอากาศ,ท่อไอดีและวาล์วไอดี เมื่อ
ลูกสูบเลื่อนถึงศูนย์ตายล่าง วาล์วไอดีก็จะปิด
หลักการทำางาน
ของเครื่องยนต์จังหวะดูด
ลูกสูบเลื่อนจากศูนย์ตายล่างเลื่อนขึ้นสู่ศูนย์ตายบ
วาล์วไอดีและวาล์วไอเสียจะปิดสนิท ขณะที่ลูกส
เลื่อนขึ้นก็จะอัดอากาศให้มีปริมาตรเล็กลง ทำาให
เกิดความดันและความร้อนสูง
หลักการทำางาน
ของเครื่องยนต์จังหวะอัด
จะทำางานจต่อเนื่องจากจังหวะอัด กล่าวคือจังหว
ลูกสูบอัดอากาศให้เกิดความร้อนปริมาตรเล็กลง
ในจังหวะนี้หัวฉีดก็จะฉีดนำ้ามันให้เป็นฝอยละออ
เข้ามาผสมกับอากาศที่ร้อนจึงทำาให้เกิดการเผา
ได้ด้วยตัวเองและเกิดแรงดันหรือแรงระเบิดบน
หัวลูกสูบอย่างรุนแรงและผลักดันให้ลูกสูบเลื่อน
สู่ศูนย์ตายล่าง ( ในจังหวะนี้วาล์วทั้งสองข้าง
ยังปิดอยู่ )
หลักการทำางาน
ของเครื่องยนต์จังหวะระเบิด
ลูกสูบจะเลื่อนจากศูนย์ตายล่างขึ้นสู่ศูนย์ตายบน
วาล์วไอเสียก็จะเปิด ไอเสียภายในกระบอกสูบ
จะถูกลูกสูบไล่ออกผ่านวาล์วไอเสียไปทาง
ท่อไอเสีย ต่อจากนั้นก็จะเริ่มจังหวะดูด,จังหวะอ
จังหวะระเบิดและจังหวะคายใหม่ตามลำาดับ
ต่อไปเรื่อยๆ ไม่มีที่สิ้นสุดตลอดเวลาที่เครื่อง
ยนต์ยังทำางาน
จังหวะคาย
หลักการทำางาน
ของเครื่องยนต์
จะเห็นได้ว่ากำาลังที่ผลักดันลูกสูบนั้น
ได้จากจังหวะระเบิด ส่วนกำาลังที่นำาไปใช้
หมุนเพลาข้อเหวี่ยง เพื่อให้ลูกสูบเลื่อน
ขึ้นลงในจังหวะต่อไปนั้น อาศัยกำาลังงาน
ที่สะสมไว้ที่ล้อช่วยแรง ( Fly wheel )
เครื่องยนต์ 4 จังหวะ
อเครื่องยนต์ทำางานครบ 4 จังหวะจะเห็นได้ว่าลูกสูบเลื่อนขึ้น 2 ครั้ง และเลื่อน
าล์วไอดีเปิด 1 ครั้ง( ในจังหวะดูด ) วาล์วไอเสียเปิด 1 ครั้ง( ในจังหวะคาย )
พลาข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ เพลาลูกเบียวหมุน 1 รอบ จึงเรียกว่าเครื่องยนต์ 4
ด้กำาลังงาน 1 ครั้ง
จังหวะดูดจังหวะดูด จังหวะอัดจังหวะอัด จังหวะระเบิดจังหวะระเบิด จังหวะคายจังหวะคาย
กการทำางานเครื่องยนต์ 4 จังห
ชิ้นส่วนที่สำาคัญ
ชิ้นส่วนที่สำาคัญ
ของเครื่องยนต์วนของเครื่องยนต์ แบ่งออกตามลักษณะของการทำางานออกได้
ระเภทคือ
นส่วนที่อยู่กับที่ ได้แก่ เสื้อสูบ , ปลอกสูบ , ฝาสูบ เป็นต้น
วนที่เคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนต่างๆ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ส่วนที่เคลื่อนที่กลับไปมา ได้แก่ ลูกสูบ,ก้านสูบ,วาล์วฯ. เป็นต้น
ส่วนที่เคลื่อนที่ด้วยการหมุน ได้แก่ เพลาข้อเหวี่ยง,เพลาลูกเบี้ยว,
ช่วยแรงและอื่นๆเป็นต้น
เสื้อสูบ
( Crank
Case )
สูบ เป็นชิ้นส่วนที่สำาคัญชิ้นหนึ่งของเครื่องยนต์
นที่อยู่ของปลอกสูบ,เพลาข้อเหวี่ยง,ลูกสูบ,ก้านสูบ
ะบบต่างๆที่เกี่ยวข้องเป็นต้น
สูบส่วนมากทำาจากเหล็กหล่อ หรือบางทีทำาจาก
เนียมอัลลอย ชึ่งมีคุณสมบัตินำ้าหนักเบา และ
ยความร้อนได้ดี ภายในเสื้อสูบ ทำาเป็นช่องทาง
า และรูนำ้ามันเครื่อง
อกสูบ ( Cylinder Liner )
ปลอกสูบจะอยู่ภายในเสื้อสูบ ซึ่ง
ลูกสูบจะเลื่อน
ขึ้นลงภายในปลอกสูบนี้ และยัง
เป็นที่สำาหรับ
อัดอากาศทำาให้เกิดการเผาไหม้
และกำาลังงาน
ที่เกิดขึ้นภายในกระบอกสูบจะไป
ผลักดันให้
ลูกสูบเลื่อนขึ้นลง
สูบ ( Cylinder Head )
จะติดตั้งอยู่เหนือเสื้อสูบ ที่ฝาสูบจะมีช่องนำ้า
ช่องทางเดินนำ้ามันเครื่องและยังเป็นที่อยู่ของ
ห้องเผาใหม้และอุปกรณ์ต่างๆเป็นต้น เช่น
วาล์ว,สปริงวาล์ว,หัวฉีด,กระเดื่องกดวาล์ว
และฝาครอบวาล์วเป็นต้น
วาล์ว ( Valve )
วาล์วหรือลิ้น เป็นชิ้นส่วนที่อยู่บนฝาสูบ
มี 2 ชนิดคือ วาล์วไอดีและวาล์วไอเสีย
วาล์วไอดี มีหน้าที่เปิดให้อากาศเข้าใน
กระบอกสูบ
วาล์วไอเสีย มีหน้าที่เปิดให้ไอเสียออก
ตามจังหวะการทำางานของเครื่องยนต์
นฝาสูบ ( Cylinder Head Gas
ปะเก็นฝาสูบจะอยู่ระหว่างฝาสูบกับเสื้อสูบ
มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้กำาลังอัด,นำ้าหล่อเย็น,
และนำ้ามันเครื่องรั่วดังนั้น ปะเก็นฝาสูบจะ
ต้องมีคุณสมบัติพิเศษ คือ ทนต่อความร้อนสูง
และทนต่อการกัดกร่อนของนำ้าและนำ้ามัน
ลูกสูบ ( Piston )
เป็นชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่อยู่ในกระบอกสูบ
และเป็นตัวการในการอัดอากาศ พร้อมทั้ง
ป้องกันไม่ให้อากาศรั่วได้ และเป็นตัวรับ
แรงดันที่เกิดจากการระเบิด ส่งทอดกำาลัง
ไปยังเพลาข้อเหวี่ยงโดยผ่านสลักลูกสูบ
และก้านสูบ
หวนลูกสูบ ( Piston Ring )
หน้าที่ของแหวนลูกสูบ
1. แหวนลูกสูบจะสัมผัสติดอยู่กับผนังกระบอกส
และผิวหน้าของแหวนจะป้องกันไม่ให้อากาศ
2. ช่วยระบายความร้อนที่เกิดจากการเผาใหม้
ผิวกระบอกสูบเพื่อป้องกันไม่ให้ลูกสูบร้อนจัด
3. ช่วยให้นำ้ามันหล่อลื่นผิวกระบอกสูบได้ดีและ
นำ้ามันเครื่องลงสู่อ่างนำ้ามันเครื่อง
นสูบ ( Connecting Rod )
ก้านสูบจะทำาหน้าที่เป็นตัวส่งทอดกำาลังที่เกิด
จากการเผาใหม้ภายในกระบอกสูบ ส่งต่อไป
ยังเพลาข้อเหวี่ยง และรับแรงขับจากเพลา
ข้อเหวี่ยง ไปทำาให้ลูกสูบเกิดการเลื่อนขึ้น-ลง
ตามจังหวะการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง
ลาข้อเหวี่ยง ( Crank Shaft )
เพลาข้อเหวี่ยงเป็นตัวรับและถ่ายทอดกำาลัง
และยังเป็นตัวเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่
ขึ้นๆ ลงๆ ของลูกสูบและก้านสูบ เป็นการ
ถ่ายทอดกำาลังโดยการหมุน
เพลาลูกเบี้ยว
( Cam Shaft )
–มีหน้าที่ทำาให้ลิ้นปิด เปิดตามจังหวะการทำาง
ของเครื่องยนต์
เพลาลูกเบี้ยวนี้ที่ปลายข้างหนึ่งจะติดเฟืองไว้
ขบกับเฟืองเพลาข้อเหวี่ยง ซึ่งเพลาลูกเบี้ยวจะ
ได้ โดยรับแรง(ขบ)ส่งจากเพลาข้อเหวี่ยง
อช่วยแรง ( Fly Wheel )
ล้อช่วยแรงจะเป็นตัวสะสมแรงเฉื่อยของ
เครื่องยนต์ไว้ในจังหวะระเบิด เพื่อที่จะเอา
กำาลังที่สะสมไว้ไปหมุนเพลาข้อเหวี่ยงใน
จังหวะต่อไป และที่ขอบของล้อช่วยแรง
“จะมีการตอกมาร์ค T” เป็นมาร์คที่ลูกสูบ
“อยู่ศูนย์ตายบน และมาร์ค F” เป็นมาร์ค
ที่บอกว่าหัวฉีดเริ่มฉีดนำ้ามัน
าสมดุลย์ ( Balancer Shaft )
เพลาสมดุลย์ของเครื่องยนต์จะเป็นตัวสะสม
แรงเฉื่อยที่เกิดจากการเลื่อนขึ้น-ลงของลูกสูบ
อย่างรวดเร็วไว้ ซึ่งจะมีผลทำาให้ลดการสั่นสะเท
และเสียงที่เกิดขึ้นของเครื่องยนต์ไว้
ห้องเผาใหม้
( Combustion
Chamber )
แบบสเวิล(มีห้อง
เผาไหม้ช่วย) ฝาสูบ
หัวฉีด
ลูกสูบ
ห้องเผาไหม้หลัก
ห้องเผาไหม้ช่วย
กระบอกสูบ
ผาใหม้ของเครื่องยนต์คูโบต้ารุ่น R
แบบได
เร็ค(โดยตรง
)
ฝาสูบ
หัวฉีด
ลูกสูบ
ห้องเผา
ไหม้หลัก
กระบอก
สูบ
ห้องเผาใหม้ของ
เครื่องยนต์คูโบต้ารุ่น RT
ในจังหวะอัดอากาศใน
ห้องเผาไหม้จะเกิดการ
หมุนวน เมื่อหัวฉีดๆนำ้ามัน
มาปะทะกับอากาศร้อน
และมีแรงดันสูง แรงหมุน
วนของอากาศก็จะทำาให้
อากาศกับนำ้ามันผสมกัน
ได้พอดีก่อนที่จะเผาใหม้
หลักการทำางาน
ห้องเผา
ไหม้ช่วย
แบบสเวิล(มีห้อง
เผาไหม้ช่วย)
ห้องเผาไหม้
ช่วย
ช่องทาง
อากาศเข้า
ทิศทางการไหล
วนของอากาศ
แบบสเวิล(มีห้อง
เผาไหม้ช่วย)
ผาใหม้ของเครื่องยนต์คูโบต้ารุ่น
าศหมุนวน 3 ช่องซึ่งเรียกว่า TVCS ( Three Vortex Combusti
ที่มีช่องอากาศหมุนวน 3 ช่องแบบนี้จะทำาให้อากาศเกิดการหมุนวน
เชื้อเพลิงได้ดีประสิทธิภาพการเผาใหม้สูง จึงทำาให้เครื่องยนต์สตา
ยงของเครื่องยนต์เบา
ฝาสูบ
หัวฉีด
ลูกสูบ
ห้องเผา
ไหม้หลัก
กระบอก
สูบ
ห้องเผาใหม้ของเครื่องยนต์
คูโบต้ารุ่น RT - DI
หลักการทำางาน
ในจังหวะดูด อากาศที่ถูก
ดูดเข้ามาจะม้วน
ตัวเข้ามาใกระบอกสูบและใน
จังหวะอัดหัวฉีด
ก็จะฉีดนำ้ามันเชื้อเพลิงเข้ามา
ที่ห้องเผาไหม้โดยตรง
(หัวลูกสูบ )และทำาให้เกิดการ
เผาใหม้จากนั้นก็จะทำา
ให้เกิดแรงดันไปผลักที่หัว
ลูกสูบโดยตรง ทำาให้
แบบได
เร็ค(โดยตรง
)
กรองอากาศ
( Air Cleaner
System )
ระบบกรอง
อากาศน้าที่ของกรองอากาศ
จะทำาหน้าที่กรองและดักฝุ่นผงที่ปนมากับอา
ไม่ให้หลุดลอดเข้าไปในเครื่องยนต์ เพื่อป้อ
ชิ้นส่วนที่อยู่ภายในเกิดการสึกหรอ
ระบบกรอง
อากาศหลักการทำางาน
อากาศจะถูกดูดเข้าทางช่องว่างระหว่างฝาครอบกับ
นำ้ามันเครื่องแล้วไหลไปกระทบกับนำ้ามันเครื่องที่อย
ด้านล่าง ฝุ่นผงที่ติดมากับอากาศก็จะถูกดักไว้แล้ว
ปล่อยให้อากาศไหลผ่านจากด้านล่างของไส้กรอง
ขึ้นไปผ่านขดลวดที่อยู่ข้างในไส้กรองก็จะทำาหน้าท
กรองละเอียดอีกครั้งหนึ่งก่อนที่จะไหลเข้าท่อไอดี
กรอง
เปียก
ระบบระบายความ
ร้อน
( Cooling
System )
พัดลม
นำ้าหล่อ
เย็น
ทิศทางการไหล
ของนำ้า
ฝาสูบ
หม้อ
นำ้า
ห้องเผา
ไหม้
ฝาหม้อ
นำ้า
ระบบระบาย
ความร้อน
ระบบระบาย
ความร้อน
มีหน้าที่ระบายความร้อน
ที่เกิดขึ้น
จากการทำางานของ
เครื่องยนต์เพื่อ
ป้องกันไม่ให้ชิ้นส่วน
เกิดความเสียหาย
ระบบระบาย
ความร้อน
นำ้าเมื่อได้รับความร้อนจะขยาย
ตัวและ
ลอยตัวขึ้นสู่ด้านบน ส่วนนำ้าที่
อยู่ด้านบน
ซึ่งเย็นตัวกว่าจะไหล ลงมา
แทนที่ทำาให้
เกิดการหมุนวน โดยมีพัดลมดูด
อากาศให้ผ่านหม้อ นำ้ารังผึ้ง
และพาเอาความร้อนออกไป
โดยมีฝาหม้อนำ้าเป็นตัวควบคุม
แรงดันภานใน
หลักการทำางาน
สปริงควบคุม
แรงดัน
ท่อระบาย
แรงดัน
คอหม้อ
นำ้า
สปริงสูญญา
กาศ
แผ่นได
อะแฟรม
ลิ้นสูญญากาศ
ลักษณะของฝาหม้อนำ้า
วาล์วควบคุม
แรงดันเปิด
หลักการทำางาน
เมื่อเครื่องยนต์ยนต์ทำางานนำ้าในหม้อนำ้า
จะเกิดความร้อนและมีแรงดันเกิดขึ้น
ถ้าแรงดันในหม้อนำ้าเกินกว่าค่าที่กำาหนด
แรงดันภายในหม้อนำ้าก็จะไปดันวาล์ว
ควบคุมแรงดันโดยชนะแรงดันของสปริง
สปริงก็จะเกิดการยุบตัว วาล์ควบคุม
แรงดันก็จะเปิดนำ้าก็จะถูกระบายออกไป
ทางท่อที่คอหม้อนำ้า
การทำางานของฝาหม้อนำ้า
วาล์วควบคุม
แรงดันปิด
หลักการทำางาน
เมื่อในหม้อนำ้าลดลงแรงดันในหม้อนำ้าลดล
สปริงควบคุมแรงดันก็จะไปดันวาล์วควบค
แรงดันให้เลื่อนลงมาปิดนำ้าในหม้อนำ้าก็จะ
ไม่ไหลออกไปที่ท่อตรงคอหม้อนำ้า
การทำางานของฝาหม้อนำ้า
ระบบหล่อลื่น
( Lubrication
System )
ในขณะที่เครื่องยนต์ทำางานจะทำาให้
ชิ้นส่วนที่อยู่ภายในเช่น ลูกปืนสูกสูบ และ
เฟืองต่างๆจะเกิดการเคลื่อนที่และเกิดการ
เสียดสีและความร้อนขึ้น ดังนั้นจึงจำาเป็น
ต้องมีนำ้ามันเข้าไปหล่อเพื่อป้องกันการสึก
หลอและช่วยให้ชิ้นส่วนต่างๆหมุนและ
เคลื่อนตัวได้คล่องไม่ติดขัดและยังเป็นตัว
ช่วยระบายความร้อนที่เกิดขึ้นภายใน
ระบบนำ้ามัน
หล่อลื่น
หน้า
ที่
กระเดื่องกด
วาล์ว
เกจดูแรง
ดัน
ชุดควบคุม
แรงดันนำ้ามันเครื่อง
ปั๊มนำ้ามัน
เครื่อง
ไส้กรองนำ้ามัน
เพลาข้อ
เหวี่ยง
อ่างนำ้ามันเครื่อง
นำ้ามัน
เครื่อง
ระบบหล่อลื่น
เกจดูแรง
ดัน
ชุดควบคุม
แรงดันนำ้ามัน
เครื่อง
ปั๊มนำ้ามัน
เครื่อง
ไส้กรองนำ้ามัน
เครื่อง
นำ้ามัน
เครื่อง
ระบบนำ้ามัน
หล่อลื่น
เครื่องยนต์ดีเซลคูโบต้ามี
ระบบหล่อลื่น
แบบใช้แรงดันของปั๊ม แบบ
โรตารี่
นำ้ามันเครื่องจะถูกควบคุม
แรงดันด้วยลิ้น
ควบคุมแรงดัน ให้แรงดันอยู่
ระหว่าง
0.5-2.5 กก./ตร.ซม.
นำ้ามันเครื่อง
ที่มีแรงดันจะผ่านลิ้น
ควบคุมแรงดัน
ผ่านเกจแรงดัน เข้าไป
หล่อลื่น
หลักการทำางาน
อ่างนำ้ามัน
เครื่อง
นำ้ามัน
เครื่อง
แม่
เหล็ก
ส้กรองนำ้ามันเครื่องจะทำาหน้าที่กรองนำ้ามันเครื่องก่อน เพื่อป้องกันสิ่งสกปรกที่อ
งนำ้ามันเครื่องเข้าไปตามท่อทางเดินนำ้ามันเครื่อง เช่นเศษเหล็ก,ผงและฝุ่นละอ
หน้าที่
ไส้กรองนำ้ามันเครื่อง
ช่องทางนำ้ามัน
เข้า
ช่องทาง
นำ้ามันออก
ปั๊มนำ้ามันเครื่อง
หน้าที่
จะทำาหน้าที่ดูดและส่งนำ้ามันเครื่องขึ้นไปหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆของ
ครื่องยนต์ เมื่อโรเตอร์ตัวในหมุนก็จะเกิดสูญญากาศทางช่องทางนำ้ามันเข้า
ามันเครื่องก็จะ๔กดูดเข้ามาทางช่องทางนำ้ามันเข้าและถูกส่งออกไปหล่อ
นส่วนตางๆของเครื่องยนต์
โรเตอร์
ตัวใน
โรเตอร์ตัว
นอก
สปริง
สปริง
ลูกปืน
ลูกปืน
รูนำ้ามันไหล
กลับอ่าง
- ขณะยังไม่
ได้ทำางาน
- ขณะทำางาน (แรงดัน
นำ้ามันเครื่องเกิน)
ชุดควบคุมแรงดันนำ้ามันเครื่อง
ชุดควบคุมแรงดันนำ้ามัน
เครื่องจะเป็นตัวควบคุมนำ้ามัน
เครื่องที่ไปหล่อลื่นชิ้นส่วน
ต่างๆของเครื่องยนต์ให้คงที่
อยู่เสมอ
ถ้าแรงดันนำ้ามันเครื่อง
เกินกว่าที่กำาหนด นำ้ามัน
เครื่องก็จะไปดันลูกปืนให้
ถอยกลับไปดันสปริงให้ยุบตัว
นำ้ามันเครื่องก็จะไหลเข้าไป
ในอ่างนำ้ามันเครื่อง
ถ้าแรงดันนำ้ามันเครื่อง
ตำ่าสปริงก็จะไปดันลูกปืนไป
หลักการทำางาน
- ไม่ได้ติด
เครื่องยนต์
- เครื่องยนต์ติด และการ
ทำางานของระบบนำ้ามัน
เครื่องปกติ
เกจดูแรงดัน
นำ้ามันเครื่อง
เกจดูแรงดันนำ้ามันเครื่อง
จะติดอยู่ที่เสื้อสูบ จะเป็น
สัญญานเตือนให้เรารู้ว่า
นำ้ามันเครื่องมีแรงดันพอ
หรือไม่
ถ้าแรงดันนำ้ามันเครื่อง
ตำ่ากว่า
0.5กกร,/ตร.ซมสีแดงที่
เกจแรงดันำ้ามันเครื่องจะ
ยังโชว์อยู่แต่ถ้าแรงดัน
นำ้ามันเครื่อง
มากกว่า0.5กกร./ตร.ซ
หลักการทำางาน
ระบบนำ้ามันเชื้อ
เพลิง
( Fuel System )
ถังนำ้ามันเชื้อเพลิง
ไส้กรองนำ้ามันเชื้อ
เพลิง
ปั๊มนำ้ามันเชื้อเพลิง
หัวฉีด
ระบบนำ้ามันเชื้อเพลิง
ระบบนำ้ามันเชื้อเพลิง
ระบบนำ้ามันเชื้อเพลิง
เครื่องยนต์จะทำางานได้ต้องอาศัยนำ้า
เชื้อเพลิงเข้าไปผสมกับอากาศในพื้นที่จ
และได้ความร้อนจากการที่ลูกสูบเลื่อนข
มาอัดจึงทำาให้เกิดการระเบิดขึ้นเครื่องย
จึงสามารถทำางานได้
ระบบนำ้ามันเชื้อเพลิง
หลักการทำางาน
นำ้ามันเชื้อเพลิงจากถังนำ้ามันเชื้อเพ
ไหลผ่านชุดกรองนำ้ามันเชื้อเพลิงแล
ไหลเข้าปั๊มนำ้ามันเชื้อเพลิง ปั๊มนำ้าม
เชื้อเพลิงจะอัดนำ้ามันให้เกิดแรงดัน
เพื่อส่งต่อไปยังหัวฉีด หัวฉีดจะฉีดน
มันเชื้อเพลิงให้เป็นฝอยละอองอยู่ภ
ในห้องเผาใหม้เพื่อผสมกับอากาศแ
เกิดการจุดระเบิดเครื่องยนต์ก็จะทำา
ปั๊มนำ้ามันเชื้อ
เพลิง
( Fuel System )
ปั๊มนำ้ามันเชื้อ
เพลิง
( Fuel System )
ปั๊มนำ้ามันเชื้อเพลิง
ปั๊มนำ้ามันเชื้อเพลิงเป็นปั๊มแบบบ๊อชขนาดเล็ก
ทำางานได้โดยมีลูกเบี้ยวที่ติดอยู่กับเพลาลูกเบี้ยว
เป็นตัวเตะ และแบ่งจ่ายนำ้ามันโดยอาศัยการ
บิดตัวของลูกปั๊ม
หน้าที่
1. รับนำ้ามันเชื้อเพลิงจากชุดกรองนำ้ามันเชื้อเพลิง
2. อัดนำ้ามันให้เกิดแรงดันวสูงส่งไปยังหัวฉีด
3. แบ่งจ่ายปริมาณนำ้ามันให้ใหลมากหรือน้อย
ตามการทำางานของเครื่องยนต์
นประกอบของปั๊มนำ้ามันเชื้อเพ
สปริงลิ้นส่ง
ชุดลิ้นส่ง
กระบอกปั๊ม
เฟืองฟันหวี
เฟืองบังคับปลอกลูกปั๊ม
ลูกปั๊ม
สปริงลูกปั๊ม
ลูกกลิ้งปั๊ม
แผ่นรองสปริงตัวล่าง
โบลท์ยึดท่อนำ้ามันเข้า
ลิ้นส่ง
เรือน
ลิ้นส่ง
ชุดลิ้นส่งนำ้ามันเชื้อเพลิง
หน้าที่
ป้องกันไม่ให้นำ้ามันในท่อแรง
ดันสูงไหลกลับลงมาในกระบอก
ปั๊ม
ป้องกันไม่ให้นำ้ามันเชื้อเพลิง
ฉีดมากเกินกำาหนด
ตัดการจ่ายนำ้ามันเชื้อเพลิงทันที
เมื่อแรงดันนำ้ามันในกระบอกปั๊ม
ลดลง
1.
2.
3.
ลิ้นส่ง
เรือน
ลิ้นส่ง
ลิ้นส่ง
ปิด
ลิ้นส่ง
เปิด
ชุดลิ้นส่งนำ้ามันเชื้อเพลิง
หลักการทำางาน
ขณะที่ลูกปั๊มอัดนำ้ามันเชื้อเพลิงให้เกิดแรงดันในกระบอกปั๊ม นำ้ามันจะดันให้ล
ออกโดยชนะแรงดันของสปริงลิ้นส่ง นำ้ามันแรงดันสูงจะถูกส่งไปยังหัวฉีด จน
ดันนำ้ามันในกระบอกปั๊มลดลง สปริงลิ้นส่งก็จะดันลิ้นส่งให้ลิ้นส่งกลับมาปิดทันท
ะเดียวกันหัวฉีดก็จะหยุดฉีดนำ้ามันทันที
กระบอกปั๊มนำ้ามัน
เชื้อเพลิง
รูนำ้ามันไหล
เข้า - ออก
ร่องสลักล็อค
กระบอกปั๊ม
ลูกปั๊มนำ้ามัน
เชื้อเพลิง
ร่องควบคุมการจ่าย
นำ้ามันเชื้อเพลิง
ชุดลูกปั๊มนำ้ามันเชื้อเพลิง
ปั๊ม –จะเป็นที่เลื่อนขึ้น ลง ของลูกปั๊มจะมีรูนำ้ามันเข้าออกซึ่งรูนี้จะต่อถึงห้องนำ้า
และใต้รู้นำ้ามันเข้าออกจะมีร่องไว้สำาหรับล็อคสลักที่เรือนปั๊ม เพื่อบังคับกระบอก
หน้าที่เลื่อนขึ้น-ลงเพื่ออัดนำ้ามันให้เกิดแรงดันสูงภานในกระบอกปั๊ม ด้านบนขอ
ร่องบากเอียงและรูไว้สำาหรับแบ่งปริมาณนำ้ามันที่จ่ายไปยังหัวฉีด ส่วนด้านล่าง
หน้าแปลนไว้รับแรงหมุนจากเฟืองปลอกบังคับลูกปั๊ม เพื่อจ่ายนำ้ามันมากน้อยต
หน้า
แปลน
จังหวะดูด
นำ้ามัน
ะการทำางานของปั๊มนำ้ามันเชื้อเ
เมื่อส่วนยอดของเพลาลูกเบี้ยวหมุนเลยไป ลูกปั๊มก็จะเลื่อ
ลงด้วยแรงดันของสปริงนำ้ามันในเรือนปั๊มก็จะไหลผ่านเข
รูนำ้ามันเข้า-ออก เข้าไปยังห้องส่งนำ้ามัน
ห้องส่งนำ้ามัน
จังหวะเริ่มอัด
นำ้ามัน
ะการทำางานของปั๊มนำ้ามันเชื้อเ
เมื่อเพลาลูกเบี้ยวหมุนลูกเบี้ยวก็จะไปด
ลูกปั๊มให้เลื่อนขึ้น ส่วนหัวของลูกปั๊มก็จ
ไปปิดรูนำ้ามันเข้า-ออก ภายในห้องนำ้าม
ก็จะเกิดแรงดัน
ะการทำางานของปั๊มนำ้ามันเชื้อ
จังหวะจ่าย
นำ้ามันเมื่อลูกปั๊มนำ้ามันเลื่อนขึ้นนำ้ามันก็จะไปดัน
ลิ้นส่งให้เปิดมากขึ้นนำ้ามันก็จะจ่ายมากขึ้น
ะการทำางานของปั๊มนำ้ามันเชื้อเ
จังหวะหยุด
จ่ายนำ้ามันเมื่อลูกปั๊มเลื่อนขึ้นไปเลื่อยๆร่องบากที่ลูกปั๊ม
ก็จะไปตรงกับรูนำ้ามันเข้า-ออก แรงดันนำ้ามัน
ที่ห้องส่งนำ้ามัน ก็จะไหลผ่านร่องบากที่ลูกปั๊ม
ผ่านรูนำ้ามันเข้า-ออก แล้วไหลกลับไปยัง
ห้องนำ้ามันในเรือนปั๊ม
ร่องควบคุมการ
จ่ายนำ้ามัน
รูนำ้ามันไหลเข้า
- ออก
เฟืองฟัน
หวี
เฟืองบังคับ
ปลอกลูกปั๊ม
ลูกปั๊มนำ้ามัน
เชื้อเพลิง
กระบอกปั๊ม
นำ้ามันเชื้อ
เพลิง
ไม่มีการ
การแบ่งจ่ายปริมาณนำ้ามัน
ดับเครื่องยนต์
เมื่อเลื่อนเฟืองฟันหวีมาตำาแหน่งดับ
เครื่องยนต์ร่องบากที่ลูกปั๊มจะมาตรง
กับรูนำ้ามันเข้าออก ลูกปั๊มจะไม่อัดนำ้ามัน
ทำาให้นำ้ามันไม่ถูกส่งออกไป
A
การแบ่งจ่ายปริมาณนำ้ามัน
จ่ายนำ้ามันบางส่วน
นำ้ามันส่งไปบางส่วน
อเลื่อนเฟืองฟันหวีไปตามลูกศร ลูกปั๊มก็จะหมุนไปด้วย
อลูกปั๊มเลื่อนขึ้น นำ้ามันก็จะส่งไปยังหัวฉีด การจ่าย
–มันจะเริ่มต้นเมื่อหัวลูกปั๊มปิดรูนำ้ามันเข้า ออกที่
ะบอกปั๊มจนกระทั่งควบคุมนำ้ามันตรงกับรูนำ้ามันเข้า-ออก
ะสิ้นสุดการจ่ายนำ้ามัน ( ระยะ A )
B
การแบ่งจ่ายปริมาณนำ้ามัน
จ่ายนำ้ามันสูงสุด ( เร่งสุด
นำ้ามันส่งไปสูงสุด
เมื่อเลื่อนเฟืองฟันหวีไปจนสุด เป็นผลให้ระยะ B
มีมากดังนั้นนำ้ามันที่ส่งไปก็จะมากด้วย
หัวฉีด
(Injection
Nozzle)
หัวฉีด
(Injection
Nozzle)
หัวฉีด
Injection
Nozzleมีหน้าที่รับนำ้ามันแรงดันสูงจากปั๊มนำ้ามันเชื้อเพลิงฉีดไปยังห้องเผาใ
ในลักษณะที่เป็นฝอยละอองในจังหวะอัดสุด
ณสมบัติที่ดีของหัวฉีด
ฉีดต้องทำางานภายใต้กำาลังดันสูงมากได้
ทำางานได้รวดเร็วและทนต่ออุณหภูมิสูงได้
ฉีดจะต้องประกอบไปด้วยชิ้นส่วนที่แข็งแรง
ฉีดจะต้องฉีดนำ้ามันด้วยความเร็วภายในเศษส่วนของวินาทีได้
ส่วนประกอบของ
ชุดหัวฉีดทางเดินนำ้ามันไหลเข้า
บ่ารองก้านกดเข็มหัวฉีด
ปลอกยึดหัวฉีด
สปริง
เข็มหัวฉีด
แผ่นชิม
เรือนหัวฉีด
ถ้วยรองเข็มหัวฉีด
หัวฉีด
Injection
Nozzleรแบ่งหัวฉีดตามลักษณการทำางาน
หัวฉีดแบบทำางานด้วยกลไกล ( ปัจจุบันไม่นิยม )
หัวฉีดแบบทำางานด้วยแรงดันนำ้ามัน แบ่งออกได้ 2 แบบคือ
หัวฉีดแบบเปิด นำ้ามันจะถูกฉีดออกมาโดยตรงแต่อาศัยลิ้นกันกลับ
หรือลูกปืนควบคุมการฉีดนำ้ามัน ไม่นิยมใช้เพราะยากแก่การบำาร
2.2 หัวฉีดแบบเปิด เป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน
หัวฉีด Injection Nozzle
หัวฉีดแบบเปิด
แบบนี้ใช้เข็มหัวฉีดเป็นตัวปิด-เปิดรูนำ้ามัน
โดยมีสปริงทำาหน้าที่กดเข็มหัวฉีดให้นั่งอยู่
บนบ่าปลอกเข็มหัวฉีด เมื่อนำ้ามันแรงดันสูง
จากปั๊มส่งมายังหัวฉีด นำ้ามันก็จะไปดันให้
เข็มหัวฉีดยกตัวขึ้นโดยชนะแรงดันสปริง
เข็มหัวฉีดก็จะเปิดรูนำ้ามันให้นำ้ามันฉีดออก
ไปเมื่อนำ้ามันถูกฉีดออกไปแล้วแรงดันของ
นำ้ามันจะลดลงสปริงก็จะดันเข็มหัวฉีดลงมา
ปิดรูนำ้ามันตามเดิม
หัวฉีด Injection Nozzle
ของหัวฉีด แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
1. หัวฉีดแบบรู แยกออกเป็น
2 ชนิดคือ
2. หัวฉีดแบบเข็มหรือแบบเดือย
1.1 แบบรู
เดียว
1.2 แบบ
หลายรู
หัวฉีด
Injection
Nozzle
1.1 หัวฉีดแบบรูเดียว
หัวฉีดแบบนี้ได้ออกแบบให้ส่วนปลายของเข็มห
นั่งอยู่บนบ่ารองรับด้านในปลอกเข็มหัวฉีดซึ่งม
รับกันพอดี ส่วนปลายของปลอกเข็มหัวฉีดจะเ
รูไว้ตรงกลางหรือจะเจาะรูเอียงไปด้านใดด้านห
ซึ่งขึ้นอยู่กับการออกแบบของห้องเผาใหม้
หัวฉีด Injection Nozzle
หัวฉีดแบบนี้ตรงปลายของปลอกเข็มหัวฉีดจะเจา
รูไว้หลายรูทั้งขนาดและจำานวนที่เจาะขึ้นอยู่กับ
ความเหมาะสมของห้องเผาใหม้
1.2 หัวฉีด
แบบหลายรู
เมื่อเครื่องยนต์ทำางาน ปั๊มนำ้ามันเชื้อเพลิง
จะส่งนำ้ามันแรงดันสูงไปยังหัวฉีด นำ้ามัน
จะไหลเข้าไปในท่อนำ้ามันเข้าและผ่าน
กรอง ( ที่อยู่ข้างในท่อทางนำ้ามันเข้า )
แล้วจะไหลไปตามรูนำ้ามันที่เรือนหัวฉีดผ่าน
ถ้วยรองเข็มหัวฉีด,ปลอกเข็มหัวฉีด
หัวฉีดแบบ
หลายรู
หัวฉีดแบบเข็มหรือแบบเดือย
ฉีดแบบเข็มหรือแบบเดือยนี้จะสร้างให้ปลายเข็มยื่นออกมา
กปลอกเข็มหัวฉีดเล็กน้อย และเมื่อเข็มหัวฉีดถูกยกขึ้นเปิด
มัน นำ้ามันก็จะฉีดกระจายออกเป็นฝอยละอองคล้ายรูป
ย การฉีดนำ้ามันแบบนี้จึงเหมาะสมและมีใช้กันมากใน
องยนต์ที่มีห้องเผาใหม้ช่วยแบบพรี-คอมบัสชั่นแชมเบอร์
แบบสเวิล-แชมเบอร์ ซึ่งหัวฉีดแบบเข็มหรือแบบเดือย
บ่งออกเป็น 2 แบบคือ
แบบเข็มตรงหรือเดือยสั้น
แบบเข็มปลายบานหรือเดือยยาว
หัวฉีดแบบเข็มหรือเดือยสั้น
หัวฉีดแบบนี้การฉีดนำ้ามันออกมายังไม่เป็นฝอย
ละอองที่ดีพอจึงต้องใช้กับห้องเผาใหม้ช่วยที่มี
การหมุนวนที่ดีจึงจะทำาให้การคลุกเคล้านำ้ามัน
กับอากาศได้ดีขึ้น
ฉีดแบบเข็มบานปลายหรือเดือยยา
หัวฉีดแบบนี้จะช่วยให้นำ้ามันออกมาเป็นฝอย
ละอองที่ดีและปริมาณนำ้ามันออกมาสมำ่าเสมอ
มากกว่า เนื่องจากส่วนปลายของเข็มได้ออกแบบ
ให้เป็นรูปกรวยทำาให้ป้องกันการเกิดปัญหา
การน็อคของเครื่องยนต์ได้
หลักการทำางาน
เมื่อเครื่องยนต์ทำางาน ปั๊มนำ้ามันเชื้อเพลิง
จะส่งนำ้ามันแรงดันสูงไปยังหัวฉีด นำ้ามัน
จะไหลเข้าไปในท่อนำ้ามันเข้าและผ่าน
กรอง ( ที่อยู่ข้างในท่อทางนำ้ามันเข้า )
แล้วจะไหลไปตามรูนำ้ามันที่เรือนหัวฉีดผ
ถ้วยรองเข็มหัวฉีด,ปลอกเข็มหัวฉีด
ระบบควบคุม
ความเร็ว
( GOVERNOR )
ดควบคุมความเร็ว (GOVERNO
มีหน้าที่ควบคุมความเร็วรอบของ
เครื่องยนต์หัเหมาะสมกับการทำางา
(ภาระ) ของเครื่องยนต์ และยังเป็น
อุปกรณ์ควบคุมให้เครื่องยนต์มีคว
เร็วรอบคงที่ตลอดเวลาในขณะที่
คันเร่งอยู่กับที่เพื่อป้องกันไม่ให้
- เครื่องยนต์มีอาการเร่งเอง-เบาเอ
- เครื่องยนต์หยุดการทำางานหรือด
วนประกอบของชุดกาวานา
1.เฟืองฟันหวี
2.ชุดควบคุมนำ้ามัน 2
3.สปริงกาวานา 2
4.สปริงกาวานา 1
5.คันเร่ง
6.แขนกาวานา 1
7.แขนกาวานา 2
8.แกนแขนกาวานา
9.ชุดควบคุมนำ้ามัน1
10.สปริงควบคุมรอบเดินเบา
หลักการทำางาน
ารสตาร์ทเครื่องยนต์
เมื่อเลื่อนคันเร่งไปยังตำาแหน่ง A แกนคันเร่งก็
จะไปดึงสปริงให้เกิดการยืดตัวแขนกาวานาก็จะ
ถูกผลักมายังตำาแหน่ง C ดังนั้นเฟืองฟันหวีก็จะ
คันเร่ง
แขนกาวานา
C.
E.
เฟืองฟันหวี
A.
รอบเดินเบา
เมื่อสตาร์ทเครื่องยนต์สปริงควบคุมรอบเดินเบา จะเริ่ม
ทำางานที่ความเร็วรอบของเครื่องยนต์ตำ่ากว่า 800 รอบ /
นาที โดยสปริงควบคุมรอบเดินเบาจะดึงแขนกาวา
นา 1. ไว้เพื่อรักษาความเร็วรอบของเครื่องยนต์ไว้ใน
สปริงควบคุม
รอบเดินเบา
แขนกาวานา 1.
หลักการทำางาน
หลักการ
ทำางาน
ม่มีภาระ- ภาระปานกลาง ( At no load to medium load
เครื่องยนต์จะหมุนด้วยความเร็วรอบคงที่ แรงดึงของสปริงกา
วานา1.,แรงต้านของสปริงชุดควบคุมนำ้ามัน2.และแรงเหวี่ยงหนี
ศูนย์ของลูกตุ้มกาวานาจะเท่ากัน
ถ้ามีภาระมากขึ้นความเร็วรอบของเครื่องยนต์จะลดลง ทำาให้
สปริงกาวานา1.ดึงแขนกาวานา1,2 ให้เคลื่อนไปผลักเฟืองฟันหวี
ปั๊มนำ้ามันก็จะจ่ายนำ้ามันมากขึ้นเครื่องยนต์ก็จะมีกำาลังเท่ากับภาระ
สปริงกาวานา1.
ชุดควบคุมนำ้ามัน2
แขนกาวานา 1
แขนกาวานา 2เฟืองฟันหวี
หลักการ
ทำางาน
ภาระปานกลาง- ภาระสูง ( At medium load – high loa
เครื่องยนต์จะหมุนด้วยความเร็วรอบคงที่แรงดึงของสปริงกาวา
นา1.,แรงต้านของสปริงชุดควบคุมนำ้ามัน2.และแรงเหวี่ยงหนีศูนย์
ของลูกตุ้มกาวานาจะเท่ากัน
ถ้ามีภาระมากขึ้นความเร็วรอบของเครื่องยนต์จะลดลง ทำาให้
สปริงกาวานา1.ดึงแขนกาวานา1,2 ให้เคลื่อนไปผลักเฟืองฟันหวี
ปั๊มนำ้ามันก็จะจ่ายนำ้ามันมากขึ้นเครื่องยนต์ก็จะมีกำาลังเท่ากับภาระ
สปริงกาวานา1.
ชุดควบคุมนำ้ามัน2
แขนกาวานา 1
แขนกาวานา 2เฟืองฟันหวี
หลักการ
ทำางาน
มีภาระสูง- ภาระสูงสุด ( At high load – maximum load
เครื่องยนต์ได้รับภาระมากขึ้นจนกระทั่ง แขนกาวานา 2
เคลื่อนที่มาสัมผัสกับแกนชุดควบคุมนำ้ามัน 1.
หากเครื่องยนต์ไม่สามารถสร้างกำาลังเท่ากับภาระที่รับได้ แกน
ชุดควบคุมนำ้ามัน2. ซึ่งอยู่บนแขนกาวานา
ก็จะผลักแขนกาวานา 1. ให้เคลื่อนที่ไปผลักเฟืองฟันหวี ปั๊ม
นำ้ามันก็จะจ่ายนำ้ามันมากขึ้นเครื่องยนต์ก็จะมีกำาลังสูงสุดเท่ากับ
สปริงกาวานา1.
ชุดควบคุมนำ้ามัน2 แขนกาวานา 1
แขนกาวานา 2
เฟืองฟันหวี
ชุดควบคุมนำ้ามัน1
หลักการ
ทำางาน
ีภาระสูงสุด - ภาระเกินกำาลัง ( At high load – over load
สปริงกาวานา1.
ชุดควบคุมนำ้ามัน2
แขนกาวานา 1
แขนกาวานา 2เฟืองฟันหวี
เมื่อแกนชุดควบคุมนำ้ามัน 2. ผลักแขนกาวานา 1. จนสุดแกน
ชุดควบคุมนำ้ามัน 2. แล้ว
หากเครื่องยนต์ยังไม่สามารถสร้างกำาลังเท่ากับภาระที่รับได้
สปริงที่อยู่ในชุดควบคุมนำ้ามัน 1. จะยุบตัว
ทำาให้แขนกาวานา 1.และ 2. เคลื่อนที่ไปผลักเฟืองฟันหวี ให้จ่าย
หลักการ
ทำางาน
บเครื่องยนต์ ( At engine stop )
สปริงกาวานา1.
แขนกาวานา 1
เฟืองฟันหวี
เมื่อผลักคันเร่งจากตำาแหน่ง ( A ) ไปยังตำาแหน่ง ( B )
ทำาให้แกนคันเร่งไปดันสปริงกาวานาให้เกิดการยุบตัวเป็น
อิสระก็จะทำาให้แขนกาวานา1. และเฟืองฟันหวีเคลื่อนตัวไป
ยังตำาแหน่ง ( D ) ปั๊มนำ้ามันเชื้อเพลิงก็จะหยุดการจ่ายนำ้ามัน
(
D
)
( A )
( B )
คันเร่ง
การทำางาน
ของกาวานา
ฝึกภาคปฏิบัติ
เนื้อหา
ก่อนเรียนภาคปฎิบัติ
- ดู CD –ขั้นตอนการถอด ประกอบ
- ลงมือปฏิบัติ(ถอดชิ้นส่วนออก)
- แนะนำาวิธีการประกอบ
- ปฎิบัติประกอบ
แนะนำาวิธีการ
ประกอบ
เทคนิคการประกอบ
เครื่องยนต์ดีเซล
การประกอบลูกปืน
เพลาข้อเหวี่ยง ET
ร่องลิ่มเพลา
ข้อเหวี่ยง
เรือน
ลูกปืน
การประกอบ
เพลาข้อเหวี่ยง
ลูกปืนเพลาข้อ
เหวี่ยง 1
การ
แก้ไ
ข
ไขควง
ปากแบน
การประกอบก้าน
สูบ กับลูกสูบ
IZU
MI
รูบู๊ชสลัก
ลูกสูบ
การประกอบ
ชุดแหวน
R
การจัด
ปากแหวน
ลูกสูบ 1
2 3
4
การประกอบก้านสูบ
เข้าเพลาข้อเหวี่ยง
ก้าน
สูบ
เพลาข้อ
เหวี่ยง
ร่องบากแบริ่
งก้านสูบ
การประกอบ
ประกับก้านสูบ
ร่องบากแบริ่
งก้านสูบ
การประกอบ
ชุดเฟือง RT
มาร์คที่เฟือง
เพลาลูกเบี้ยว
มาร์คที่เฟือง
เพลาข้อเหวี่ยง
มาร์คที่เฟือง
เพลาสมดุล
การประกอบ
ชุดเฟือง RT
มาร์คที่เฟือง
เพลาสมดุล
การประกอบ
ชุดเฟือง RT
มาร์คที่
เฟือง
เพลา
สมดุล
มาร์คที่เฟือง
เพลาข้อเหวี่ยง
มาร์คที่เฟืองเพลา
ลูกเบี้ยว
มาร์คที่เฟือง
สะพาน
การประกอบ
ชุดเฟือง RT
3 3
การประกอบฝา
ครอบเฟือง RTร่องลิ่มเฟืองเพลา
ข้อเหวี่ยง
.
มาร์คที่เฟืองเพลาสมดุล
อยู่ในแนวดิ่ง
มาร์คที่เฟือง
สะพาน
การประกอบฝา
ครอบเฟือง RT
ร่องลิ่มที่เฟือง
เพลาสตาร์ท อยู่
ในแนวดิ่ง
มาร์คที่เฟือง
เพลาสตาร์ท
.
มาร์คที่ปั๊ม
นำ้ามันเครื่อง
การประกอบฝา
ครอบเฟือง ET
มาร์คที่เฟือง
เพลาสตาร์ท
มาร์คที่ปั๊ม
นำ้ามันเครื่อง
การถอด-ประกอบปั๊ม
นำ้ามันเชื้อเพลิง
สลักเพลา
สตาร์ท
ร่องแขนกา
วานา
ลูก
เบี้ยว
เฟือง
ฟันหวี
การประกอบปั๊มนำ้ามัน
เชื้อเพลิง
การประกอบชุด
กระเดื่องกดวาล์ว
I
N
E
X
ขอบ
โรเตอร์ตัว
นอก
ฝา
ครอบ
เฟือง
การประกอบชุดเฟือง
ปั๊มนำ้ามันเครื่อง
การตั้งชุดควบคุม
นำ้ามันเชื้อเพลิง
ชุดควบคุมนำ้ามัน
เชื้อเพลิง
การบำารุงรักษา & การ
วิเคราะห์ปัญหา
รใช้การบำารุงรักษาเครื่องยนต
&
การวิเคราะห์ปัญหา
การบำารุงรักษา
เครื่องยนต์
ระบบกรองอากาศ 2. ระบบนำ้ามันเชื้อเพลิง
3. ระบบหล่อลื่น ( นำ้ามันเครื่อ
ะบบระบายความร้อน ( นำ้า )
สำาคัญที่ต้องมีการบำารุงรักษา
ระบบกรอง
อากาศน้าที่ของกรองอากาศ
จะทำาหน้าที่กรองและดักฝุ่นผงที่ปนมากับอา
ไม่ให้หลุดลอดเข้าไปในเครื่องยนต์ เพื่อป้อ
ชิ้นส่วนที่อยู่ภายในเกิดการสึกหรอ
ระบบกรอง
อากาศหลักการทำางาน
อากาศจะถูกดูดเข้าทางช่องว่างระหว่างฝาครอบกับ
นำ้ามันเครื่องแล้วไหลไปกระทบกับนำ้ามันเครื่องที่อย
ด้านล่าง ฝุ่นผงที่ติดมากับอากาศก็จะถูกดักไว้แล้ว
ปล่อยให้อากาศไหลผ่านจากด้านล่างของไส้กรอง
ขึ้นไปผ่านขดลวดที่อยู่ข้างในไส้กรองก็จะทำาหน้าท
กรองละเอียดอีกครั้งหนึ่งก่อนที่จะไหลเข้าท่อไอดี
กรอง
เปียก
ระบบกรอง
อากาศการบำารุงรักษา
ถอดล้างทำาความสะอาดทุกๆ 100 ชั่วโมง
ข้อแนะนำา
1.สำาหรับพื้นที่ๆมีฝุ่นมาก ( งานไถไร่ ) ควรถอดล้างท
2.เพื่อเพิ่มประสิทธิ์ภาพในการดักฝุ่นควรชะโลมนำ้าม
ไส้กรองอากาศทุกครั้งที่มีการถอดออกมาทำาความส
ข้อควรระวัง
ห้ามล้างด้วยนำ้า,ผงซักฟอก,นำ้ามันเบนซินโดย
การตรวจเช็ค
ก่อนการใช้งานดับนำ้ามันดักฝุ่นในกรองอากาศ
ตรวจเช็คปริมาณนำ้ามันให้อยู่ในระดับ
ที่กำาหนด
ารขันยึดชุดกรองอากาศ
ขันแน่นไม่ให้หลวมหรือคลอน
เครื่องยนต์หลวม
่มือหมุนเข้าไปในเครื่องยนต์
มุนเครื่องยนต์โดยไม่ต้องยกวาวล์
รื่องยนต์จะหมุนไปได้โดยรอบ
นขณะที่หมุนเครื่องจะไม่มีแรงต้าน
เกิดขึ้น )
1.
2.
3.
ธีการตรวจสอบปัญหา
หาที่เกิดขึ้นจากกรองอากาศ
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1
Presentation1

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)wiriya kosit
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติTAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติtaem
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดNapaphat Bassnowy
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานNut Veron
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรมใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรมkornchawanyooyued
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบการเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบSriprapai Inchaithep
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 

Tendances (20)

บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
 
Đề tài: Thiết kế hệ thống lái trên xe cơ sở ô tô HUYNDAI 24 tấn
Đề tài: Thiết kế hệ thống lái trên xe cơ sở ô tô HUYNDAI 24 tấnĐề tài: Thiết kế hệ thống lái trên xe cơ sở ô tô HUYNDAI 24 tấn
Đề tài: Thiết kế hệ thống lái trên xe cơ sở ô tô HUYNDAI 24 tấn
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติTAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
TAEM11: การบริหารจัดการภัยพิบัติ ระดับชาติ
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 
Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรมใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Ast.c2560.4t
Ast.c2560.4tAst.c2560.4t
Ast.c2560.4t
 
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบการเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 

En vedette (15)

Cylinder block
Cylinder blockCylinder block
Cylinder block
 
หลักการเครื่องยนต์
หลักการเครื่องยนต์หลักการเครื่องยนต์
หลักการเครื่องยนต์
 
Remove engine
Remove engineRemove engine
Remove engine
 
Disassemble engine
Disassemble engineDisassemble engine
Disassemble engine
 
Presentation1 vtec
Presentation1 vtecPresentation1 vtec
Presentation1 vtec
 
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมช
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมชการส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมช
การส่งกำลังงานเกียร์ขับหน้าแบบซิงโครเมช
 
ระบบแอร์
ระบบแอร์ระบบแอร์
ระบบแอร์
 
Dynamic balance concept
Dynamic balance conceptDynamic balance concept
Dynamic balance concept
 
T134 lubrication
T134 lubricationT134 lubrication
T134 lubrication
 
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคลการประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
การประชาสัมพันธ์ส่วนบุคคล
 
Presentation hitec
Presentation hitecPresentation hitec
Presentation hitec
 
Vancouver WordPress Meetup - WordPress 101
Vancouver WordPress Meetup - WordPress 101Vancouver WordPress Meetup - WordPress 101
Vancouver WordPress Meetup - WordPress 101
 
Static and Dynamic Balancing of Rotating Mass
Static and Dynamic Balancing of Rotating MassStatic and Dynamic Balancing of Rotating Mass
Static and Dynamic Balancing of Rotating Mass
 
Lubrication ppt.
Lubrication ppt.Lubrication ppt.
Lubrication ppt.
 
Lubricants
LubricantsLubricants
Lubricants
 

Presentation1