SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
หมู่ช้าง กิจการองค์การ ลูกเสือโลก
[object Object],หมายถึง   องค์การแห่งโลกที่ทำหน้าที่รักษาและดำรงไว้ซึ้งเอกภาพ  ( Unity )  ของขบวนการลูกเสือแห่งโลก และส่งเสริมกิจการลูกเสือทั่วโลกให้มีการพัฒนาก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องตลอดไป  โดยมีธรรมนูญลูกเสือโลกเป็นกฏหมายสำหรับยึดถือปฎิบัติในการดำเนินกิจการลูกเสือทั่วโลก
[object Object],มี  3  องค์กรคือ  1.  สมัชชาลูกเสือโลก 2.  คณะกรรมการลูกเสือโลก  3.  สำนักงานลูกเสือโลก
1.  สมัชชาลูกเสือโลก คือ ที่ประชุมของผู้แทนคณะลูกเสือประเทศต่างๆทั่วโลก เริ่มมีการประชุมกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี  1920 ( พ . ศ .2463)  และหลังจากนั้น ปกติมีการประชุมทุก ๆ  2  ปี ตั้งแต่ครั้งที่  1  ถึงครั้งที่  32  และเปลี่ยนเป็นการประชุมทุกระยะ  3  ปี โดยเริ่มตั้งแต่ครั้งที่  33  เป็นต้นไป ซึ่งจัดขึ้น  ณ  ประเทศไทย ในปี พ . ศ .2536
2.  คณะกรรมการลูกเสือโลก มีหน้าที่ดังนี้ 1 .   ส่งเสริมกิจการลูกเสือทั่วโลก 2 .   แต่งตั้งเลขาธิการ และรองเลขาธิการ ของสำนักงานลูกเสือโลก 3 .   ควบคุมการปฏิบัติงานของสำนักงานลูกเสือโลก 4 .   เงินทุนสำหรับส่งเสริมกิจการลูกเสือ
2. คณะกรรมการลูกเสือโลก  ( ต่อ ) 5 .  พิจารณาให้เครื่องหมายลูกเสือสดุดี  Bronze Wolf  ของคณะลูกเสือโลกแก่ ผู้ที่ได้มีส่วนช่วยเหลือกิจการลูกเสือ อย่างดีเด่น คนไทยที่ได้รับเลือกเป็นกรรมการลูกเสือโลก คือ นายอภัย จันทวิมล  (1965-1971) นายแพทย์บุญสม มาร์ติน  (1981-1987)
2. คณะกรรมการลูกเสือโลก  ( ต่อ ) คนไทย ที่ได้รับเครื่องหมายลูกเสือสดุดี บรอนซ์วูซ์ฟ  (Bronze Wolf) ค . ศ . 1971  นายอภัย จันทวิมล ค . ศ . 1976  นายจิตร ทังสุบุตร ค . ศ . 1980  นายกอง วิสุทธารมณ์ ค . ศ . 1984  นายเพทาย อมาตยกุล ค . ศ . 1990  นายแพทย์บุญสม มาร์ติน
3.  สำนักงานลูกเสือโลก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
3 .  สำนักงานลูกเสือโลก  ( ต่อ ) สำนักงานลูกเสือโลกมีเลขาธิการเป็นผู้บังคับ บัญชา และมีเจ้าหน้าที่ประมาณ  40  คน เป็น ผู้ช่วย นอกจากนี้ยังมีสำนักงานสาขาอีก  5  เขต
3.  สำนักงานลูกเสือโลก  ( ต่อ ) มีหน้าที่โดยย่อดังนี้ 1 .   ดำเนินการตามมติของสมัชชา  และคณะกรรมการลูกเสือโลก 2 .   ติดต่อกับประเทศสมาชิกและ  องค์การที่เกี่ยวข้อง 3 .   ประสานงาน 4 .   ส่งเสริมกิจการลูกเสือโดยทั่วไป
[object Object],คือ การจัดให้ลูกเสือประเทศต่างๆทั่วโลก ไปอยู่ค่ายพักแรม ณ สถานที่ที่กำหนดให้และให้ลูกเสือที่ไปร่วมการชุมนุมได้มีโอกาสประกอบกิจกรรมต่างๆตามที่กำหนดไว้ การชุมนุมลูกเสือโลกครั้งแรกจัดขึ้นที่ ประเทศอังกฤษ ในปี ค . ศ .1920 ( พ . ศ .2463)  มีการชุมนุมลูกเสือโลกทุกๆ  4  ปี
การชุมนุมลูกเสือโลก  ( ต่อ ) ครั้งที่  1  ปี ค . ศ .1920 (2463) Olympia, London  อังกฤษ ครั้งที่  2  ปี ค . ศ .1924 (2467) Ermelunedn, Copenhagen  เดนมาร์ก  ครั้งที่  3  ปี ค . ศ .1929 (2472) Arrowe Park  อังกฤษ ครั้งที่  4  ปี ค . ศ .1933 (2476) Godollo  ฮังการี ครั้งที่  5  ปี ค . ศ .1937 (2480) Vegelengzang  เนเธอร์แลนด์
การชุมนุมลูกเสือโลก  ( ต่อ ) ครั้งที่  6  ปี ค . ศ .1947 (2490) Moisson  ฝรั่งเศส ครั้งที่  7  ปี ค . ศ .1951 (2494) Bad Ischl  ออสเตรีย ครั้งที่  8  ปี ค . ศ .1955 (2498) Niagara-on-Lake  แคนนาดา ครั้งที่  9  ปี ค . ศ .1957 (2500) Sutton Coldfield  อังกฤษ ครั้งที่  10  ปี ค . ศ .1959 (2502) Makiling Park  ฟิลิปปินส์ครั้งที่  11  ปี ค . ศ .1963 (2506) Marathon  กรีซ
การชุมนุมลูกเสือโลก  ( ต่อ ) ครั้งที่  12  ปี ค . ศ .1967 (2511) Farragut State Park  สหรัฐอเมริกา ครั้งที่  13  ปี ค . ศ .1971 (2514) Asagiri Hights  ญี่ปุ่น ครั้งที่  14  ปี ค . ศ .1975 (2518) Lillehammor  นอร์เวย์ ครั้งที่  15  ปี ค . ศ .1983 (2526) Calgary, Alberta  แคนาดา ครั้งที่  16  ปี ค . ศ .1988 (2531) Cataract Scout Park,  ออสเตรเลีย ครั้งที่  17  ปี ค . ศ .1991 (2534) Seoul  เกาหลี
การชุมนุมลูกเสือโลก  ( ต่อ ) ครั้งที่  18   ปี ค . ศ . 1995 (2538)  เนเธอร์แลนด์ ครั้งที่  19  ปี ค . ศ . 1999 (2542)  ชิลี ครั้งที่  20  ปี ค . ศ .2003 (2546)  หาดยาว ประเทศไทย ครั้งที่  21  ฉลองครบ  100  ปี  ณ ประเทศอังกฤษ
[object Object],เดิมเรียกว่า  Far East Scout Conference  ประชุมครั้งแรกเมื่อปี  1958  หลังจากนั้นมีการประชุมทุก  2  ปี  ต่อมาในปี  1970  ได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น  Asia-Pacific Scout Conference
การประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย - แปซิฟิก  ( ต่อ ) เดิมกรรมการลูกเสือเขตเอเชีย - แปซิฟิก มี  8  คน  อยู่ในตำแหน่งคราวละ  4  ปี และเลือกกันเอง  เป็นประธาน ทุกๆ  2  ปี ที่มีการประชุมสมัชชาเขต กรรมการ  4  คน จะออกจากตำแหน่งตามวาระและ  มีการเลือกตั้งกรรมการแทนผู้ที่ออกตามวาระหรือ ลาออก หรือถึงแก่กรรม
การประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย - แปซิฟิก  ( ต่อ ) เมื่อการประชุมกรรมการลูกเสือเอเชีย - แปซิฟิก ครั้งที่  12  ปี  1980 ( พ . ศ .2527)  ที่ประเทศออสเตรเลีย ได้มีมติให้เปลี่ยนแปลงจำนวนกรรมการลูกเสือเขตเป็น  10  คน อยู่ในตำแหน่งคราวละ  6  ปี จะออกในสมัยประชุมครั้งละ  5  คน และมีการเลือกกรรมการลูกเสือเขตใหม่อีก  5  คน เข้ามาแทนที่ และที่ประชุมได้มีมติให้เปลี่ยนแปลงวาระการประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย - แปซิฟิก  2  ปี ต่อครั้ง เป็น  3  ปีต่อครั้งเริ่มตั้งแต่การประชุมครั้งที่  16  ปี  1989 ( พ . ศ .2532)  ที่ประเทศจีนไต้หวัน
สมาชิก หมู่ช้าง นางวัชรี  เจริญมรรค์ นางวนาวัล  ศรีเจริญ นางพัชราวลัย  อัยรา นางอำพร  มะนูรีม นายประเสริฐ  แจ่มแจ้ง นางสาวทัศนีย์  มณเฑียร นางมาลัย  สุวรรณ์ นางเกษร  แก้วชนะ นางน้ำผึ้ง  เปรมปรีดา

More Related Content

More from primpatcha

การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์primpatcha
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตprimpatcha
 
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)primpatcha
 
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)primpatcha
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกprimpatcha
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกprimpatcha
 

More from primpatcha (10)

การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
 
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Rbm)
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
 
work
workwork
work
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
 

กิจการองค์การลูกเสือโลกช้าง

  • 2.
  • 3.
  • 4. 1. สมัชชาลูกเสือโลก คือ ที่ประชุมของผู้แทนคณะลูกเสือประเทศต่างๆทั่วโลก เริ่มมีการประชุมกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี 1920 ( พ . ศ .2463) และหลังจากนั้น ปกติมีการประชุมทุก ๆ 2 ปี ตั้งแต่ครั้งที่ 1 ถึงครั้งที่ 32 และเปลี่ยนเป็นการประชุมทุกระยะ 3 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ครั้งที่ 33 เป็นต้นไป ซึ่งจัดขึ้น ณ ประเทศไทย ในปี พ . ศ .2536
  • 5. 2. คณะกรรมการลูกเสือโลก มีหน้าที่ดังนี้ 1 . ส่งเสริมกิจการลูกเสือทั่วโลก 2 . แต่งตั้งเลขาธิการ และรองเลขาธิการ ของสำนักงานลูกเสือโลก 3 . ควบคุมการปฏิบัติงานของสำนักงานลูกเสือโลก 4 . เงินทุนสำหรับส่งเสริมกิจการลูกเสือ
  • 6. 2. คณะกรรมการลูกเสือโลก ( ต่อ ) 5 . พิจารณาให้เครื่องหมายลูกเสือสดุดี Bronze Wolf ของคณะลูกเสือโลกแก่ ผู้ที่ได้มีส่วนช่วยเหลือกิจการลูกเสือ อย่างดีเด่น คนไทยที่ได้รับเลือกเป็นกรรมการลูกเสือโลก คือ นายอภัย จันทวิมล (1965-1971) นายแพทย์บุญสม มาร์ติน (1981-1987)
  • 7. 2. คณะกรรมการลูกเสือโลก ( ต่อ ) คนไทย ที่ได้รับเครื่องหมายลูกเสือสดุดี บรอนซ์วูซ์ฟ (Bronze Wolf) ค . ศ . 1971 นายอภัย จันทวิมล ค . ศ . 1976 นายจิตร ทังสุบุตร ค . ศ . 1980 นายกอง วิสุทธารมณ์ ค . ศ . 1984 นายเพทาย อมาตยกุล ค . ศ . 1990 นายแพทย์บุญสม มาร์ติน
  • 8.
  • 9. 3 . สำนักงานลูกเสือโลก ( ต่อ ) สำนักงานลูกเสือโลกมีเลขาธิการเป็นผู้บังคับ บัญชา และมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 40 คน เป็น ผู้ช่วย นอกจากนี้ยังมีสำนักงานสาขาอีก 5 เขต
  • 10. 3. สำนักงานลูกเสือโลก ( ต่อ ) มีหน้าที่โดยย่อดังนี้ 1 . ดำเนินการตามมติของสมัชชา และคณะกรรมการลูกเสือโลก 2 . ติดต่อกับประเทศสมาชิกและ องค์การที่เกี่ยวข้อง 3 . ประสานงาน 4 . ส่งเสริมกิจการลูกเสือโดยทั่วไป
  • 11.
  • 12. การชุมนุมลูกเสือโลก ( ต่อ ) ครั้งที่ 1 ปี ค . ศ .1920 (2463) Olympia, London อังกฤษ ครั้งที่ 2 ปี ค . ศ .1924 (2467) Ermelunedn, Copenhagen เดนมาร์ก ครั้งที่ 3 ปี ค . ศ .1929 (2472) Arrowe Park อังกฤษ ครั้งที่ 4 ปี ค . ศ .1933 (2476) Godollo ฮังการี ครั้งที่ 5 ปี ค . ศ .1937 (2480) Vegelengzang เนเธอร์แลนด์
  • 13. การชุมนุมลูกเสือโลก ( ต่อ ) ครั้งที่ 6 ปี ค . ศ .1947 (2490) Moisson ฝรั่งเศส ครั้งที่ 7 ปี ค . ศ .1951 (2494) Bad Ischl ออสเตรีย ครั้งที่ 8 ปี ค . ศ .1955 (2498) Niagara-on-Lake แคนนาดา ครั้งที่ 9 ปี ค . ศ .1957 (2500) Sutton Coldfield อังกฤษ ครั้งที่ 10 ปี ค . ศ .1959 (2502) Makiling Park ฟิลิปปินส์ครั้งที่ 11 ปี ค . ศ .1963 (2506) Marathon กรีซ
  • 14. การชุมนุมลูกเสือโลก ( ต่อ ) ครั้งที่ 12 ปี ค . ศ .1967 (2511) Farragut State Park สหรัฐอเมริกา ครั้งที่ 13 ปี ค . ศ .1971 (2514) Asagiri Hights ญี่ปุ่น ครั้งที่ 14 ปี ค . ศ .1975 (2518) Lillehammor นอร์เวย์ ครั้งที่ 15 ปี ค . ศ .1983 (2526) Calgary, Alberta แคนาดา ครั้งที่ 16 ปี ค . ศ .1988 (2531) Cataract Scout Park, ออสเตรเลีย ครั้งที่ 17 ปี ค . ศ .1991 (2534) Seoul เกาหลี
  • 15. การชุมนุมลูกเสือโลก ( ต่อ ) ครั้งที่ 18 ปี ค . ศ . 1995 (2538) เนเธอร์แลนด์ ครั้งที่ 19 ปี ค . ศ . 1999 (2542) ชิลี ครั้งที่ 20 ปี ค . ศ .2003 (2546) หาดยาว ประเทศไทย ครั้งที่ 21 ฉลองครบ 100 ปี ณ ประเทศอังกฤษ
  • 16.
  • 17. การประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย - แปซิฟิก ( ต่อ ) เดิมกรรมการลูกเสือเขตเอเชีย - แปซิฟิก มี 8 คน อยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี และเลือกกันเอง เป็นประธาน ทุกๆ 2 ปี ที่มีการประชุมสมัชชาเขต กรรมการ 4 คน จะออกจากตำแหน่งตามวาระและ มีการเลือกตั้งกรรมการแทนผู้ที่ออกตามวาระหรือ ลาออก หรือถึงแก่กรรม
  • 18. การประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย - แปซิฟิก ( ต่อ ) เมื่อการประชุมกรรมการลูกเสือเอเชีย - แปซิฟิก ครั้งที่ 12 ปี 1980 ( พ . ศ .2527) ที่ประเทศออสเตรเลีย ได้มีมติให้เปลี่ยนแปลงจำนวนกรรมการลูกเสือเขตเป็น 10 คน อยู่ในตำแหน่งคราวละ 6 ปี จะออกในสมัยประชุมครั้งละ 5 คน และมีการเลือกกรรมการลูกเสือเขตใหม่อีก 5 คน เข้ามาแทนที่ และที่ประชุมได้มีมติให้เปลี่ยนแปลงวาระการประชุมสมัชชาลูกเสือเขตเอเชีย - แปซิฟิก 2 ปี ต่อครั้ง เป็น 3 ปีต่อครั้งเริ่มตั้งแต่การประชุมครั้งที่ 16 ปี 1989 ( พ . ศ .2532) ที่ประเทศจีนไต้หวัน
  • 19. สมาชิก หมู่ช้าง นางวัชรี เจริญมรรค์ นางวนาวัล ศรีเจริญ นางพัชราวลัย อัยรา นางอำพร มะนูรีม นายประเสริฐ แจ่มแจ้ง นางสาวทัศนีย์ มณเฑียร นางมาลัย สุวรรณ์ นางเกษร แก้วชนะ นางน้ำผึ้ง เปรมปรีดา