SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
วีณา  ประชากูล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain based Learning: BBL)
คุณคิดอะไร ??
ความรู้เรื่องสมอง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แนวโน้มในการจัดการศึกษา   (Emerging Tread in Education) จิตวิทยาพัฒนาการ  (1950s) ความรู้เรื่องสมอง  (Neuroscience 1990s) การศึกษา ปี  2000 s (2000s)
สมองกับการเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object]
สมองกับการเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object]
สมองกับการเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การจัดระเบียบใยประสาท สมองส่วนที่มี  การจัดระเบียบ  ใยประสาทจะเพิ่มการเชื่อมต่อใหม่ ๆ  ขึ้นจำนวนมาก
การจัดระเบียบใยประสาท ในช่วงนี้  ใยประสาทที่ ไม่ได้ใช้จะหายไป  ใยประสาทที่  ใช้บ่อย ๆ  จะหนาตัวขึ้น
แรกเกิด 3  ปี 14  ปี ตัวอย่าง : การจัดระเบียบใยประสาท  บริเวณที่เกี่ยวข้องกับภาษา
อุปสรรคการเรียนรู้ ไม่ได้เรียนรู้ เรียนรู้ผิด ( ใยประสาทและ จุดเชื่อมโยงหายไป ) ( ใยประสาทของวงจร  การเรียนรู้ผิดหนาตัวขึ้น )
ประสบการณ์ สมองเรียนรู้อย่างไร การเชื่อมโยง   (connection) วงจร   (pathway) แบบแผน   (pattern)
    วัยทารก 0   -   2  ปี ปฐมวัย 3   -   5  ปี วัยเรียน 6   -   12  ปี วัยรุ่น   /  เยาวชน 13-20/25  ปี   ปัญญาภายนอก ( ความรู้ความสามารถ ) การใช้กล้ามเนื้อใหญ่   ประสาทรับรู้พื้นฐาน การใช้กล้ามเนื้อเล็ก   ภาษา จินตนาการ คณิตศาสตร์ การใช้เหตุผล   ดนตรีและศิลปะ ทักษะวิชาการ , วิชาชีพ , สังคม   ปัญญาภายใน ( คุณลักษณะ ) ความผูกพันและ   ไว้วางใจ   การควบคุมอารมณ์ การรู้ถูกผิด ประหยัด มีวินัย ใฝ่รู้ อัตลักษณ์ทางเพศ อัตลักษณ์ทางสังคม
การควบคุมอารมณ์  การรู้ถูกผิด ปัญญาภายใน ( คุณลักษณะ ) ดี การใช้กล้ามเนื้อเล็ก  ภาษาจินตนาการ ปัญญาภายนอก  ( ความรู้ความสามารถ ) เก่ง ปฐมวัย 3-5  ปี
ประหยัด มีวินัย ใฝ่รู้ ปัญญาภายใน ( คุณลักษณะ ) ดี คณิตศาสตร์การใช้เหตุผล ดนตรีและศิลปะ ปัญญาภายนอก  ( ความรู้ความสามารถ ) เก่ง วัยเรียน 6 - 12  ปี
อัตลักษณ์ทางเพศ อัตลักษณ์ทางสังคม ปัญญาภายใน ( คุณลักษณะ ) ดี ทักษะวิชาการ ,  วิชาชีพ ,  สังคม ปัญญาภายนอก  ( ความรู้ความสามารถ ) เก่ง วัยรุ่น   /  เยาวชน  13   –   20/25   ปี
ออกกำลังกาย ยีนส์ ความรัก ดนตรีและศิลปะ สิ่งที่ท้าทายจาก กิจกรรม , สิ่งแวดล้อม อาหาร ปัจจัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้
เพื่อน สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย การฝึกวินัยที่ไม่เหมาะสม และทำให้อับอาย ความผิดปกติ ของการเรียนรู้ การทำร้าย ปัจจัยที่ยับยั้งการเรียนรู้
TV กับการเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สิ่งที่โรงเรียนและครอบครัวควรปรับปรุง ,[object Object],[object Object]
ได้ฟัง  +  ได้เห็น ,  สัมผัส ฯลฯ ตัวอย่าง ออกเสียง เข้าใจและพูดคำว่า  “ ช้อน ”  ได้
การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นถูกเก็บไว้ในสมองในลักษณะใด ? เทป   VDO เครือข่ายการเชื่อมโยง
ทำไมสมองเรียนรู้ได้โดยแทบไม่มีขีดจำกัด ABC   เชื่อมโยงได้  3  x 2 x 1 = 6  แบบ  ABCD   เชื่อมโยงได้  4  x  3  x 2 x 1 = 24  แบบ  ( อักษร  10   ตัว   )  สมองเรามี เซลล์ประสาท  1  แสนล้านเซลล์ แต่ละเซลล์สามารถสร้าง การเชื่อมโดยได้ถึง  3  หมื่นจุด จะเกิดการเชื่อมโยงได้กี่แบบ  ! A  J   เชื่อมโยงได้  10  x  9  x  8 …x 1 = 3 ,628,800   แบบ
เครือข่ายการเชื่อมโยง อาศัยทั้งสมองทำงานร่วมกัน -  หลาย ๆ การรับรู้  ( เห็น ,  ฟัง ,  สัมผัส ,  ได้กลิ่น ,  รับรส ) -  สมองทั้ง  2  ซีก  ( ซ้าย ,  ขวา )
ความเครียด ,  ความกดดัน ,  น่าเบื่อ ผลของอารมณ์ด้านลบ ต่อการเรียนรู้ สมองหลั่งสารสื่อประสาท   Nor epinephrine ยับยั้งการเรียนรู้
ความสุข ,  สนุก ,  ภูมิใจ ,  มั่นใจ ผลของอารมณ์ด้านบวก ต่อการเรียนรู้ สมองหลั่งสารต่อประสาท   Dopamine,Serotonine ส่งเสริมการเรียนรู้
การบริหารสมองเป็นการเคลื่อนไหวร่างกาย  เพื่อช่วยกระตุ้นพลังสมองและร่างกายให้ทำงานประสานกันอย่างมีประสิทธิภาพ  และช่วยให้เกิดสมดุล  โดยการเคลื่อนไหวสลับข้างหรือไขว้แขนขา  การยืดร่างกาย  กายบริหารและการนวดเพื่อเพิ่มพลัง
สมองกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ความฉลาดไม่ได้เกิดจากขนาดแต่เกิดจากการเชื่อมโยง
สมองเรียนรู้ ด้วยการรู้ และ สร้างแบบแผน ,[object Object],[object Object],[object Object],แบบแผนจะเพิ่มพูนขึ้นเรื่อย ๆ จากง่ายสู่ยาก
คำ  ( ง่าย  ยาก ) ลำดับความง่าย ยาก ของการเรียนรู้ภาษา ประโยค  ( เดี่ยว  ซับซ้อน ) ข้อความ  ( สั้น  ยาว )
ประสบการณ์ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ เปรียบเทียบ ,  จำแนก เข้าใจ แก้ไขปัญหา  ( โจทย์ )
จำนวน  ( น้อย  มาก ) ลำดับความยาก ง่าาย ของการเรียนรู้คณิตศาสตร์ บวก  ( จำนวน  เศษส่วน  ทศนิยม ) ลบ  ( จำนวน  เศษส่วน  ทศนิยม ) คูณ  ( จำนวน  เศษส่วน  ทศนิยม ) หาร  ( จำนวน  เศษส่วน  ทศนิยม )
ประสบการณ์ การเรียนรู้คุณธรรม ได้รับรางวัล ,  ถูกลงโทษ ยอมรับ ตามผู้ใหญ่ นำเข้าไว้ในตนเอง
งานที่   1  การเรียนรู้ของเด็ก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
งานที่  2  แสดงบทบาทสมมุติ การจัดการชั้นเรียนที่มีปัญหาในเชิงบวก กรณีที่  1  “ ห้องเรียนอนุบาลปีที่  2  เด็กไม่มีระเบียบวินัย เอะอะ   โวยวายและเล่นของเล่นแล้วไม่เก็บ ” กรณีที่  2  “ ห้องเรียนชั้นมัธยมปีที่  4   ครูจัดกิจกรรมและ    มอบหมายงานให้เด็กทำแต่เด็กทำไม่ได้ตามที่ครู   คาดหวัง ” กรณีที่  3  “ ห้องเรียนชั้นประถมปีที่  2   มีเด็กเล่นกันรุนแรง ใช้บล็อกตีศีรษะกัน เล่นชกต่อยและผลักกัน ” กรณีที่  4  “ ห้องเรียนวิชาสังคมชั้นมัธยมปีที่  2  มีเด็กพูดจาไม่   สุภาพ ใช้วาจาหยาบคายกับเพื่อนร่วมชั้น ”
-  สายตา ภาษา ท่าทาง -  สีหน้า -  น้ำเสียง -  สัมผัส -  ภาษากาย
-  ชมการกระทำที่จำเพาะ คำพูด -  ถามให้คิด -  สะท้อนความรู้สึก -  แนะนำ ,  เสนอทางเลือก
S  = State   สุขภาวะ ทั้งกายและใจ สอนให้ สมาร์ท  สมองได้ฉลาด M = Meaning   ทำให้การเรียนรู้มีความหมายจาก ประสบการณ์รอบตัว A  = Attention   รักษาสมาธิ และความจดจ่อในการเรียนรู้ R  = Retention   ทำให้จำได้ โดยกิจกรรมที่หลากหลาย T  = Transfer   ส่งเสริมให้นำไปใช้
  ถามตนเอง เพื่อก้าวสู่การเป็นครูมืออาชีพ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
จินตนาการสำคัญกว่าความรู้ Imagination is more Important than knowledge อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์Habsoh Noitabtim
 
เพียเจต์
เพียเจต์เพียเจต์
เพียเจต์fateemeenorm
 
บรูเนอร์
บรูเนอร์บรูเนอร์
บรูเนอร์ping1393
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 

What's hot (6)

ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
 
เพียเจต์
เพียเจต์เพียเจต์
เพียเจต์
 
บรูเนอร์
บรูเนอร์บรูเนอร์
บรูเนอร์
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 

Similar to Bblรวม

02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการaaesahasmat
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.PdfAwantee
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงLove Oil
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12Orange Wongwaiwit
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 

Similar to Bblรวม (20)

Brains power point
Brains power pointBrains power point
Brains power point
 
Brains
BrainsBrains
Brains
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.Pdf
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
 
หลักสูตรปฐมวัย
หลักสูตรปฐมวัยหลักสูตรปฐมวัย
หลักสูตรปฐมวัย
 
3
33
3
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 

Bblรวม