SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
ภาวะผู้น ำา สำา หรับ ผู้บ ริห ารสถานศึก ษาในอนาคต
       สถานการณ์ ภาวการณ์ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามบริบท ของ
สังคม ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อมเทคโนโลยี ฯลฯ
เป็นการเปลี่ยนแปลงซึ่งต้องบริหารแบบรู้เท่าทัน ทันการณ์ มี
วิสัยทัศน์ โดยใช้พื้นฐานความรู้เดิมเป็นตัวตั้ง แล้วนำามา
วิเคราะห์เรียบเรียง เพื่อศึกษาและทำาความเข้าใจ แล้วจัดการ
กำาจัดจุดอ่อน และเพิ่มจุดแข็ง ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ภาวะผู้นำา
เป็นกระบวนการที่ผู้นำาหรือที่มีภาวะผู้นำา เป็นผู้ที่ชักนำา จูงใจ
ชี้นำา ใช้อิทธิพลหรืออำานาจที่มีอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ทำาให้หรือ
กระตุ้นให้หรือชี้นำาให้เพื่อนร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาให้
ยินดี เต็มใจ พร้อมใจ ยินดีในการกระทำาการ ให้มีความ
กระตือรือร้นหรือร่วมดำาเนินการอย่าใดอย่างหนึ่งตามที่ผู้นำา
ต้องการ ให้มีพฤติกรรมไปในทิศทางที่เขาชักนำาในการทำางาน
หรือดำาเนินกิจกรรมที่ผู้นำา นั้นรับผิดชอบหรือตามที่ผู้นำานั้น
ต้องการ การ เปลี่ยนแปลงเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างต่อ
เนื่องอยู่ตลอดเวลา ไม่อาจแยกจากกันได้เด็ดขาดว่าเป็นยุคอดีต
ยุคปัจจุบัน และยุคอนาคต แต่จะมีลักษณะที่คาบเกี่ยวและมี
ความสัมพันธ์ต่อกันเสมือนอยู่บนเส้นตรงเดียว กัน กระแสการ
เปลี่ยนแปลงทางการศึกษาที่เราคาดหมายว่าจะเกิดขึ้นใน
อนาคตก็เช่นกัน ก็อาจมีกระแสหลักอยู่หลายประเด็นที่ได้เกิดมา
ในอดีต แล้วดำาเนินสืบต่อมาในปัจจุบันและอาจต่อเนื่องต่อไปใน
อนาคตก็ได้ หรืออาจเป็นกระแสหลักที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใหม่ใน
อนาคตเลยก็ได้ ดังนั้น ผู้นำาในโรงเรียนในอนาคต ควรมีผู้
บริหารที่เป็นผู้นำาการเปลี่ยนแปลงสู่คุณภาพการศึกษา
        ผู้บริหารในอนาคตจึงต้องมีคุณสมบัติที่เป็นผู้นำาการ
เปลี่ยนแปลงสู่คุณภาพการศึกษา และจัดการบริหารสถานศึกษา
ให้เป็น องค์ก ารแห่ง การเรีย นรู้ (learning organization)
อย่างแท้จริง ผู้บริหารในอนาคตจะต้องมีศักยภาพดังต่อไปนี้
    1. ผู้บริหารต้องมีความสามารถรับรู้ เข้าใจ และตีความต่อ
สัญญาณบอกเหตุใดๆที่จะเข้ามาจากสิ่งแวดล้อม ภายนอกได้
อย่างแม่นยำาและถูกต้อง มี ความยืดหยุ่นและสามารถสนองตอบ
ต่อสัญญาณบอกเหตุดังกล่าวด้วยวิธีการต่างๆได้ ดี เช่น ปรับตัว
ด้านโครงสร้าง ปรับหลักสูตร ปรับกระบวนการเรียนการสอน
ปรับกระบวนการบริหารจัดการใหม่ที่มีความสอดคล้องเหมาะสม
เป็นต้น สามารถที่จะมีอิทธิพลทั้งเชิงรุก และเชิงรับ ต่อชุมชน/
สังคม โดยเฉพาะต่อแนวคิดและค่านิยมที่ได้รับผลกระทบจาก
ภาวะโลกาภิวัตน์
      2. ผู้บริหารจำาเป็นต้องเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรที่ก่อให้เกิด
ความร่วมมือและมีความยืดหยุ่นคล่องตัวมากขึ้น ซึงน่าจะเป็น
                                                  ่
โครงสร้า งแบบแนวนอน มากกว่า และยิ่งถ้าโรงเรียน
ต้องการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดได้ดีในอนาคตด้วยแล้ว ก็
จำาเป็นที่จะต้องสลายพรมแดนระหว่างหน่วยงานย่อยต่างๆ
ภายในให้เหลือน้อยที่ สุดต้องลดการควบคุม(control)แต่ เพิ่ม
การประสานสัมพันธ์ ให้มากขึ้น ยึดความยืดหยุ่นคล่องตัวเพื่อ
ให้เกิดการบริหารที่มุ่งเป้าหมายของงานมากกว่า เพื่อการ
บริหารระเบียบกฎเกณฑ์แบบราชการซึ่งเป็นระบบที่ตึงตัวที่ไม่
เหมาะ สมอย่างยิ่งกับการบริหารจัดการสถาบันทางวิชาการ
      3. ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นำาที่ดี โดยต้องปรับเปลี่ยนบทบาท
จากการเป็นผู้ค วบคุม งาน (controller) หรือ ผู้ค ุม กฎ
(gatekeeper) ไปสู่บทบาทใหม่ในฐานะ ผู้ส นับ สนุน หรือ ผู้
เอื้อ อำา นวยด้า นสารสนเทศ มากขึ้น เป็นผู้น ำา การพัฒ นา
ศัก ยภาพของครูแ ละ เป็น ผู้ใ ช้ว ิธ ีก ารกระจายอำา นา
จการตัด สิน ใจให้แ ก่ผ ู้ร ่ว มงาน ด้วยเหตุนี้แนวคิดเดิมที่ถือว่า
การบริหารหน่วยงานจะต้องขึ้นอยู่กับการตัดสินใจโดยผู้น ำา
เพีย งคนเดีย วหรือ Single leader เท่านั้น จำาเป็นต้องปรับ
เปลี่ยนมาเป็น การกระจายภาวะผู้น ำา ให้แก่ผู้ร่วมงานใน
ระดับต่างๆได้มีโอกาสเป็นผู้นำาที่ได้รับการมอบอำานาจความรับ
ผิดชอบการตัดสินใจในขอบเขตงานของตนได้ด้วยตนเองมาก
ขึ้น
4. ผู้บริหารต้องปรับกลยุทธ์การบริหารจัดการโดยยึด
หลัก การให้เ กิด ความเชื่อ มโยงระหว่า งกัน เช่น ความ
เชื่อมโยงการทำางานของครูแต่ละคนให้กลายเป็นทีม ความ
เชื่อมโยงระหว่างทีมงานกับทีมงาน ระหว่างแผนกงานกับแผนก
งาน และระหว่างโรงเรียนกับชุมชนภายนอก เป็นต้น
     5. ผู้บริหารต้อ งสร้า งเครือ ข่า ยพัน ธมิต ร (strategic
networks) กับ สถานศึกษาอื่น ตลอดจนกับหน่วยงานอื่นทั้ง
ภาครัฐและเอกชน เพื่อประโยชน์ของความร่วมมือ การใช้
ทรัพยากรร่วม และการเพิ่มความแข็งแกร่งทางวิชาการ การ
สร้างผลผลิตที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ รวมทั้งช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโรงเรียนมากยิ่งขึ้น
    6. ผู้บริหารต้องให้ความสำาคัญกับผู้ม ีส ่ว นได้เ สีย กับ
โรงเรีย น เช่น ผู้ป กครองและชุม ชนที่ต้องการเข้าไปมี
บทบาทต่อการดำาเนินงานและการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
และสมำ่าเสมอ
      7. ผู้บริหารจะต้องแสดงบทบาทการเป็น ผู้น ำา ที่ส ำา คัญ
ของสัง คมแห่ง ความรู้ (knowledge society) โดยต้องใช้
เทคโนโลยีก้าวหน้าชั้นสูงเป็นเครื่องมือดำาเนินการไปสู่ความ
สำาเร็จดังกล่าว ตลอดจนใช้เพื่อการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้
ของนักเรียนให้ได้ตามความคาดหวังของสังคม
     8. ผู้บริหารต้องพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้หลากหลายและทัน
สมัยเรียกว่า การเรีย นรู้แ บบไร้พ รมแดน โดย ไม่จำากัดเวลา
และสถานที่ ซึ่งอาจเป็นที่บ้าน ที่ทำางาน ศูนย์การค้า รวมทั้งที่
โรงเรียนเองก็ได้ กล่าวโดยสรุปต่อไปนี้จะมีแหล่งความรู้ที่มี
ขนาดใหญ่มหึมา มีข้อมูลสารสนเทศที่ทันสมัยให้เลือกได้ตามที่
ต้องการอย่างหลากหลายมากมาย และมีความน่าสนใจ ตลอด
จนทุกคนสามารถเข้าถึงองค์ความรู้และสารสนเทศเหล่านั้นได้ดี
กว่าการเรียน แบบเดิมในห้องเรียน ปรากฏการณ์ดังกล่าว จะ
บีบบังคับให้ครูต้องพัฒนาตนเองเพื่อให้สามารถทำาหน้าที่ภาย
ใต้สถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างมีประสิทธิผล
9. ผู้บ ริห ารต้อ งจัด ทำา หลัก สูต รสถานศึก ษาให้
สอดคล้อ งกับ สภาพความเป็น จริง ของโรงเรีย นและ
ชุม ชน ทั้งสองฝ่ายต้องร่วมมือกันจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน มิ
ฉะนั้นสิ่งที่เรียน/ที่ สอนอยู่ในโรงเรียนนับวันจะล้าสมัยห่างไกล
จากความเป็นจริงยิ่งขึ้น จนไม่สามารถสร้างผลผลิตจากการ
ศึกษาให้สอดคล้องตรงตามความต้องการของผู้ใช้ผล ผลิตของ
โรงเรียนได้ หน้าที่สำาคัญของการศึกษาขั้นพื้นฐานมิอาจจำากัด
เพียงแค่การให้สาระความรู้ที่ จำาเป็นแก่เรียนเท่านั้น แต่สิ่งที่
จำาเป็นและขาดไม่ได้ก็คือ การทำา ให้ผ ู้เ รีย นมีท ัก ษะชีว ิต ที่
สอดคล้องกับการดำารงชีวิตในโลกสมัยใหม่ได้อย่างชาญฉลาด
และอย่างมีความสุข การรู้เ ท่า ทัน โลก การรู้จ ัก ทางเลือ ก
การรู้จ ัก แก้ป ัญ หา การได้ร ับ การพัฒ นาทัก ษะและนิส ัย
ใฝ่ร ู้ใ ฝ่เ รีย นอย่า งไม่ย อมจบสิ้น (life-long learner)
      10. ผู้บริหารจะต้องมีกระบวนการพัฒนาบุคลากรให้เ ป็น
ครูม ือ อาชีพ (professionalism) มากยิ่ง ขึ้น โดยมุ่ง เน้น
ให้ค รูม ีค วามเป็น นัก จัด การการเรีย นรู้ (learning
managers) ฝีมือดี ที่มีเจตคติแห่งความเป็นครูสูง มีความรู้
ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติวิชาชีพที่ทันสมัยอยู่ใน
ระดับสูง
      11. ผู้บริหารต้องให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานของครูใน
ทุกเรื่องและในทุกบริบท จำาเป็นอย่างยิ่งที่จ ะต้อ งร่ว มมือ ทำา
กัน เป็น ทีม เสมือนคณะแพทย์ที่ทำาการผ่าตัดคนไข้ ด้วยเหตุนี้
ครูจึงต้องได้รับการพัฒนาด้านการทำางานแบบทีม รวมทั้ง
พัฒนาความฉลาดรู้ทางอารมณ์ (EQ) อีกด้วย
       12. ผู้บริหารจะต้อ งสร้า งและมีว ัฒ นธรรมการทำา งาน
ที่ส่งเสริมให้เกิด ความร่ว มมือ ร่ว มใจ (collaborative)
มากกว่าการเน้นเรื่อง การแข่ง ขัน (competitive) ในการ
ดำาเนินกิจกรรมต่างๆทุกด้านของนักเรียน ครู และบุคลากรทุก
ฝ่ายในโรงเรียน ตลอดจนชุมชนภายนอก เพราะความร่ว มมือ
ร่ว มใจกันจะก่อให้เกิดความมีพ ลัง เพิ่ม ที่ม ากกว่า ปกติ ที่
เรียกว่า Synergy ขึน ซึงทำาให้งานสำาเร็จได้ง่าย รวดเร็วขึ้น
                   ้   ่
และได้ปริมาณงานออกมามากขึ้นกว่าเดิม ที่สำาคัญคือ จะช่วย
เสริมสร้างบรรยากาศของการมี สามัค คีธ รรม ให้เ กิด ขึ้น ใน
ที่ท ำา งาน
        องค์กรหรือสถานศึกษาที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของ
ชุมชนและสังคม หัวใจ สำาคัญก็คือ ผู้นำาหรือผู้บริหารสถาน
ศึกษาที่จะเป็นตัวจักรสำาคัญในการบริหารจัดการเกิดการ ขับ
เคลื่อน ซึงประกอบไปด้วย คน งบประมาณและการจัด การ
          ่
ให้เ กิด ประสิท ธิภ าพสูง สุด ผู้น ำา หรือ ผู้บ ริห ารสถาน
ศึก ษา จึงเป็นผู้มีบทบาทสำาคัญที่จะชี้เป็นชี้ตายต่อ องค์กรเพื่อ
ตอบสนอง นโยบาย หลักสูตร และความคาดหวังของสังคมได้
ตามความคาดหวังหรือไม่ ยังเป็นคำาถามดังก้องมาหลาย
ทศวรรษ และยังต้องตามหาคำาตอบกันต่อไป ดังคำากล่าวที่ว่า “
การปลูกพืชจะเจริญงอกงามต้องเห็นเงาของผู้ปลูกฉันใด
โรงเรียนจะมีคุณภาพต้องเห็นเงาผู้บริหารฉันนั้น”

More Related Content

What's hot

บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารTaraya Srivilas
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำguest817d3d
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศsutima piboon
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 

What's hot (20)

บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 

Similar to ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต

Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124guest417609
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้บริหาร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้บริหารความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้บริหาร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้บริหารThitiya Janpeng
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพratchadaphun
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic managementcapercom
 
ทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการChanida_Aingfar
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..krupotjanee
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Napin Yeamprayunsawasd
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4nattawad147
 

Similar to ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต (20)

นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้บริหาร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้บริหารความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้บริหาร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้บริหาร
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
ทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการ
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 

More from Proud N. Boonrak

สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือProud N. Boonrak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงProud N. Boonrak
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้Proud N. Boonrak
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒Proud N. Boonrak
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BrProud N. Boonrak
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพProud N. Boonrak
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาProud N. Boonrak
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 

More from Proud N. Boonrak (15)

สมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือสมุดประจำตัวลูกเสือ
สมุดประจำตัวลูกเสือ
 
Present simple
Present simplePresent simple
Present simple
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๒๔ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
ASEAN
ASEANASEAN
ASEAN
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษาร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
ร่างยุทธศาสตร์การศึกษา
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 

ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต

  • 1. ภาวะผู้น ำา สำา หรับ ผู้บ ริห ารสถานศึก ษาในอนาคต สถานการณ์ ภาวการณ์ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามบริบท ของ สังคม ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อมเทคโนโลยี ฯลฯ เป็นการเปลี่ยนแปลงซึ่งต้องบริหารแบบรู้เท่าทัน ทันการณ์ มี วิสัยทัศน์ โดยใช้พื้นฐานความรู้เดิมเป็นตัวตั้ง แล้วนำามา วิเคราะห์เรียบเรียง เพื่อศึกษาและทำาความเข้าใจ แล้วจัดการ กำาจัดจุดอ่อน และเพิ่มจุดแข็ง ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ภาวะผู้นำา เป็นกระบวนการที่ผู้นำาหรือที่มีภาวะผู้นำา เป็นผู้ที่ชักนำา จูงใจ ชี้นำา ใช้อิทธิพลหรืออำานาจที่มีอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ทำาให้หรือ กระตุ้นให้หรือชี้นำาให้เพื่อนร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาให้ ยินดี เต็มใจ พร้อมใจ ยินดีในการกระทำาการ ให้มีความ กระตือรือร้นหรือร่วมดำาเนินการอย่าใดอย่างหนึ่งตามที่ผู้นำา ต้องการ ให้มีพฤติกรรมไปในทิศทางที่เขาชักนำาในการทำางาน หรือดำาเนินกิจกรรมที่ผู้นำา นั้นรับผิดชอบหรือตามที่ผู้นำานั้น ต้องการ การ เปลี่ยนแปลงเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างต่อ เนื่องอยู่ตลอดเวลา ไม่อาจแยกจากกันได้เด็ดขาดว่าเป็นยุคอดีต ยุคปัจจุบัน และยุคอนาคต แต่จะมีลักษณะที่คาบเกี่ยวและมี ความสัมพันธ์ต่อกันเสมือนอยู่บนเส้นตรงเดียว กัน กระแสการ เปลี่ยนแปลงทางการศึกษาที่เราคาดหมายว่าจะเกิดขึ้นใน อนาคตก็เช่นกัน ก็อาจมีกระแสหลักอยู่หลายประเด็นที่ได้เกิดมา ในอดีต แล้วดำาเนินสืบต่อมาในปัจจุบันและอาจต่อเนื่องต่อไปใน อนาคตก็ได้ หรืออาจเป็นกระแสหลักที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใหม่ใน อนาคตเลยก็ได้ ดังนั้น ผู้นำาในโรงเรียนในอนาคต ควรมีผู้ บริหารที่เป็นผู้นำาการเปลี่ยนแปลงสู่คุณภาพการศึกษา ผู้บริหารในอนาคตจึงต้องมีคุณสมบัติที่เป็นผู้นำาการ เปลี่ยนแปลงสู่คุณภาพการศึกษา และจัดการบริหารสถานศึกษา ให้เป็น องค์ก ารแห่ง การเรีย นรู้ (learning organization) อย่างแท้จริง ผู้บริหารในอนาคตจะต้องมีศักยภาพดังต่อไปนี้ 1. ผู้บริหารต้องมีความสามารถรับรู้ เข้าใจ และตีความต่อ สัญญาณบอกเหตุใดๆที่จะเข้ามาจากสิ่งแวดล้อม ภายนอกได้
  • 2. อย่างแม่นยำาและถูกต้อง มี ความยืดหยุ่นและสามารถสนองตอบ ต่อสัญญาณบอกเหตุดังกล่าวด้วยวิธีการต่างๆได้ ดี เช่น ปรับตัว ด้านโครงสร้าง ปรับหลักสูตร ปรับกระบวนการเรียนการสอน ปรับกระบวนการบริหารจัดการใหม่ที่มีความสอดคล้องเหมาะสม เป็นต้น สามารถที่จะมีอิทธิพลทั้งเชิงรุก และเชิงรับ ต่อชุมชน/ สังคม โดยเฉพาะต่อแนวคิดและค่านิยมที่ได้รับผลกระทบจาก ภาวะโลกาภิวัตน์ 2. ผู้บริหารจำาเป็นต้องเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรที่ก่อให้เกิด ความร่วมมือและมีความยืดหยุ่นคล่องตัวมากขึ้น ซึงน่าจะเป็น ่ โครงสร้า งแบบแนวนอน มากกว่า และยิ่งถ้าโรงเรียน ต้องการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดได้ดีในอนาคตด้วยแล้ว ก็ จำาเป็นที่จะต้องสลายพรมแดนระหว่างหน่วยงานย่อยต่างๆ ภายในให้เหลือน้อยที่ สุดต้องลดการควบคุม(control)แต่ เพิ่ม การประสานสัมพันธ์ ให้มากขึ้น ยึดความยืดหยุ่นคล่องตัวเพื่อ ให้เกิดการบริหารที่มุ่งเป้าหมายของงานมากกว่า เพื่อการ บริหารระเบียบกฎเกณฑ์แบบราชการซึ่งเป็นระบบที่ตึงตัวที่ไม่ เหมาะ สมอย่างยิ่งกับการบริหารจัดการสถาบันทางวิชาการ 3. ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นำาที่ดี โดยต้องปรับเปลี่ยนบทบาท จากการเป็นผู้ค วบคุม งาน (controller) หรือ ผู้ค ุม กฎ (gatekeeper) ไปสู่บทบาทใหม่ในฐานะ ผู้ส นับ สนุน หรือ ผู้ เอื้อ อำา นวยด้า นสารสนเทศ มากขึ้น เป็นผู้น ำา การพัฒ นา ศัก ยภาพของครูแ ละ เป็น ผู้ใ ช้ว ิธ ีก ารกระจายอำา นา จการตัด สิน ใจให้แ ก่ผ ู้ร ่ว มงาน ด้วยเหตุนี้แนวคิดเดิมที่ถือว่า การบริหารหน่วยงานจะต้องขึ้นอยู่กับการตัดสินใจโดยผู้น ำา เพีย งคนเดีย วหรือ Single leader เท่านั้น จำาเป็นต้องปรับ เปลี่ยนมาเป็น การกระจายภาวะผู้น ำา ให้แก่ผู้ร่วมงานใน ระดับต่างๆได้มีโอกาสเป็นผู้นำาที่ได้รับการมอบอำานาจความรับ ผิดชอบการตัดสินใจในขอบเขตงานของตนได้ด้วยตนเองมาก ขึ้น
  • 3. 4. ผู้บริหารต้องปรับกลยุทธ์การบริหารจัดการโดยยึด หลัก การให้เ กิด ความเชื่อ มโยงระหว่า งกัน เช่น ความ เชื่อมโยงการทำางานของครูแต่ละคนให้กลายเป็นทีม ความ เชื่อมโยงระหว่างทีมงานกับทีมงาน ระหว่างแผนกงานกับแผนก งาน และระหว่างโรงเรียนกับชุมชนภายนอก เป็นต้น 5. ผู้บริหารต้อ งสร้า งเครือ ข่า ยพัน ธมิต ร (strategic networks) กับ สถานศึกษาอื่น ตลอดจนกับหน่วยงานอื่นทั้ง ภาครัฐและเอกชน เพื่อประโยชน์ของความร่วมมือ การใช้ ทรัพยากรร่วม และการเพิ่มความแข็งแกร่งทางวิชาการ การ สร้างผลผลิตที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ รวมทั้งช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโรงเรียนมากยิ่งขึ้น 6. ผู้บริหารต้องให้ความสำาคัญกับผู้ม ีส ่ว นได้เ สีย กับ โรงเรีย น เช่น ผู้ป กครองและชุม ชนที่ต้องการเข้าไปมี บทบาทต่อการดำาเนินงานและการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และสมำ่าเสมอ 7. ผู้บริหารจะต้องแสดงบทบาทการเป็น ผู้น ำา ที่ส ำา คัญ ของสัง คมแห่ง ความรู้ (knowledge society) โดยต้องใช้ เทคโนโลยีก้าวหน้าชั้นสูงเป็นเครื่องมือดำาเนินการไปสู่ความ สำาเร็จดังกล่าว ตลอดจนใช้เพื่อการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ ของนักเรียนให้ได้ตามความคาดหวังของสังคม 8. ผู้บริหารต้องพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้หลากหลายและทัน สมัยเรียกว่า การเรีย นรู้แ บบไร้พ รมแดน โดย ไม่จำากัดเวลา และสถานที่ ซึ่งอาจเป็นที่บ้าน ที่ทำางาน ศูนย์การค้า รวมทั้งที่ โรงเรียนเองก็ได้ กล่าวโดยสรุปต่อไปนี้จะมีแหล่งความรู้ที่มี ขนาดใหญ่มหึมา มีข้อมูลสารสนเทศที่ทันสมัยให้เลือกได้ตามที่ ต้องการอย่างหลากหลายมากมาย และมีความน่าสนใจ ตลอด จนทุกคนสามารถเข้าถึงองค์ความรู้และสารสนเทศเหล่านั้นได้ดี กว่าการเรียน แบบเดิมในห้องเรียน ปรากฏการณ์ดังกล่าว จะ บีบบังคับให้ครูต้องพัฒนาตนเองเพื่อให้สามารถทำาหน้าที่ภาย ใต้สถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างมีประสิทธิผล
  • 4. 9. ผู้บ ริห ารต้อ งจัด ทำา หลัก สูต รสถานศึก ษาให้ สอดคล้อ งกับ สภาพความเป็น จริง ของโรงเรีย นและ ชุม ชน ทั้งสองฝ่ายต้องร่วมมือกันจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน มิ ฉะนั้นสิ่งที่เรียน/ที่ สอนอยู่ในโรงเรียนนับวันจะล้าสมัยห่างไกล จากความเป็นจริงยิ่งขึ้น จนไม่สามารถสร้างผลผลิตจากการ ศึกษาให้สอดคล้องตรงตามความต้องการของผู้ใช้ผล ผลิตของ โรงเรียนได้ หน้าที่สำาคัญของการศึกษาขั้นพื้นฐานมิอาจจำากัด เพียงแค่การให้สาระความรู้ที่ จำาเป็นแก่เรียนเท่านั้น แต่สิ่งที่ จำาเป็นและขาดไม่ได้ก็คือ การทำา ให้ผ ู้เ รีย นมีท ัก ษะชีว ิต ที่ สอดคล้องกับการดำารงชีวิตในโลกสมัยใหม่ได้อย่างชาญฉลาด และอย่างมีความสุข การรู้เ ท่า ทัน โลก การรู้จ ัก ทางเลือ ก การรู้จ ัก แก้ป ัญ หา การได้ร ับ การพัฒ นาทัก ษะและนิส ัย ใฝ่ร ู้ใ ฝ่เ รีย นอย่า งไม่ย อมจบสิ้น (life-long learner) 10. ผู้บริหารจะต้องมีกระบวนการพัฒนาบุคลากรให้เ ป็น ครูม ือ อาชีพ (professionalism) มากยิ่ง ขึ้น โดยมุ่ง เน้น ให้ค รูม ีค วามเป็น นัก จัด การการเรีย นรู้ (learning managers) ฝีมือดี ที่มีเจตคติแห่งความเป็นครูสูง มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติวิชาชีพที่ทันสมัยอยู่ใน ระดับสูง 11. ผู้บริหารต้องให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานของครูใน ทุกเรื่องและในทุกบริบท จำาเป็นอย่างยิ่งที่จ ะต้อ งร่ว มมือ ทำา กัน เป็น ทีม เสมือนคณะแพทย์ที่ทำาการผ่าตัดคนไข้ ด้วยเหตุนี้ ครูจึงต้องได้รับการพัฒนาด้านการทำางานแบบทีม รวมทั้ง พัฒนาความฉลาดรู้ทางอารมณ์ (EQ) อีกด้วย 12. ผู้บริหารจะต้อ งสร้า งและมีว ัฒ นธรรมการทำา งาน ที่ส่งเสริมให้เกิด ความร่ว มมือ ร่ว มใจ (collaborative) มากกว่าการเน้นเรื่อง การแข่ง ขัน (competitive) ในการ ดำาเนินกิจกรรมต่างๆทุกด้านของนักเรียน ครู และบุคลากรทุก ฝ่ายในโรงเรียน ตลอดจนชุมชนภายนอก เพราะความร่ว มมือ ร่ว มใจกันจะก่อให้เกิดความมีพ ลัง เพิ่ม ที่ม ากกว่า ปกติ ที่
  • 5. เรียกว่า Synergy ขึน ซึงทำาให้งานสำาเร็จได้ง่าย รวดเร็วขึ้น ้ ่ และได้ปริมาณงานออกมามากขึ้นกว่าเดิม ที่สำาคัญคือ จะช่วย เสริมสร้างบรรยากาศของการมี สามัค คีธ รรม ให้เ กิด ขึ้น ใน ที่ท ำา งาน องค์กรหรือสถานศึกษาที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของ ชุมชนและสังคม หัวใจ สำาคัญก็คือ ผู้นำาหรือผู้บริหารสถาน ศึกษาที่จะเป็นตัวจักรสำาคัญในการบริหารจัดการเกิดการ ขับ เคลื่อน ซึงประกอบไปด้วย คน งบประมาณและการจัด การ ่ ให้เ กิด ประสิท ธิภ าพสูง สุด ผู้น ำา หรือ ผู้บ ริห ารสถาน ศึก ษา จึงเป็นผู้มีบทบาทสำาคัญที่จะชี้เป็นชี้ตายต่อ องค์กรเพื่อ ตอบสนอง นโยบาย หลักสูตร และความคาดหวังของสังคมได้ ตามความคาดหวังหรือไม่ ยังเป็นคำาถามดังก้องมาหลาย ทศวรรษ และยังต้องตามหาคำาตอบกันต่อไป ดังคำากล่าวที่ว่า “ การปลูกพืชจะเจริญงอกงามต้องเห็นเงาของผู้ปลูกฉันใด โรงเรียนจะมีคุณภาพต้องเห็นเงาผู้บริหารฉันนั้น”