SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  50
Télécharger pour lire hors ligne
1
ค�ำน�ำ
	            มหกรรมการจัดการความรู้ของเครือข่ายบริการสุขภาพอ�ำเภอหนองพอก   จังหวัดร้อยเอ็ด  
ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 4 เป็นปีที่มีการน�ำประสบการณ์ทั้ง 3 ปีที่ผ่านมาเป็นบทเรียนในการจัดการความรู้ใน           
ครังนี้ เห็นได้ชดตังแต่การบริหารเชิงระบบในแผนกลยุทธ์ของเครือข่าย  การพัฒนาบุคลากร  การพัฒนา
   ้             ั ้
งานที่มาจากงานประจ�ำ  การแก้ปัญหาในพื้นที่ให้ส�ำเร็จ การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน การติดตามงาน
ของผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง   น�ำมาสู่การจัดการความรู้ที่มีคุณภาพอย่างยิ่ง   ดังเนื้อหารายละเอียดใน          
รูปเล่มนี้
	            นอกจากการปรับเปลี่ยนดังกล่าวข้างต้น  ซึ่งเป็นกระบวนการให้ได้เนื้อหา  ได้ข้อมูลมาท�ำ
เป็นวิจัย R2R CQI เรื่องเล่า ต่างๆ มากมายแล้ว  ทีมงานยังมีการปรับเปลี่ยนการจัดท�ำรูปเล่มให้น่าอ่าน
มากยิ่งขึ้น  โดยการใช้ภาพกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยทั้งในสถานบริการ ในชุมชน ในบ้านขณะที่บุคลากร
ลงเยี่ยมผู้ป่วยในพื้นที   การท�ำกิจกรรมส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูครบถ้วนและเป็นองค์รวม   การ
                         ่
ท�ำงานของบุคลากรฝ่ายสนับสนุนที่เอื้อให้มีการดูแลผู้ป่วยอย่างปลอดภัย และมีเรื่องเล่าของทีมน�ำงาน
คุณภาพหลายทีมน�ำที่อยากจะถ่ายทอดความรู้สึก บรรยากาศ ล�ำดับการท�ำงานอย่างไรถึงท�ำให้                 
โรงพยาบาลหนองพอกผ่าน HA ในวันที่ 16 กรกฎาคม 2555 ที่ผ่านมา   รวมถึงความภาคภูมิใจ
ประสบการณ์ต่างๆ ที่มีคุณค่าอย่างมากมายมาเป็นก�ำลังใจให้กับทุกๆ ท่าน
	            การท�ำวิจัยซึ่งส่วนมากจะเป็นผลงานของนักวิชาการสาธารณสุข ที่โรงพยาบาลส่งเสริม   
สุขภาพต�ำบล เป็นผลงานที่เยี่ยมยอดเป็นการแก้ปัญหาที่เป็นประเด็นปัญหาของพื้นที่จริงๆ ผลงาน      
บางชินใช้กระบวนการและความพยายามของทีมงานในพืนทีเ่ พือจัดการปัญหาให้เบาบางลง  กระบวนการ
      ้                                                  ้ ่
วิจัยบางเรื่องต้องปรับแนวคิดปรับกระบวนยุทธ์เพื่อให้เกิดความรู้เกิดทักษะแบบใหม่   ส�ำหรับ CQI         
ในปีนทมงานมีความภาคภูมใจน�ำเสนออย่างยิงเนืองจากเห็นพัฒนาการของการส่งเรืองว่าในปีแรกๆ ท�ำ 
        ี้ ี                     ิ             ่ ่                                   ่
CQI เป็นบ้างไม่เป็นบ้าง ถูกบ้างไม่ถกบ้าง ครบวงล้อบ้างไม่ครบบ้าง  ต่อมาทีมการท�ำทีครบ 3 P (Purpose
                                       ู                                  ่ี       ่
process performance) คือเป้าหมายชัด กระบวนการชัดและผลลัพธ์ชัด ปี่ต่อมามีการพัฒนาคุณภาพ
ทุกหน่วยงานทุกทีมน�ำ  ส�ำหรับปีนี้เป็นที่น่าชื่นชมคือหน่วยงานส่งผลงานหลายเรื่องและมีแต่เรื่องที่มี      
การด�ำเนินงานที่มีกระบวนการชัดเจน สัมผัสได้ ผลลัพธ์เป็นเลิศอย่างแท้จริง

2
ล�ำพังการน�ำเสนอการจัดการความรู้เพียงอย่างเดียว   คงไม่เกิดประสิทธิภาพสูงสุดถ้าไม่ได้       
ผู้วิพากษ์ผู้ทรงความรู้ ซึ่งในปีนี้มีผู้วิพากษ์ 2 ทีม คือ ทีมวิจัย ประกอบด้วย ดร.นงนภัส คู่วรัญญู                
เที่ยงกมล  อาจารย์ศักดิ์ศรี   สืบสิงห์   และอาจารย์สุพะยนต์ ชมภูธวัช  ส�ำหรับทีม CQI ประกอบด้วย
อาจารย์ น.พ.ประกาศ เจริญราษฎร์ อาจารย์กาญจนา บุตรชน และอาจารย์จันทร์เพ็ญ ชินค�ำ ทั้ง 6 ท่าน
เป็นผู้เชี่ยวชาญงานวิจัยและการพัฒนาคุณภาพ นอกจากนั้นท่านยังมีประสบการณ์และมีศิลปะ                
ในการถ่ายทอดความรู้สู่ผู้ฟังได้อย่างมีประสิทธิภาพ
         การจัดมหกรรมการจัดการความรู้ในครั้งนี้  เครือข่ายบริการสุขภาพอ�ำเภอหนองพอก  หวังเป็น
อย่างยิ่งว่าจะเกิดขวัญก�ำลังใจของบุคลากรในการที่ตนเป็นแบบอย่างที่ดีส�ำหรับการพัฒนาคุณภาพ        
ในงาน และเป็นการเสริมพลังให้กับบุคลากรอื่นๆ ในการท�ำงานเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชนใน
พื้นที่


	         	 	                                                ทีมงาน KM ครั้งที่ 4
        	 	 	                                               27-31 สิงหาคม 2555




                                                                                                             3
สารบัญ



สารจากผู้บริหาร   6   ผู้วิพากษ์   10



                      พอสว.   18
KM   16
4
เครือข่ายสุขภาพ
อ�ำเภอหนองพอก
                  20   กิจกรรม...โรงพยาบาล   24



CQI เล่าเรื่อง   38
                             วิจัย R2R   86
                                              5
สาร
สาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด

	          ขอชื่นชมทีมงานหนองพอกที่ได้จัดให้มีเวทีจัดการ
ความรู้ ครั้งที่ 4 การจัดงานในลักษณะนี้ต้องใช้ความสามารถ
ในการบริหารจัดการทีมงานอย่างละเอียดถี่ถ้วน การจัดการ นายแพทย์สุระ วิเศษศักดิ์
ความรู้ถือเป็นความท้าทายอย่างหนึ่งในการพัฒนาวิชาการ                 สาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
งานสาธารณสุข เนืองจากปัจจัย องค์ประกอบ และกระบวนการ
                    ่
ดำ�เนินงานมีความหลากหลาย และซับซ้อน ถ้าหากขาดการ
วางแผนในการเตรียมงานที่ดีแล้ว ก็จะไม่สามารถดำ�เนินการ
ให้สำ�เร็จลุล่วงลงไปได้ การที่ทีมงานหนองพอกได้จัดให้มี                
เวทีจัดการความรู้ ครั้งที่ 4 ขึ้นได้ในวันนี้ ก็ต้องขอชื่นชมทีม
บริหาร และคณะทำ�งาน ตลอดถึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านไว้
ณ ที่นี้
	          ท้ายที่สุด ก็ขอให้การดำ�เนินงานบรรลุวัตถุประสงค์
ในทุกด้าน และเป็นกำ�ลังใจให้กับทีมงานหนองพอกทุกคน        
เพื่อพัฒนางานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ให้มีความเจริญ
ก้าวหน้า และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนชาวจังหวัด
ร้อยเอ็ด ต่อไป




6
สาร
                                                       นายอำ�เภอหนองพอก

                    	         ภายใต้ ส ภาวการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว ในยุ ค         
                    โลกาภิวัตน์   องค์กรต่างๆ จะประสบความสำ�เร็จในการบริหารได้  
                    นอกจากจะมีปัจจัยต่างๆ อันได้แก่ คน เงิน เครื่องมือและการจัดการ
นายสมชาย สิงห์กุล   แล้ว  องค์ความรู้ก็มีส่วนจำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะทำ�ให้การบริหารจัดการ
นายอำ�เภอหนองพอก    มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์
                    	         ดังนั้นการจัดการความรู้ (Knowledge Management :
                    KM) จึงเปรียบเสมือนเครื่องมือที่มีความสำ�คัญต่อผู้บริหารองค์กร
                    อีกประการหนึ่ง   เพราะจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้อย่าง
                    รวดเร็วยิงขึน  มีความชัดเจนตรงตามเป้าหมายและบรรลุวตถุประสงค์
                             ่ ้                                                    ั
                    	         ผมขอแสดงความยินดีกบเครือข่ายบริการสุขภาพหนองพอก  
                                                          ั
                    ที่ประกอบด้วย โรงพยาบาลหนองพอก สำ�นักงานสาธารณสุขอำ�เภอ
                    หนองพอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลทุกแห่งและบุคลากร
                    ด้านสาธารณสุขทุกคน  ที่จะมีเครื่องมือทางการบริหารที่มีประโยชน์
                    และช่ ว ยให้ ผู้ บ ริ ห ารองค์ ก รสามารถตั ด สิ น ใจได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว มี
                    ประสิทธิภาพและประสิทธิผล  ซึงจะส่งผลให้เครือข่ายบริการสุขภาพ
                                                        ่
                    อำ�เภอหนองพอก  ประสบความสำ�เร็จในการบริหารจัดการได้อย่างดี
                    ตลอดไป




                                                                                               7
สาร
ประธานเครือข่ายบริการสุขภาพหนองพอก

        งานมหกรรมการจัดการความรู้   หน่วยบริการสุขภาพอำ�เภอ
หนองพอกได้ดำ�เนินงานมาเป็นปีที่ 4 แล้ว นับว่าเป็นการดำ�เนินงาน
ทีมความต่อเนือง มาโดยตลอด  ถือได้วาเป็นวัฒนธรรมการเรียนรูของ
  ่ี          ่                        ่                        ้
องค์กรอย่างแท้จริง  เป็นความภาคภูมิใจ ขององค์กรและเครือข่ายที่          นายสุพัชร์ศักย์ พันธุ์ศิลา
เราได้ทำ�  และทำ�ได้ในสิ่งที่เป็นความงดงามทั้งปวง ได้เห็นพัฒนาการ        ประธานเครือข่ายบริการ
ของการจัดงาน การจัดรูปแบบของงาน จนกระทั่งการจัดรูปเล่มของ                  สุขภาพหนองพอก
หนังสือ  มีทกสิงทุกอย่างให้เราได้เรียนรู้ ขึนกับว่าเราจะนำ�ไปประยุกต์
            ุ ่                             ้
ใช้ในการทำ�งานจริงอย่างไร
	       ขอขอบคุณผูปฏิบตงานในพืนที่ ผูด�เนินงานทุกท่านทีทำ�งาน
                     ้ ัิ            ้ ้ำ                     ่
ด้วยความเหน็ดเหนื่อย  แต่แฝงด้วยความอิ่มเอิบใจที่ได้ทำ�งานอย่าง      
มีคุณภาพดั่งที่ประจักษ์แก่สายตาของทุกท่านแล้ว   ขอให้รักษา         
ความดีและมาตรฐานนี้ไว้ตลอดไป




8
สาร
                                              สาธารณสุขอำ�เภอหนองพอก

                         	         เครื อ ข่ า ยบริ ก ารสุ ข ภาพ (CUP)อำ � เภอหนองพอก ได้
                         สนับสนุนและส่งเสริมให้บุคลากร พัฒนา CQI นวัตกรรม งานวิจัย
                         R2R R&D  ให้พัฒนาขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมมาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่
   นายสมพร โมครัตน์      ปี 2552 เป็นต้นมา เพือให้เกิดการนำ�สารสนเทศไปประกอบการแก้ไข
                                                 ่
สาธารณสุขอำ�เภอหนองพอก   ปัญหาด้านสุขภาพในพืนที่ โดยการสนับสนุนงบประมาณ  ให้บคลากร
                                                   ้                                  ุ
                         สาธารณสุขในสังกัด ซึ่งในปีงบประมาณ 2555 นี้ เป็นการสนับสนุน
                         ให้นำ�คำ�ตอบของการวิจัยลงสู่การปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ
                         ในพื้นที่จริง   และเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
                         ตามแนวคิดของการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ที่
                         ดีมีคุณภาพ จะทำ�ให้บุคลากร และหน่วยงานต่างๆ สามารถนำ�ข้อมูล
                         สารสนเทศไปใช้ในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม
                         	         จากการจัดมหกรรมการจัดการความรู้ของเครือข่ายบริการ
                         สุขภาพอำ�เภอหนองพอก   3 ครั้งที่ผ่านมา ได้ส่งผลให้รูปแบบการ
                         ทำ�งานของเรา มุ่งสู่ความมีมาตรฐาน และมีคุณภาพทางด้านวิชาการ
                         โดยมีการเน้นหนักในรูปแบบการพัฒนางานโดยใช้รูปแบบของงาน
                         วิจัย R2R และ R&D ตามลำ�ดับ เพื่อให้บุคลากรได้มีการใช้เครื่องใน
                         การวิจัยมาแก้ไขปัญหา ตลอดทั้งคณะผู้บริหารฯ เห็นความสำ�คัญ
                         โดยได้สนับสนุนงบประมาณ ให้มีเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางด้าน
                         วิชาการ ตลอดจนส่งผลงานทางวิชาการสู่เวทีวิชาการระดับสูงขึ้น
                         ไป ในครั้งนี้ ข้าพเจ้าขอชื่นชมคณะทำ�งาน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข                
                         ทุกท่านที่ผลักดัน ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ครั้งนี้ และหวังว่าท่าน
                         จะยังคงมุ่งมั่นสู่การพัฒนางานด้านคุณภาพเพื่อให้ เครือข่ายบริการ
                         สุขภาพอำ�เภอหนองพอก“เป็นองค์กรสร้างสุขภาพส่งเสริมการมีสวน      ่
                         ร่วมของภาคีเครือข่ายมีคุณภาพมาตรฐานด้วยวิถีแห่งความพอเพียง
                         ภายในปี 2556” ต่อไป



                                                                                                      9
ผู้วิพากษ์งานวิจัย
ดร. นงนภัส คู่วรัญญู เที่ยงกมล

ประวัติการศึกษา
    2551 	ดุษฎีบัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมคธ (ปริญญาเอก)
    2547	 ดุษฎีบัณฑิต สาขาสิ่งแวดล้อมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (ปริญญาเอก)
    2542	 มหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดล้อมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล  (ปริญญาโท)
    2531	 นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง (ปริญญาตรี)
    2519	 มหาบัณฑิต วิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล  (ปริญญาโท)
    2517	 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล  (ปริญญาตรี)

ต�ำแหน่งในปัจจุบัน
	     1.	 อาจารย์ประจ�ำมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ระดับบัณฑิตศึกษา คณะสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรศาสตร์
	     2.	 อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยมหิดล ระดับบัณฑิตศึกษา คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร
ศาสตร์
	     3.	 อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยบูรพา ระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
	     4.	 อาจารย์พเศษมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศิลปะศาสตร์ สาขาสตรี
                     ิ
ศึกษา
	     5.	 อาจารย์รับเชิญมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
	     6.	 ทีปรึกษาบริษทวิจยทัวไป และวิจยการตลาดและบริษทข้อมูล คือ บจก. เซทพีส บจก.เพน
             ่          ั ั ่                 ั                 ั
ตากอนเน็ตเวิร์ค มาร์เก็ตติ้ง เร็กตริกซ์ (มาร์เร็กซ์) และ บจก.มาร์เก็ตติ้ง เมทริก
	     7.	 กรรมการจัดตั้ง “ศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภาคบริการ”
	     8.	 ผู้อ�ำนวยการสถาบันปัญญาญาณ
	     9.	 ผู้เชี่ยวชาญตรวจงานวิจัยของวารสารสมาคมนักวิจัยแห่งประเทศไทย
	 10.	 อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ระดับบัณฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกิจและ              
คณะนิติศาสตร์

หนังสือที่ตีพิมพ์
	      1.	 สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา พ.ศ. 2548 (Environment and Development)
	      2.	 การบริหารยุคโลกาภิวัตน์  พ.ศ.2550 (Globalization Administration)
	      3.	 การวิจัยเชิงบูรณาการแบบองค์รวม พ.ศ. 2551 (Holistically integrative research)


10
ผู้วิพากษ์งานวิจัย
                                                          อาจารย์ ศักดิ์ศรี สืบสิงห์

                 	 ประวัติการศึกษา
               	      ปริญญาโท	     วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต    วท.ม (วิทยาศาสตร์ทั่วไป)   
	            	 	      	    	        สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
	            	 	      ปริญญาตรี	    ครุศาสตรบัณฑิต  	    ค.บ.  (วิทยาศาสตร์ทั่วไป)
	            	 	      	    	        สถาบันราชภัฏธนบุรี
	

ตำ�แหน่งปัจจุบัน
	        อาจารย์ประจำ�สาขาวิชาวิทยาศาสตร์  วิทยาลัยการศึกษา  มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
	        ที่อยู่/หน่วยงานสังกัด    มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด   ตำ�บลเกาะแก้ว   อำ�เภอเสลภูมิ            
จังหวัดร้อยเอ็ด  โทรศัพท์  043-544738-43  โทรสาร  043-544744
	
ประสบการณ์ด้านการวิจัย
	       2546   ความตระหนักเกี่ยวกับผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่   6  ในเขตสาทร  กรุงเทพมหานคร  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า      
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
	       2550	 สถานภาพการมีงานท�ำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด   ประจ�ำปีการศึกษา
2548  -  2549
	       2550	 ความพึงพอใจในการให้บริการของเทศบาลต�ำบลแวง  อ�ำเภอโพนทอง  จังหวัดร้อยเอ็ด
	       2551	 ความตระหนักเกี่ยวกับผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
	       2552	 การพัฒนาชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ส�ำหรับครูวิทยาศาสตร์  ระดับ
ประถมศึกษา  ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด  เขต  3
	       2552 การพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนส�ำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก  ในเขตองค์การบริหาร
ส่วนต�ำบลเกาะแก้ว  อ�ำเภอเสลภูมิ  จังหวัดร้อยเอ็ด
	       2553	 การศึกษาโครงการขับเคลือนการระดมความคิดแบบมีสวนร่วมเพือลดความเหลือมล�ำ
                                      ่                             ่ ่             ่ ้
ทางสังคมในพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นและจังหวัด ในเขตพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด
	       2554	 กระบวนการจัดการและการอนุรักษ์แม่น�้ำชี   ของประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่บริเวณ      
ลุ่มแม่น�้ำชี  ในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด
	       2554	 การศึกษาพฤติกรรมการใช้และการอนุรักษ์น�้ำของประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่บริเวณ
แม่น�้ำชี  ในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด

                                                                                                    11
ผู้วิพากษ์งานวิจัย
อาจารย์ สุพะยนต์ ชมภูธวัช

ประวัติการศึกษา

	         ปริญญาโท
	         Master  of  Public  Health ( M.P.H ) ( Health  System  Development )   
	         จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย  21  มี.ค. 2545

	         ปริญญาตรี
	         -  	 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ( สาธารณสุขศาสตร์ ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช         
2  พ.ย.  2541
	         -  	 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ( บริหารสาธารณสุขแขนงวิชาการบริหารโรงพยาบาล )
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  4  ก.พ.  2534

	
ต�ำแหน่งปัจจุบัน
	         นักวิชาการสาธารณสุข  ช�ำนาญการ   
	         ที่อยู่/หน่วยงานสังกัด
	         โรงพยาบาลหนองพอก  อ�ำเภอหนองพอก  จังหวัดร้อยเอ็ด   
	
	




12
ผู้วิพากษ์งาน CQI
                       อาจารย์ นายแพทย์ประกาศ เจริญราษฎร์

          	 ชื่อ  	         นายประกาศ  เจริญราษฎร์
          	 ตำ�แหน่ง	       นายแพทย์กุมารเวชกรรมชำ�นาญการพิเศษ
	     	 	   ปัจจุบัน	       ตำ�แหน่งนายแพทย์กุมารเวชกรรมชำ�นาญการพิเศษ  
	     	 	   	               องค์กรแพทย์โรงพยาบาลโพนทอง  อำ�เภอโพนทอง  จังหวัดร้อยเอ็ด
ประวัติการศึกษา
	   -	 ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2538
	   -	 วุฒิบัตรแพทย์เฉพาะทางสาขากุมารเวชศาสตร์  ภาควิชากุมารเวชศาสตร์  
	   	 จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย  ปี 2546
ความสามารถและประสบการณ์
	   -	 เป็นอาจารย์พี่เลี้ยงนักศึกษาแพทย์
	   -	 เป็นอาจารย์พิเศษสอนหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษา
       เบื้องต้น) วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม
	   -	 เป็นอาจารย์พี่เลี้ยงการพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษาโรคเบื้องต้น)
       คณะพยาบาลศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่นและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	   -	 เป็นวิทยากรระบาดวิทยาในงานอนามัยแม่และเด็ก สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
	   -	 เป็นวิทยากรพัฒนาศักยภาพสาธารณสุขงานอนามัยแม่และเด็กตามโครงการสายใยรักแห่ง
       ครอบครัว
	   -	 เป็นวิทยากรฟื้นฟูอาสาสมัครประจำ�ปี
	   -	 เป็นคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลโพนทอง
	   -	 เป็นประธานคณะกรรมการองค์กรแพทย์ โรงพยาบาลโพนทอง
	   -	 เป็นประธานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
	   -	 เป็นประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบดูแลและรักษาผู้ป่วย (PCT)
	   -	 เป็นประธานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
	   -	 เป็นประธานคณะกรรมการระบบยา
	   -	 เป็นประธานคณะกรรมการพัฒนาสิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่และความปลอดภัย (ENV)
	   -	 เป็นประธานคณะกรรมการเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลางด้วยสันติวิธีในระบบการแพทย์และ
       สาธารณสุขของโรงพยาบาลโพนทอง

ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจ
	   -	 ได้รับรางวัลโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง

                                                                                    13
ผู้วิพากษ์งาน CQI
อาจารย์ กาญจนา บุตรชน

			                   นางสาวกาญจนา บุตรชน
	      	 	           พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการพิเศษ
	      	 	      หัวหน้ากลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลธวัชบุรี

วุฒิการศึกษา
	       1. 	 ป.พยาบาลศาสตร์และผดุงครรภ์ชนสูง จากสถาบัน วิทยาลัยพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
                                         ั้
พ.ศ.2527
	       2.	 พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการพยาบาล   จากสถาบันจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย พ.ศ.2536
	       3. 	 หลักสูตรการเรียนรูกฎหมายมหาชนด้วยตนเอง  จากส�ำนักงานพัฒนาข้าราชการพลเรือน
                               ้
ส�ำนักงาน กพ.  เดือนกรกฎาคม 2548
	       4.	 หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง พ.ศ.2553

ผลงานที่ส�ำคัญที่ได้เคยปฏิบัติ
	 1.	 คณะท�ำงานทีมทีปรึกษาระดับต้นตามโครงการพัฒนาความเข้มแข็งและยกระดับการพัฒนา
                       ่
คุณภาพด้วยเครือข่าย (QRT) ปี 2554 จังหวัดร้อยเอ็ด
	 2.	 คณะกรรมการเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการพยาบาลจังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2555
	 3.	 คณะกรรมการประเมินมาตรฐานการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2555

ผลงานวิจัย
1. เชิงปริมาณ
	 1.1 	 ศึกษาสภาพปัจจุบันและความคาดหวังของประชาชนจังหวัดร้อยเอ็ดต่อการบริการ
พยาบาลในโครงการบัตรสุขภาพ พ.ศ.2536
	 1.2	 ศึกษาความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกต่อการบริการของโรงพยาบาลธวัชบุรี พ.ศ.2539
2. เชิงคุณภาพ
	 2.1 	 วิถีชีวิตผู้เป็นเบาหวานอ�ำเภอธวัชบุรี พ.ศ.2548
	 2.2 	 ความต้องการบริการพยาบาลของผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว พ.ศ.2551
	 2.3 	 การพัฒนาศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) ในหมู่บ้านต้นแบบ อ�ำเภอธวัชบุรี    
พ.ศ.2553


14
ผู้วิพากษ์งาน CQI
                                                    อาจารย์ จันทร์เพ็ญ ชินคำ�

                 	                     นางสาวจันทร์เพ็ญ ชินค�ำ
                 	                     พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ
	                       หัวหน้างานห้องคลอด  กลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลโพนทอง  
	                                    อ�ำเภอโพนทอง  จังหวัดร้อยเอ็ด
ประวัติการศึกษา
    -	 ประกาศนียบัตรวิชาการพยาบาลและผดุงครรภ์   ที่วิทยาลัยพยาบาลบรมราชธานีชลบุรี จ.ชลบุรี     
       ปี 2528
    -	 วิชาพยาบาลศาสตร์และผดุงครรภ์ขั้นสูงที่วิทยาลัยพยาบาลบรมราชธานีสรรพสิทธิประสงค์
       จ.อุบลราชธานี  ปี 2535
    -	 ได้รับอนุมัติบัตรสาขาเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษาโรคเบื้องต้น) ปี 2548
    -	 ปั จ จุ บั น ก�ำลั ง ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโท สาขาการบริ ห ารการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์  
       มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ความสามารถและประสบการณ์
    -	 ผ่านการอบรมด้านการสอนส�ำหรับพยาบาลพี่เลี้ยง ปี 2550
    -	 ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการการให้การปรึกษาเรื่องเอดส์หลักสูตรการให้การปรึกษาขั้นสูง ปี 2551
    -	 ผ่านการพัฒนาศักยภาพผู้บริหารทางการพยาบาลตามรูปแบบระบบบริหารบริการที่พึงประสงค์       
       ปี 2552
    -	 ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การพยาบาลด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อเบื้องต้นใน
       สถานบริหารสาธารณสุข” ปี 2553
    -	 เป็นคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล
    -	 เป็นเจ้าหน้าที่พัสดุฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลโพนทอง
    -	 เป็นเลขานุการงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลโพนทอง
    -	 เป็นพยาบาลพี่เลี้ยงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล
    -	 เป็นคณะกรรมการทีมตรวจประเมินคุณภาพระดับ CUP BOARD
    -	 เป็นคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพทางการพยาบาล(QA) ระดับเครือข่าย
    -	 เป็นวิทยากรพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขงานอนามัยแม่และเด็กโครงการสายใยรักแห่ง
       ครอบครัวของส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
    -	 เป็นวิทยากรการพัฒนาคุณภาพระดับปฐมภูมิ
ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจ
    -	 ได้รับคัดเลือกเป็นทีมศูนย์สุขภาพชุมชนดีเด่น ประจ�ำปี 2545 ระดับเขต
    -	 ได้รับรางวัลโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง


                                                                                            15
เล่าอดีต                         มหกรรมการจัดการความรู้
ครั้งที่ 1 วันที่ 24 - 28 สิงหาคม 2552




ครั้งที่ 2 วันที่ 21 - 25 มิถุนายน 2553




ครั้งที่ 3 วันที่ 27 - 30 มิถุนายน 2554




     16
17
พอสว. บ้านหาญไพรวัลย์




18
วันที่ 18 กรกฎาคม 2555




                     19
เครือข่ายบริการสุขภาพ
ร้อยเอ็ด ซุปเปอร์มินิมาราธอน




อาสาสมัครสาธารณสุข




ค่ายยาเสพติด




   20
อำ�เภอหนองพอก
                จักรยานเสือภูเขา




                           21
เครือข่ายบริการสุขภาพ
บุญบั้งไฟ




ลอยกระทง




ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากร   ทันตกรรมโรงเรียน




   22
อำ�เภอหนองพอก




                23
กิจกรรม...
                                                   คลินิกเฉพาะโรคผู้ป่วยหนาแน่น




     คุณหมอตรวจเยี่ยมผู้ป่วยทุกเช้าเย็น

                                          ผู้ป่วย ER ล้นห้อง




เด็กงอแง ที่ ER



                                                                         ทำ�บุญ




24
ในโรงพยาบาลหนองพอก


     พยาบาลคนสวยคัดกรองผู้ป่วย       ที่นั่งเฉพาะพระภิกษุรอตรวจ
             รับส่งเวรที่ผู้ป่วยใน




                                            ผู้ป่วยล้นเตียง



ปลูกต้นไม้




                                         อุปกรณ์ป้องกัน
                                         ครบที่งานจ่ายกลาง

                                                                  25
HA โรงพยาบาลหนองพอก
 ความภูมิใจของบุคลากรทุกคนที่ทำ�ให้โรงพบายาลหนองพอก




                                 อาจารย์นิศมา ภุชคนิตย์
                                 เยี่ยมประเมิน ผู้ป่วยนอก ห้องคลอด
                                 ห้องผ่าตัด




                        อาจารย์ ดร. สิริรัตน์ เนตรประภา
                        เยี่ยมประเมินจ่ายกลาง ซักฟอก โรงครัว ยานพาหนะ
                        โรงเก็บขยะ ช่าง Lab X-ray




26
24 - 25 เมษายน 2555

ผ่านการประเมินกระบวนการพัฒนาคุณภาพ (HA)




    อาจารรย์ นพ.วิโรจน์ เลิศพงศ์พิพัฒน์
    เยี่ยมประเมินผู้ป่วยใน อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน
    ฝ่ายเภสัชกรรม




                                                                27
กิจกรรม...

 ห้องฉีดยา เป็นภาระงานของห้องผ่าตัด           ห้องชันสูตร บริการรวดเร็ว รายงานผลถูกต้อง

                                             งาน IT ทำ�งานทั้งวันกับคอมฯ




     ปีนี้คุณตรวจมะเร็งปากมดลูกแล้วหรือยัง




     สิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้

28
ในโรงพยาบาลหนองพอก
                                       มุมส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ PCU




X-ray พร้อมให้บริการตลอดเวลา

                                     อาหารสะอาด อร่อย ถูกคนถูกโรค




               ผ้าหอมสะดวกพร้อมใช้




                                                                        29
เยี่ยมบ้าน...
       ทีมแพทย์ พยาบาล กายภาพ
                                     ร่วมกันระหว่าง
     แผนไทย ทันตกรรม ทั้ง รพ.และ
                           รพ.สต


                                     หนทางที่ลำ�บาก




           ฝึกใช้อุปกรณ์               ฝึกทำ�แผล




          ตรวจรักษาที่บ้าน         ดูแลสุขภาพปาก ฟัน




30
รพ.หนองพอก รพ.สต และ อสม.


   เยี่ยมถึงบ้านเห็นความเป็นอยู่     ด้วยความอบอุ่น




     ฝึกให้อาหารทางสายยาง            ฝึกทำ�กายภาพ




          ตัดผมที่สวน              นวดประคบสมุนไพร



    ชุมชนเข้มแข็ง
    และพึงตนเองได้
         ่
                                   ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม
                                                         31
Context Based
       เรียนทฤษฎี
เวชศาสตร์ครอบครัว




      ปฏิบัติรักษา




32
Learning (CBL)




                 33
34
กิจกรรม... ใน รพ.สต




                  35
กิจกรรม...

             เปลี่ยนเครื่องทรง ไหว้ศาล              รับรถ R




     สมาคมโรคหัวใจ โดยอาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน
      อาจารย์กนกพร แจ่มสมบูรณ์ กับกิจกรรมโรคหัวใจ




                                                        ดูแล
36
ในโรงพยาบาลหนองพอก


Refer หลวงปู่หล้าที่วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี โดยหลวงปู่อินทร์ถวาย และญาติโยม




               ออกหน่วยพบประชาชนทุกตำ�บลในช่วงเย็น




 ลสุขภาพช่องปากผู้พิการ โดยอาจารย์ และทีมทันตแพทย์ทั้งจังหวัดร้อยเอ็ด
                                                                             37
พระรุ่นใหม่ไม่สูบบุหรี่
                                                                                 นางรัชนี ระดา พยาบาลวิชาชีพ

ปัญหา / ที่มา	
        ในเทศกาลเข้าพรรษาปี 2554 พระอาจารย์เจ้าอาวาสวัดป่าค�ำโพนสูงได้บวชพระ/เณรใหม่ จ�ำนวนทั้งหมด 41 รูป  
มีพระ/เณรติดบุหรี่ 29 รูป และสาเหตุที่ส�ำคัญคือ
สาเหตุการสูบบุหรี่
    -	 เห็นบิดา ผู้ใหญ่สูบบุหรี่เลยสูบตาม
    -	 เห็นเพื่อนสูบบุหรี่เลยสูบตาม  
    -	 เคยเลิกสูบบุหรี่เองแต่ไม่ส�ำเร็จ
    -	 เมื่อสูบสูบบุหรี่รู้สึกผ่อนคลาย ไม่เคยคิดจะเลิกบุหรี่
    -	 มีโรคประจ�ำตัว เช่น เบาหวาน  ความดันโลหิตสูง เมื่อเลิกบุหรี่แล้วหงุดหงิด
ปัญหาต่อสุขภาพ
    -	 เป็นสาเหตุท�ำให้เกิดโรคทางเดินหายใจบ่อย
วัตถุประสงค์
    1.	 เพื่อให้ผู้ติดบุหรี่เข้าถึงบริการบ�ำบัดรักษา
    2.	 เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถเลิกบุหรี่ได้มากขึ้น
เป้าหมาย เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถเลิกบุหรี่ได้มากกว่า  80 %
กลุ่มเป้าหมาย
	        เป็นพระภิกษุ สามเณรบวชใหม่ที่ติดบุหรี่ในวัดป่าค�ำโพนสูง จ�ำนวน 29 ราย
             -	 พระภิกษุ	 	     จ�ำนวน 23  ราย
             -	 สามเณร	 	       จ�ำนวน  6   ราย
แนวทางการด�ำเนินงาน
	          1.  	 สอบถามมูลเหตุจูงใจของการสูบบุหรี่
	          2.  	 ทดสอบภาวะการณ์ติดสารนิโคติน  โดยใช้แบบประเมินภาวะการณ์  การติดสารนิโคติน
	          3.  	 ให้ความรู้เรื่องบุหรี่  โทษพิษภัยบุหรี่
	          4.  	 ให้ค�ำปรึกษารายบุคล โดยยึดหลัก   5 A คือ Ask=ถาม, Assess=ประเมิน, Arrange=ติดตามให้ รับการรักษา
เลิกบุหรี่, Advise=แนะน�ำให้เลิกบุหรี่, Assist= ช่วยให้เลิกบุหรี่
	          5. 	 ท�ำกิจกรรมกลุ่มบ�ำบัด โดยแบ่งเป็นกลุ่มละ 10-11 ราย จ�ำนวน 4 กลุ่ม
	          6. 	 ให้การบ�ำบัดรักษาโดยใช้นิโคตินทดแทน
	          7. 	 พระอาจารย์เจ้าอาวาสสอนหลักธรรมะทุกวันตอนเย็นหลังท�ำวัด
ระยะเวลาด�ำเนินการ ช่วงเข้าพรรษา  16  กรกฎาคม – 12 ตุลาคม  2554
ผลการด�ำเนินงาน
  ก่อนด�ำเนินการ
     มูลเหตุแรงจูงใจ
     -	 เห็นเพื่อนสูบ  อยากสูบตาม  เพื่อนชวน

38
CQI
  -	 อยากหยุดสูบบุหรี่เพราะเห็นว่าไม่มีประโยชน์  เคยหยุดแล้วหยุดไม่ได้
  -	 บุคคลในครอบครัวบ่น
  -	 มีโรคประจ�ำตัวหยุดบุหรี่แล้วหงุดหงิด
  หลังด�ำเนินการ
	     พระภิกษุติดบุหรี่จ�ำนวน 23  ราย  เลิกบุหรี่ได้ 15  ราย (65.21%)   สูบบุหรี่ลดลง 5 ราย
	     สามเณรติดบุหรี่จ�ำนวน  6   ราย   เลิกบุหรี่ได้  6  ราย (100%)
	     รวมเลิกบุหรี่ได้ทั้งหมด   21 ราย (91.20%)    ไม่สามารถเลิกได้ 2 ราย (8.6%)
สรุปการให้ค�ำปรึกษารายบุคคล 29 รายพบว่า
สาเหตุการสูบบุหรี่
     -	 เห็นบิดา ผู้ใหญ่สูบบุหรี่เลยสูบตามจ�ำนวน  20 ราย (68.96 % )
     -	 เห็นเพื่อนสูบบุหรี่เลยสูบตาม  จ�ำนวน  9  ราย     (31.03 %)
อยากเลิกสูบบุหรี่เพราะ
     -	 รู้ว่าบุหรี่มีโทษมากกว่าประโยชน์  จ�ำนวน  25 ราย   (86.20%)
     -	 พระอาจารย์เจ้าอาวาสบอกให้เลิก จ�ำนวน  4   ราย   (13.79 %)
เคยเลิกสูบบุหรี่เอง
     -	 เคยเลิกเองแต่ไม่ส�ำเร็จ จ�ำนวน  11 ราย  (37.93% )
     -	 ไม่เคยเลิกสูบบุหรี่ จ�ำนวน  18  ราย   (62.07%)
มีปัญหาสุขภาพหรือไม่
     -	 มีปัญหาสุขภาพเป็นโรคทางเดินหายใจบ่อยจ�ำนวน  4   ราย   (13.79%)
     -	 มีโรคประจ�ำตัวแพทย์แนะน�ำให้เลิก เช่น เบาหวาน 1 ราย  ความดันโลหิตสูง 2ราย(10.34%)
สรุปการท�ำกิจกรรมกลุ่ม
    -	 สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่รู้โทษ   พิษภัยของบุหรี่แต่ไม่สามารถเลิกบุหรี่ได้เพราะหงุดหงิดง่าย   กระวนกระวายใจ         
       ไม่สามารถท�ำงานได้เต็มที่คิดอะไรไม่ออก สมาชิกในกลุ่มเห็นว่าตัวเองคนเดียวคงจะเลิกบุหรี่ไม่ได้จึงต้องปรึกษา            
       เจ้าหน้าที่
    -	 สมาชิกกลุ่มช่วยเตือนกัน ถ้ามีสมาชิกในกลุ่มหิวบุหรี่ให้เตือนสติกัน   ชวนกันออกก�ำลังกายในพระหนุ่ม/สามเณร
       เช่น กวาดลานวัด  ท�ำความสะอาดห้องน�ำ  พระทีสงอายุจะพูดคุยแลกเปลียนธรรมะกัน และหรืออมลูกมะแว้ง  หรือ
                                               ้      ู่                     ่
       ใช้เทคนิคที่เจ้าหน้าที่สอน เช่น หยิกตัวเองแรงๆ  ตะโกนดังๆ  เตือนสติตนเองบ่อยๆว่าบุหรี่มีแต่โทษไม่มีประโยชน์  
       นั่งสวดมนต์
สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้
	      ความเชื่อ ความศรัทธาต่อพุทธศาสนา   การเสริมแรงทางบวกเป็นแรงจูงใจส�ำคัญที่สามารถท�ำให้ผู้ติดบุหรี่            
สามารถงดบุหรี่ได้
แผนที่จะด�ำเนินการต่อไป
    1.	 ด�ำเนินคลินิกอดบุหรี่ในคลินิกโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น หอบหืด  เบาหวานและความดันโลหิตสูง มีการติดตามประเมิน
        ก่อนและหลังด�ำเนินการ
    2.	 มีการประกวดผลการด�ำเนินการในแต่ละหน่วยงานในการรณรงค์ให้ความรู้กับผู้รับบริการและผู้รับบริการสามารถ
        อดบุหรี่ได้  
    3.	 จัดระบบนัด  การติดตามทางโทรศัพท์  การติดตามเยี่ยมบ้าน


                                                                                                                      39
ประเมินผลการใช้การใช้แบบบันทึกเวชระเบียน
	       	        	
                        งานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน
                          	

                                                                                    นางวิรังรอง ไชยจิตร
                                                     พยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการ หัวหน้างานอุบิตเหตุ - ฉุกเฉิน

ปัญหาและบริบทของงาน
	        การบันทึกทางการพยาบาลในงานอุบัติเหตุ – ฉุกเฉิน โรงพยาบาลหนองพอก อาศัยแบบบันทึก OPD Card
ที่เป็นการลงข้อมูลเกี่ยวกับอาการส�ำคัญ ประวัติการเจ็บป่วย การตรวจร่างกาย การรักษา ซึ่งการบันทึกทาง                  
การพยาบาลยังไม่มีการบันทึกมาก่อน เนื่องจากเป็นหน่วยงานที่ต้องการความรีบด่วนในการดูแลผู้ป่วย การบันทึก   
ผลการปฏิบตการพยาบาลไม่สามารถท�ำการบันทึกได้ชดเจน ต่อเนือง ทังทีมการปฏิบตการพยาบาลทีเ่ ป็นการบรรเทา
           ัิ                                     ั        ่ ้ ่ี         ัิ
อาการหรือภาวะเจ็บป่วยของผู้ป่วย ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนาแบบบันทึกเวชระเบียนงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินขึ้น เพื่อให้
สามารถบันทึกทางการพยาบาลที่ปฏิบัติได้ง่าย โดยอาศัยวิธีการบันทึกแบบ Focus charting และยังเป็นการ             
บูรณาการน�ำ SBAR Tool มาใช้เพื่อการสื่อสารหรือรายงานแพทย์เวรให้มีความชัดเจน และครบถ้วนยิ่งขึ้น
	       	        	        	

ขั้นตอนการด�ำเนินงาน -ประชุมกลุ่มการพยาบาล เรื่องการบันทึกทางการพยาบาลแบบ Focus charting, ก�ำหนด
รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลของงานอุบตเิ หตุ-ฉุกเฉิน และก�ำหนดวิธปฏิบตให้มการบันทึกทางการพยาบาลใน
                                            ั                    ี ัิ ี
ผู้ป่วยกลุ่ม Urgent Emergency และ Resuscitation อย่างน้อยร้อยละ 60 , ด�ำเนินการใช้แบบบันทึกเวชระเบียน
งานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน ตั้งแต่เมษายน – มิถุนายน 2555 รวม 3 เดือน , ท�ำการประเมินผลโดยใช้แบบสอบถาม               
ความคิดเห็นที่สร้างขึ้นเอง
	       	        	        	

ผลการด�ำเนินงาน
	      จากการประเมินผลผู้ที่ใช้แบบบันทึกเวชระเบียนงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน จ�ำนวน 20 คนพบว่า
   1)	 ข้อมูลส่วนบุคคลด้านอายุงาน พบว่าอายุงานระหว่าง 16-20 ปี มีจ�ำนวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 25                  
       รองลงมามีอายุงาน 10-15 ปี ร้อยละ 20 ส่วนอายุงานที่น้อยที่สุดคือน้อยกว่า 1 ปี ร้อยละ 5
   2)	 วิชาชีพพยาบาล จ�ำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 90 ส่วน EMT-I 2 คน คิดเป็นร้อยละ 10
   3)	 ผลการใช้แบบบันทึกเวชระเบียนงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน พบว่า สามารถบันทึกทางการพยาบาลงาน ER ได้   
       เห็นด้วยมากที่สุด จ�ำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 85 รองลงมาเห็นด้วยกับการบันทึกที่เห็นประเด็นส�ำคัญ
       ของผู้ป่วยชัดเจนขึ้น ท�ำให้ใช้ข้อมูลเพื่อการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องได้ ร้อยละ 75 สามารถบันทึกข้อมูลส�ำคัญได้
       กะทัดรัด ชัดเจนขึ้น และโดยภาพรวมท่านพอใจในการบันทึกแบบใหม่มากกว่าแบบเดิม ร้อยละ 70 ส่วน  
       การบันทึกใช้เวลาน้อยลง เห็นด้วยน้อยที่สุดร้อยละ 60 ทั้งนี้อาจเนื่องจากยังไม่เคยมีการบันทึกทาง               
       การพยาบาลในหน่วยงาน ER มาก่อนจึงท�ำให้ต้องใช้เวลาในการบันทึก และส่วนของการรายงานแพทย์    
       ครบถ้วนตาม SBAR tool เห็นด้วย ร้อยละ 65




40
CQI
โอกาสพัฒนา
   1.	 ปรับเปลี่ยนแบบบันทึกเวชระเบียนงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินใหม่โดยลดตัวรายละเอียดของข้อความลง และ    
       ปรับช่องว่างให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
   2.	 ประเมินผลการบันทึกทางการพยาบาลงานอุบัติเหตุ – ฉุกเฉินในเชิงคุณภาพ และสรุปในรูปแบบ R2R

                    ตารางสรุปผลการประเมินการใช้แบบบันทึกเวชระเบียนงานอุบัติเหตุ - ฉุกเฉิน
                                                                                ความคิดเห็น
                     ข้อคำ�ถาม                                                                              ไม่เห็นด้วย
                                                       เห็นด้วยอย่างยิ่ง     เห็นด้วย         ไม่เห็นด้วย
                                                                                                             อย่างยิ่ง
 1.  สามารถบันทึกทางการพยาบาลงาน ER ได้                 3 คน (15%)         17 คน (85%)
 2.  การบันทึกใช้เวลาน้อยลง                              1 คน (5%)         12 คน (60%)    7 คน (35%)
 3.  สามารถบันทึกข้อมูลสำ�คัญได้กะทัดรัด และ
     ชัดเจนขึ้น                                         3 คน (15%)         14 คน (70%)    3 คน (15%)
 4.  เห็นประเด็นสำ�คัญของผู้ป่วยชัดเจนขึ้น ทำ�ให้ใช้
     ข้อมูลเพื่อการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องได้              4 คน (20%)         15 คน (75%)        1 คน (5%)
 5.  การรายงานแพทย์ครบถ้วนตาม SBAR tool                 3 คน (15%)         13 คน (65%)    4 คน (20%)
 6.  โดยภาพรวมท่านพอใจในการบันทึกแบบใหม่
     มากกว่าแบบเดิม                                     3 คน (15%)         14 คน (70%)    3 คน (15%)




                                                                                                                    41
โครงการประดิษฐ์วัสดุจากธรรมชาติและเศษวัสดุเหลือใช้
                              “แจกันและถุงใส่ใบเตยหอม”
                                       นายไพรัตน์ นามสง่า นางจรัสศรี อาจญาทา นางงามทิพย์ ทิพย์สนุก
                                                                    งานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลหนองพอก

หลักการและเหตุผล
	       สิ่งของที่ใช้แล้วที่หาได้ในหน่วยงาน เช่น หมวกคลุมผม หรือขวดน�้ำที่ใช้แล้ว    ถ้าหากมีการน�ำมาประยุกต์
ใช้แทนวัสดุที่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม  น่าจะช่วยลดปัญหาโลกร้อนได้  การ Recycle  reuse reduce เป็นการน�ำสิ่งของ
กลับมาใช้ใหม่ ดังนั้นให้เกิดประโยชน์และเพิ่มคุณค่า  จึงประดิษฐ์แจกันที่ท�ำจากหมวกและถุงใส่ใบเตยหอม
วัตถุประสงค์
    1.	 เพื่อน�ำวัสดุเหลือใช้มาใช้ให้เกิดประโยชน์
    2.	 เพื่อเป็นการน�ำวัสดุที่มีอยู่ในธรรมชาติมาเพิ่มคุณค่า
กระบวนการ
เตรียมวัสดุ-อุปกรณ์
กรรไกร  มีดคัดเตอร์  เชือกฟางยาว 6 นิ้ว  หมวกครอบผมที่ใช้แล้ว  ใบเตยสด  ที่คริปกระดาษ  ลูกแม็ก  จานรอง
แก้ว ขวดน�้ำเปล่าที่ใช้แล้วขนาด 750 มิลลิลิตร  
ขั้นตอนด�ำเนินการ
     1.	 ขวดน�้ำเปล่าที่ใช้แล้วมาตัดขวดออกครึ่งหนึ่ง  เลือกเอาส่วนก้น  
     2.	 น�ำหมวกที่ใช้แล้วหลังผึ่งแดด 1 วัน น�ำมาห่อขวดที่ตัดไว้แล้ว   ใช้ยาง/เชือกฟางรัดห่างจากขอบปากขวด
         ประมาณ  2 ซม.  ตัดขอบหมวกตัดแล้วแต่งให้ปลายขอบหมวกเป็นระบายตามความสมัครใจ  ถ้ามีหมวก
         หลายสีให้ใส่ทับซ้อนกันก็จะท�ำให้เพิ่มสีสัน
     3.	 น�ำใบเตยมาจัดเป็นช่อดอกไม้และเสียบในแจกัน ดังภาพ
     4.	 หรือน�ำใบเตยมาตัด (เลือกตามจ�ำนวนทีเ่ หมาะสม) ดังภาพ แล้วเทใส่หมวก จัดเป็นรูปต่างๆ น�ำไปไว้ในห้องน�ำ 
                                                                                                            ้
         ในรถยนต์เพิ่มกลิ่นหอม

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
    1.	 มีผู้นิยมใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติมากขึ้น
    2.	 ผลิตภัณฑ์ใบเตยสดช่วยเพิ่มกลิ่นหอมในห้องน�้ำ  
    	 รถยนต์  ความสวยงามในห้องท�ำงาน




42
CQI
                   1 เซ็นติเมตร เท่ากับ 100 กรัม...จริงหรือ
                                                    หน่วยงานห้องคลอด โรงพยาบาลหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด

ปัญหาและบริบทงาน  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคลอด  3  อย่าง คือ  Power , Passage , Passenger  ซึ่งหนึ่ง
ใน Passenger ก็คือขนาดและน�้ำหนักของทารก
	          เนื่องจากการคาดคะเนน�้ำหนักของทารกในครรภ์ที่เคยปฏิบัติมาเมื่อมีผู้มาคลอดคือการคาดคะเนด้วย             
สายตาทางหน้าท้อง แต่จากข้อมูลที่ผ่านมา การคาดคะเนด้วยสายตามีความผิดพลาดสูง ตั้งแต่ 100 กรัมถึง                
1000 กรัม เลยทีเดียว แต่จากทฤษฎีบอกไว้ว่าสามารถวัดความสูงของมดลูกเพื่อคาดคะเนน�้ำหนักของทารก                   
ในครรภ์ได้ หน่วยงานห้องคลอดจึงได้น�ำมาทดลองใช้ในหน่วยงาน
การด�ำเนินงาน ท�ำการทดลองวัดความสูงของมดลูกเป็นเซนติเมตร เมื่อแรกรับผู้มาคลอดในวันเวลาราชการ              
ได้เริ่มท�ำการเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือน พ.ค.- ก.ค. 2555 จ�ำนวน 30 ราย โดยมีวิธีด�ำเนินการดังต่อไปนี้
	          1. วัดความสูงของมดลูกจาก Symphysis Pubis ถึงยอดมดลูก
	          2. บันทึกความสูงของยอดมดลูกไว้ในทะเบียนคลอด
	          3. เมื่อคลอดแล้วบันทึกน�้ำหนักทารกแรกเกิดที่ทะเบียนคลอด
	          4. ท�ำการเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างความสูงของมดลูกที่วัดได้จริงกับน�้ำหนักของทารกแรกเกิดที่ชั่งได้จริง
	          5. สรุปและวิเคราะห์ข้อมูล
ผลลัพธ์
	       1. น�้ำหนักของทารกแรกเกิดจริงกับความสูงของมดลูกที่วัดได้มีความคลาดเคลื่อน
            10-100 กรัม คิดเป็น 70 %
	       2. คลาดเคลื่อนมากกว่า 100 กรัมขึ้นไป คิดเป็น 30 %
	       3. ความคลาดเคลื่อนน้อยสุด คือ  10 กรัม  (  1  ราย )
	       4. ความคลาดเคลื่อนสูงสุด คือ  400 กรัม (  1  ราย )
บทเรียนที่ได้รับ
	       1. ความผิดพลาดเกิดขึ้นได้เนื่องจากการวัดไม่ถูกต้อง เช่น
	               - วัดจุดเริ่มต้นที่ไม่ใช่ Symphysis pubis ที่แท้จริง
	               -  วัดจุดสูงสุดที่ไม่ใช่ยอดมดลูกที่แท้จริง
	       2. ถ้าจะวัดให้ได้แม่นย�ำจริงๆจะต้องมีการฝึกทักษะ
โอกาสพัฒนา
	       1. พัฒนาการวัดให้แม่นย�ำขึ้น
	       2. ฝึกทักษะให้พยาบาลทุกคนที่ขึ้นปฏิบัติงานที่ห้องคลอดให้สามารถวัดได้อย่างแม่นย�ำ




                                                                                                           43
กระบวนการ : ป้องปรามการละเมิดจริยธรรมเพื่อพิชิตข้อร้องเรียน
                                                                                                   ดุษฎี สุจารี : กลุ่มงานการพยาบาล
ปัญหาและบริบท
	       ปัจจุบันประชาชนสนใจการปกป้องและรักษาสิทธิของตนเอง มีความคาดหวังสูงขึ้นในการดูแลรักษาพยาบาลตาม
มาตรฐานวิชาชีพ มีผู้รับบริการและภาระงานมากขึ้น จึงท�ำให้เกิดข้อขัดแย้งระหว่างผู้รับบริการและผู้ให้บริการ ในปี 50-52
ปัญหาข้อร้องเรียน ความไม่พึงพอใจในเรื่องพฤติกรรมบริการ  การสื่อสาร  การให้ข้อมูล  สิทธิผู้ป่วยเพิ่มขึ้น  จึงมีนโยบาย
พัฒนารูปแบบการด�ำเนินการแก้ไข เฝ้าระวัง ป้องกันที่เป็นระบบมากยิ่งขึ้น  จนข้อร้องเรียนลดลงตามล�ำดับ
เป้าหมาย	 1. ข้อร้องเรียน และการละเมิดจริยธรรมลดลง
	             2.  มีวิธีปฏิบัติ ระเบียบปฏิบัติ จริยธรรมวิชาชีพ บุคลากรทุกคนรับทราบและถือปฏิบัติ
	             3. เฝ้าระวัง ป้องกันความเสี่ยง ข้อร้องเรียนและละเมิดจริยธรรมเมื่อเกิดแก้ไข 100%
	             4. บุคลากรทางการพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินคุณธรรมจริยธรรมวิชาชีพ >80%
	             5. บุคลากรทางการพยาบาลมีพฤติกรรมบริการที่ดี
กระบวนการ
	           1. 	ประกาศนโยบายจากผู้บริหาร
	           2. 	แต่งตั้งผู้รับผิดชอบข้อร้องเรียน ความเสี่ยง  และคณะกรรมการไกล่เกลี่ย
	           3. 	ทุกหน่วยงานทบทวนความเสี่ยงด้านจริยธรรม ปรับเปลี่ยนระบบงานบุคลากรให้เหมาะสม งาน 5ส. ปรับ            
ภูมิทัศน์
	           4. 	จัดตั้งชมรมคุณธรรม  จริยธรรม จัดท�ำวิธีปฏิบัติ ระเบียบปฏิบัติ กฎระเบียบ บทลงโทษ วัฒนธรรมองค์กร
ประชุมชี้แจง ประกาศให้รับทราบทุกคน
	           5.	 จัดท�ำโครงการส่งเสริมและกระตุ้นคุณธรรมจริยธรรมวิชาชีพ   เช่น จัดท�ำโครงการส่งเสริมและสนับสนุน       
พฤติกรรมบริการที่เป็นเลิศ  OD  ESB  บุคลากรต้นแบบ  คนดีคนเด่นในดวงใจ  ฝึกปฏิบัติธรรม 100%   จัดบรรยายธรรม
ทุกเดือน  และน�ำพฤติกรรมบริการมาร่วมพิจารณาความดีความชอบ
	           6. 	เฝ้าระวังค้นหาความเสี่ยงด้านจริยธรรมจากทีมความเสี่ยง  ตู้แสดงความคิดเห็น  การบอกเล่า  กรรมการที่
ปรึกษา รพ.   ชุมชน   รายงานสรุปเวรทุกวันทุกเวร   เมื่อพบข้อร้องเรียนได้รับการแก้ไขทุกความเสี่ยง ถ้ามีข้อพิพาทมี                                 
คณะกรรมการไกล่เกลี่ยในการจัดการ
	           7. 	ติดตาม นิเทศ ควบคุม ก�ำกับ สรุป ประเมินผล
	           8. 	สอบถามความต้องการจากผู้รับบริการ  มีการประเมินคุณธรรม จริยธรรมโดยพยาบาล (ตนเอง) ปีละ 2 ครั้ง
ผลลัพธ์	 1. ข้อร้องเรียน และการละเมิดจริยธรรมลดลง ปี 52=11ฉบับ , ปี 53=1ฉบับ , ปี 54=2 ฉบับ ,ปี55=1ฉบับ
	           2. มีวิธีปฏิบัติ ระเบียบปฏิบัติ กฎระเบียบ บทลงโทษ วัฒนธรรมองค์กรที่ดี
	           3. พฤติกรรมบริการของบุคลากรทางการพยาบาลดีขึ้นได้รับค�ำชื่นชม
	           4. บุคลากรทางการพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินคุณธรรมจริยธรรมวิชาชีพ ปี 2555  83.54%
	           5. ในปี 55  ความพึงพอใจของผู้รับบริการผ่านเกณฑ์ ≥80% ผู้ป่วยนอก 84.40% ผู้ป่วยใน 86.25%
บทเรียนทีได้รับ	 1. การท�ำงานต้องมีระบบ   ส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นอย่างต่อเนื่อง มีวิธีปฏิบัติ ระเบียบปฏิบัติ                   
กฎระเบียบลงโทษ  และเสริมสร้างขวัญก�ำลังใจในการท�ำงาน
	                    2. การปฏิบัติตามคุณธรรม  จริยธรรมวิชาชีพ  กฎระเบียบ การบริการด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์
ละลดความเสี่ยงข้อร้องเรียน
	                    3. การเฝ้าระวัง นิเทศ ติดตาม ควบคุม ก�ำกับ ประเมินผล มีความส�ำคัญจ�ำเป็นมากในการท�ำงาน
	                    4. การธ�ำรงรักษาความดีไว้ให้ต่อเนื่องนั้นต้องมีการด�ำเนินต่อไป
44
CQI
        การออกก�ำลังกายด้วยยางยืดแบบประยุกต์ เพื่อฟื้นฟู
           สมรรถภาพปอดในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
    (Modified elastic band exercise to pulmonary rehabilitation
                         in COPD patient)
                                                                                   ภัทรา สุศิลา กายภาพบ�ำบัด

บทน�ำ ในปัจจุบันมีผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเพิ่มขึ้นจ�ำนวนมาก ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักอาการหายใจล�ำบาก หอบ
เหนื่อยง่าย ซึ่งมีสาเหตุมาจากความแข็งแร งของกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจเข้าและหายใจออกลดลง ท�ำให้                  
ความสามารถในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ลดลงตามมา และเนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่มักไม่ให้ความส�ำคัญกับการ               
ออกก�ำลังกาย รวมถึงไม่รู้วิธีการออกก�ำลังที่เฉพาะเจาะจงจึงท�ำให้ไม่ได้รับการฟื้นฟู ดังนั้นงานกายภาพบ�ำบัดจึงเล็ง
เห็นถึงความส�ำคัญในการออกก�ำลังกายในผู้ป่วยกลุ่มนี้ และ พบว่า การออกก�ำลังกายร่างกายส่วนบนโดยใช้แถบยาง
ซึ่งเป็นการออกก�ำลังกายแบบมีแรงต้าน จะเป็นการออกก�ำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อร่างกาย              
ส่วนบน โดยเฉพาะบริเวณแขน หัวไหล่ ทรวงอก ซึงเป็นกล้ามเนือทีชวยในการหายใจ เป็นการเพิมการเคลือนไหวของ
                                                ่           ้ ่่                             ่      ่
ทรวงอก ท�ำให้ทรวงอกและปอดมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น และหายใจเหนื่อยหอบลดลง และเพิ่มความสามารถใน
การท�ำกิจกรรมของผู้ป่วย แต่เนื่องจากแถบยางยืดตามมาตรฐานหาได้ยากและราคาแพง ดังนั้นงานกายภาพบ�ำบัด
จึงได้ประยุกต์แถบยางยืดเพื่อใช้ส�ำหรับการออกก�ำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
เป้าหมาย
	       1.	 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้มีแนวทางในการออกก�ำลังกายอีกรูปแบบหนึ่ง
	       2.	 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นได้ตระหนักถึงการออกก�ำลังกาย
วิธีด�ำเนินงาน
	       1.	 จัดท�ำอุปกรณ์ยางยืดแบบประยุกต์
	       2.	 ทดลองใช้
	       3.	 ขยายผลแนะน�ำการอออกก�ำลังกายโดยใช้ยางยืดแบบประยุกต์ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ผลลัพธ์
	       1.	 ได้อุปกรณ์ในการออกก�ำลังกายแบบประยุกต์เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
	       2.	 ผู้ป่วยให้ความร่วมมือและมีความสนใจในการออกก�ำลังกายมากขึ้น	
	       3.	 ได้แนวทางในการออกก�ำลังกายแบบใหม่ที่เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
โอกาสพัฒนา
	       ขยายผลเพื่อเป็นแนวทางในการออกก�ำลังกายแก่ รพ.สต.


                                                                                                            45
กระจับน้อยคอยรัก
                                                                   นายอิสรานุกฤต เย็นวัฒนา นักรังสีการแพทย์

ปัญหา
         เนื่องจากปัจจุบันนี้หน่วยงานรังสีวิทยาได้มีการถ่ายภาพเอกซเรย์บริเวณอวัยวะเพศเป็นจ�ำนวนมากไม่ว่าจะ
เป็นการถ่าย  KUB , L-S SPINE , PELVIS    และอื่นๆ เป็นจ�ำนวนมาก แต่ทางหน่วยงานรังสิวิทยา โรงพยาบาล
หนองพอกไม่มี     GONAD SHIELD      ป้องกัน อวัยวะเพศให้ผู้ป่วยเลย ทางหน่วยงานรังสีวิทยา จึงได้ผลิตและ
คิดค้นอุปกรณ์การป้องกันอวัยวะเพศขึ้นมาซึ่งมีชื่อเรียกว่า กระจับน้อยคอยรัก

ขั้นตอนการด�ำเนินการ
    1.	   ขอฟิล์มเอกซเรย์ฟันที่ใช้แล้วจากห้องทันตกรรม
    2.	   นับแผ่นฟิล์มมาต่อกันให้มีความหนาประมาณ 20 แผ่น
    3.	   น�ำกาวมาติดให้เข้ากัน
    4.	   น�ำฟิล์มที่ได้ไปตัดตกแต่งเป็นรูปต่างๆ ที่ต้องการ
    5.	   น�ำฟิล์มที่ตกแต่งแล้วมาใส่ที่หุ้มใหม่นั้นก็คือผ้า ตัดตกแต่งผ้าตามขนาดที่ต้องการ

ผลการด�ำเนินงาน
	         ได้น�ำไปใช้กับผู้ป่วยทั้งสิ้น 10  ราย ได้ผลคือป้องกันอันตรายจากรังสีได้

โอกาสพัฒนา
	         ทางหน่วยงานรังสีวิทยาจะน�ำความรู้นี้ไปผลิตเป็น   THYROID SHIELD  




46
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50

Contenu connexe

Tendances

คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูkrutang2151
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)Korawan Sangkakorn
 
O 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
O 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบO 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
O 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบโรงเรียนพานพร้าว สพม
 
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาWatcharasak Chantong
 
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306จุลี สร้อยญานะ
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559ประพันธ์ เวารัมย์
 
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60yahapop
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยOppo Optioniez
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayKorawan Sangkakorn
 
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรีMayuree Kung
 

Tendances (19)

คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผนคู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน
 
V 256
V 256V 256
V 256
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
005
005005
005
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
 
O 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
O 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบO 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
O 29แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
 
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษาความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
ความพึงพอใจการบริหารและจัดการศึกษา
 
5กลุ่มวิชาการ57
5กลุ่มวิชาการ575กลุ่มวิชาการ57
5กลุ่มวิชาการ57
 
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2561
 
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
 
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวนร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
 
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word   โครงการปี 56 มยุรีMicrosoft word   โครงการปี 56 มยุรี
Microsoft word โครงการปี 56 มยุรี
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 

Similaire à หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50

006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินังSlide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินังAiman Sadeeyamu
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงIntrapan Suwan
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICTPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Executives summary dhs dr wut 1115
Executives summary dhs dr wut 1115Executives summary dhs dr wut 1115
Executives summary dhs dr wut 1115Chuchai Sornchumni
 

Similaire à หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50 (20)

การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
Sar 2556
Sar 2556Sar 2556
Sar 2556
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินังSlide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
Slide การติดตามและเยี่ยม QOF รพ.กรงปินัง
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
Single plan
Single planSingle plan
Single plan
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
Osdop swat
Osdop  swatOsdop  swat
Osdop swat
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
 
Executives summary dhs dr wut 1115
Executives summary dhs dr wut 1115Executives summary dhs dr wut 1115
Executives summary dhs dr wut 1115
 

หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50

  • 1. 1
  • 2. ค�ำน�ำ มหกรรมการจัดการความรู้ของเครือข่ายบริการสุขภาพอ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 4 เป็นปีที่มีการน�ำประสบการณ์ทั้ง 3 ปีที่ผ่านมาเป็นบทเรียนในการจัดการความรู้ใน ครังนี้ เห็นได้ชดตังแต่การบริหารเชิงระบบในแผนกลยุทธ์ของเครือข่าย การพัฒนาบุคลากร การพัฒนา ้ ั ้ งานที่มาจากงานประจ�ำ การแก้ปัญหาในพื้นที่ให้ส�ำเร็จ การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน การติดตามงาน ของผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง น�ำมาสู่การจัดการความรู้ที่มีคุณภาพอย่างยิ่ง ดังเนื้อหารายละเอียดใน รูปเล่มนี้ นอกจากการปรับเปลี่ยนดังกล่าวข้างต้น ซึ่งเป็นกระบวนการให้ได้เนื้อหา ได้ข้อมูลมาท�ำ เป็นวิจัย R2R CQI เรื่องเล่า ต่างๆ มากมายแล้ว ทีมงานยังมีการปรับเปลี่ยนการจัดท�ำรูปเล่มให้น่าอ่าน มากยิ่งขึ้น โดยการใช้ภาพกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยทั้งในสถานบริการ ในชุมชน ในบ้านขณะที่บุคลากร ลงเยี่ยมผู้ป่วยในพื้นที การท�ำกิจกรรมส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูครบถ้วนและเป็นองค์รวม การ ่ ท�ำงานของบุคลากรฝ่ายสนับสนุนที่เอื้อให้มีการดูแลผู้ป่วยอย่างปลอดภัย และมีเรื่องเล่าของทีมน�ำงาน คุณภาพหลายทีมน�ำที่อยากจะถ่ายทอดความรู้สึก บรรยากาศ ล�ำดับการท�ำงานอย่างไรถึงท�ำให้ โรงพยาบาลหนองพอกผ่าน HA ในวันที่ 16 กรกฎาคม 2555 ที่ผ่านมา รวมถึงความภาคภูมิใจ ประสบการณ์ต่างๆ ที่มีคุณค่าอย่างมากมายมาเป็นก�ำลังใจให้กับทุกๆ ท่าน การท�ำวิจัยซึ่งส่วนมากจะเป็นผลงานของนักวิชาการสาธารณสุข ที่โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต�ำบล เป็นผลงานที่เยี่ยมยอดเป็นการแก้ปัญหาที่เป็นประเด็นปัญหาของพื้นที่จริงๆ ผลงาน บางชินใช้กระบวนการและความพยายามของทีมงานในพืนทีเ่ พือจัดการปัญหาให้เบาบางลง กระบวนการ ้ ้ ่ วิจัยบางเรื่องต้องปรับแนวคิดปรับกระบวนยุทธ์เพื่อให้เกิดความรู้เกิดทักษะแบบใหม่ ส�ำหรับ CQI ในปีนทมงานมีความภาคภูมใจน�ำเสนออย่างยิงเนืองจากเห็นพัฒนาการของการส่งเรืองว่าในปีแรกๆ ท�ำ ี้ ี ิ ่ ่ ่ CQI เป็นบ้างไม่เป็นบ้าง ถูกบ้างไม่ถกบ้าง ครบวงล้อบ้างไม่ครบบ้าง ต่อมาทีมการท�ำทีครบ 3 P (Purpose ู ่ี ่ process performance) คือเป้าหมายชัด กระบวนการชัดและผลลัพธ์ชัด ปี่ต่อมามีการพัฒนาคุณภาพ ทุกหน่วยงานทุกทีมน�ำ ส�ำหรับปีนี้เป็นที่น่าชื่นชมคือหน่วยงานส่งผลงานหลายเรื่องและมีแต่เรื่องที่มี การด�ำเนินงานที่มีกระบวนการชัดเจน สัมผัสได้ ผลลัพธ์เป็นเลิศอย่างแท้จริง 2
  • 3. ล�ำพังการน�ำเสนอการจัดการความรู้เพียงอย่างเดียว คงไม่เกิดประสิทธิภาพสูงสุดถ้าไม่ได้ ผู้วิพากษ์ผู้ทรงความรู้ ซึ่งในปีนี้มีผู้วิพากษ์ 2 ทีม คือ ทีมวิจัย ประกอบด้วย ดร.นงนภัส คู่วรัญญู เที่ยงกมล อาจารย์ศักดิ์ศรี สืบสิงห์ และอาจารย์สุพะยนต์ ชมภูธวัช ส�ำหรับทีม CQI ประกอบด้วย อาจารย์ น.พ.ประกาศ เจริญราษฎร์ อาจารย์กาญจนา บุตรชน และอาจารย์จันทร์เพ็ญ ชินค�ำ ทั้ง 6 ท่าน เป็นผู้เชี่ยวชาญงานวิจัยและการพัฒนาคุณภาพ นอกจากนั้นท่านยังมีประสบการณ์และมีศิลปะ ในการถ่ายทอดความรู้สู่ผู้ฟังได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดมหกรรมการจัดการความรู้ในครั้งนี้ เครือข่ายบริการสุขภาพอ�ำเภอหนองพอก หวังเป็น อย่างยิ่งว่าจะเกิดขวัญก�ำลังใจของบุคลากรในการที่ตนเป็นแบบอย่างที่ดีส�ำหรับการพัฒนาคุณภาพ ในงาน และเป็นการเสริมพลังให้กับบุคลากรอื่นๆ ในการท�ำงานเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชนใน พื้นที่ ทีมงาน KM ครั้งที่ 4 27-31 สิงหาคม 2555 3
  • 4. สารบัญ สารจากผู้บริหาร 6 ผู้วิพากษ์ 10 พอสว. 18 KM 16 4
  • 5. เครือข่ายสุขภาพ อ�ำเภอหนองพอก 20 กิจกรรม...โรงพยาบาล 24 CQI เล่าเรื่อง 38 วิจัย R2R 86 5
  • 6. สาร สาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ขอชื่นชมทีมงานหนองพอกที่ได้จัดให้มีเวทีจัดการ ความรู้ ครั้งที่ 4 การจัดงานในลักษณะนี้ต้องใช้ความสามารถ ในการบริหารจัดการทีมงานอย่างละเอียดถี่ถ้วน การจัดการ นายแพทย์สุระ วิเศษศักดิ์ ความรู้ถือเป็นความท้าทายอย่างหนึ่งในการพัฒนาวิชาการ สาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด งานสาธารณสุข เนืองจากปัจจัย องค์ประกอบ และกระบวนการ ่ ดำ�เนินงานมีความหลากหลาย และซับซ้อน ถ้าหากขาดการ วางแผนในการเตรียมงานที่ดีแล้ว ก็จะไม่สามารถดำ�เนินการ ให้สำ�เร็จลุล่วงลงไปได้ การที่ทีมงานหนองพอกได้จัดให้มี เวทีจัดการความรู้ ครั้งที่ 4 ขึ้นได้ในวันนี้ ก็ต้องขอชื่นชมทีม บริหาร และคณะทำ�งาน ตลอดถึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านไว้ ณ ที่นี้ ท้ายที่สุด ก็ขอให้การดำ�เนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ ในทุกด้าน และเป็นกำ�ลังใจให้กับทีมงานหนองพอกทุกคน เพื่อพัฒนางานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ให้มีความเจริญ ก้าวหน้า และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนชาวจังหวัด ร้อยเอ็ด ต่อไป 6
  • 7. สาร นายอำ�เภอหนองพอก ภายใต้ ส ภาวการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว ในยุ ค โลกาภิวัตน์ องค์กรต่างๆ จะประสบความสำ�เร็จในการบริหารได้ นอกจากจะมีปัจจัยต่างๆ อันได้แก่ คน เงิน เครื่องมือและการจัดการ นายสมชาย สิงห์กุล แล้ว องค์ความรู้ก็มีส่วนจำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะทำ�ให้การบริหารจัดการ นายอำ�เภอหนองพอก มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ ดังนั้นการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) จึงเปรียบเสมือนเครื่องมือที่มีความสำ�คัญต่อผู้บริหารองค์กร อีกประการหนึ่ง เพราะจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้อย่าง รวดเร็วยิงขึน มีความชัดเจนตรงตามเป้าหมายและบรรลุวตถุประสงค์ ่ ้ ั ผมขอแสดงความยินดีกบเครือข่ายบริการสุขภาพหนองพอก ั ที่ประกอบด้วย โรงพยาบาลหนองพอก สำ�นักงานสาธารณสุขอำ�เภอ หนองพอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บลทุกแห่งและบุคลากร ด้านสาธารณสุขทุกคน ที่จะมีเครื่องมือทางการบริหารที่มีประโยชน์ และช่ ว ยให้ ผู้ บ ริ ห ารองค์ ก รสามารถตั ด สิ น ใจได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึงจะส่งผลให้เครือข่ายบริการสุขภาพ ่ อำ�เภอหนองพอก ประสบความสำ�เร็จในการบริหารจัดการได้อย่างดี ตลอดไป 7
  • 8. สาร ประธานเครือข่ายบริการสุขภาพหนองพอก งานมหกรรมการจัดการความรู้ หน่วยบริการสุขภาพอำ�เภอ หนองพอกได้ดำ�เนินงานมาเป็นปีที่ 4 แล้ว นับว่าเป็นการดำ�เนินงาน ทีมความต่อเนือง มาโดยตลอด ถือได้วาเป็นวัฒนธรรมการเรียนรูของ ่ี ่ ่ ้ องค์กรอย่างแท้จริง เป็นความภาคภูมิใจ ขององค์กรและเครือข่ายที่ นายสุพัชร์ศักย์ พันธุ์ศิลา เราได้ทำ� และทำ�ได้ในสิ่งที่เป็นความงดงามทั้งปวง ได้เห็นพัฒนาการ ประธานเครือข่ายบริการ ของการจัดงาน การจัดรูปแบบของงาน จนกระทั่งการจัดรูปเล่มของ สุขภาพหนองพอก หนังสือ มีทกสิงทุกอย่างให้เราได้เรียนรู้ ขึนกับว่าเราจะนำ�ไปประยุกต์ ุ ่ ้ ใช้ในการทำ�งานจริงอย่างไร ขอขอบคุณผูปฏิบตงานในพืนที่ ผูด�เนินงานทุกท่านทีทำ�งาน ้ ัิ ้ ้ำ ่ ด้วยความเหน็ดเหนื่อย แต่แฝงด้วยความอิ่มเอิบใจที่ได้ทำ�งานอย่าง มีคุณภาพดั่งที่ประจักษ์แก่สายตาของทุกท่านแล้ว ขอให้รักษา ความดีและมาตรฐานนี้ไว้ตลอดไป 8
  • 9. สาร สาธารณสุขอำ�เภอหนองพอก เครื อ ข่ า ยบริ ก ารสุ ข ภาพ (CUP)อำ � เภอหนองพอก ได้ สนับสนุนและส่งเสริมให้บุคลากร พัฒนา CQI นวัตกรรม งานวิจัย R2R R&D ให้พัฒนาขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมมาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ นายสมพร โมครัตน์ ปี 2552 เป็นต้นมา เพือให้เกิดการนำ�สารสนเทศไปประกอบการแก้ไข ่ สาธารณสุขอำ�เภอหนองพอก ปัญหาด้านสุขภาพในพืนที่ โดยการสนับสนุนงบประมาณ ให้บคลากร ้ ุ สาธารณสุขในสังกัด ซึ่งในปีงบประมาณ 2555 นี้ เป็นการสนับสนุน ให้นำ�คำ�ตอบของการวิจัยลงสู่การปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ ในพื้นที่จริง และเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ตามแนวคิดของการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ที่ ดีมีคุณภาพ จะทำ�ให้บุคลากร และหน่วยงานต่างๆ สามารถนำ�ข้อมูล สารสนเทศไปใช้ในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม จากการจัดมหกรรมการจัดการความรู้ของเครือข่ายบริการ สุขภาพอำ�เภอหนองพอก 3 ครั้งที่ผ่านมา ได้ส่งผลให้รูปแบบการ ทำ�งานของเรา มุ่งสู่ความมีมาตรฐาน และมีคุณภาพทางด้านวิชาการ โดยมีการเน้นหนักในรูปแบบการพัฒนางานโดยใช้รูปแบบของงาน วิจัย R2R และ R&D ตามลำ�ดับ เพื่อให้บุคลากรได้มีการใช้เครื่องใน การวิจัยมาแก้ไขปัญหา ตลอดทั้งคณะผู้บริหารฯ เห็นความสำ�คัญ โดยได้สนับสนุนงบประมาณ ให้มีเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางด้าน วิชาการ ตลอดจนส่งผลงานทางวิชาการสู่เวทีวิชาการระดับสูงขึ้น ไป ในครั้งนี้ ข้าพเจ้าขอชื่นชมคณะทำ�งาน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทุกท่านที่ผลักดัน ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ครั้งนี้ และหวังว่าท่าน จะยังคงมุ่งมั่นสู่การพัฒนางานด้านคุณภาพเพื่อให้ เครือข่ายบริการ สุขภาพอำ�เภอหนองพอก“เป็นองค์กรสร้างสุขภาพส่งเสริมการมีสวน ่ ร่วมของภาคีเครือข่ายมีคุณภาพมาตรฐานด้วยวิถีแห่งความพอเพียง ภายในปี 2556” ต่อไป 9
  • 10. ผู้วิพากษ์งานวิจัย ดร. นงนภัส คู่วรัญญู เที่ยงกมล ประวัติการศึกษา 2551 ดุษฎีบัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมคธ (ปริญญาเอก) 2547 ดุษฎีบัณฑิต สาขาสิ่งแวดล้อมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (ปริญญาเอก) 2542 มหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดล้อมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล (ปริญญาโท) 2531 นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง (ปริญญาตรี) 2519 มหาบัณฑิต วิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล (ปริญญาโท) 2517 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล (ปริญญาตรี) ต�ำแหน่งในปัจจุบัน 1. อาจารย์ประจ�ำมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ระดับบัณฑิตศึกษา คณะสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรศาสตร์ 2. อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยมหิดล ระดับบัณฑิตศึกษา คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ศาสตร์ 3. อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยบูรพา ระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ 4. อาจารย์พเศษมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศิลปะศาสตร์ สาขาสตรี ิ ศึกษา 5. อาจารย์รับเชิญมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 6. ทีปรึกษาบริษทวิจยทัวไป และวิจยการตลาดและบริษทข้อมูล คือ บจก. เซทพีส บจก.เพน ่ ั ั ่ ั ั ตากอนเน็ตเวิร์ค มาร์เก็ตติ้ง เร็กตริกซ์ (มาร์เร็กซ์) และ บจก.มาร์เก็ตติ้ง เมทริก 7. กรรมการจัดตั้ง “ศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภาคบริการ” 8. ผู้อ�ำนวยการสถาบันปัญญาญาณ 9. ผู้เชี่ยวชาญตรวจงานวิจัยของวารสารสมาคมนักวิจัยแห่งประเทศไทย 10. อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ระดับบัณฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกิจและ คณะนิติศาสตร์ หนังสือที่ตีพิมพ์ 1. สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา พ.ศ. 2548 (Environment and Development) 2. การบริหารยุคโลกาภิวัตน์ พ.ศ.2550 (Globalization Administration) 3. การวิจัยเชิงบูรณาการแบบองค์รวม พ.ศ. 2551 (Holistically integrative research) 10
  • 11. ผู้วิพากษ์งานวิจัย อาจารย์ ศักดิ์ศรี สืบสิงห์ ประวัติการศึกษา ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วท.ม (วิทยาศาสตร์ทั่วไป) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต ค.บ. (วิทยาศาสตร์ทั่วไป) สถาบันราชภัฏธนบุรี ตำ�แหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจำ�สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ที่อยู่/หน่วยงานสังกัด มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ตำ�บลเกาะแก้ว อำ�เภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด โทรศัพท์ 043-544738-43 โทรสาร 043-544744 ประสบการณ์ด้านการวิจัย 2546 ความตระหนักเกี่ยวกับผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตสาทร กรุงเทพมหานคร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2550 สถานภาพการมีงานท�ำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ประจ�ำปีการศึกษา 2548 - 2549 2550 ความพึงพอใจในการให้บริการของเทศบาลต�ำบลแวง อ�ำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด 2551 ความตระหนักเกี่ยวกับผลกระทบของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 2552 การพัฒนาชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ส�ำหรับครูวิทยาศาสตร์ ระดับ ประถมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 2552 การพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนส�ำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก ในเขตองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเกาะแก้ว อ�ำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด 2553 การศึกษาโครงการขับเคลือนการระดมความคิดแบบมีสวนร่วมเพือลดความเหลือมล�ำ ่ ่ ่ ่ ้ ทางสังคมในพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นและจังหวัด ในเขตพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด 2554 กระบวนการจัดการและการอนุรักษ์แม่น�้ำชี ของประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่บริเวณ ลุ่มแม่น�้ำชี ในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด 2554 การศึกษาพฤติกรรมการใช้และการอนุรักษ์น�้ำของประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่บริเวณ แม่น�้ำชี ในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด 11
  • 12. ผู้วิพากษ์งานวิจัย อาจารย์ สุพะยนต์ ชมภูธวัช ประวัติการศึกษา ปริญญาโท Master of Public Health ( M.P.H ) ( Health System Development ) จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย 21 มี.ค. 2545 ปริญญาตรี - สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ( สาธารณสุขศาสตร์ ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2 พ.ย. 2541 - สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ( บริหารสาธารณสุขแขนงวิชาการบริหารโรงพยาบาล ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 4 ก.พ. 2534 ต�ำแหน่งปัจจุบัน นักวิชาการสาธารณสุข ช�ำนาญการ ที่อยู่/หน่วยงานสังกัด โรงพยาบาลหนองพอก อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด 12
  • 13. ผู้วิพากษ์งาน CQI อาจารย์ นายแพทย์ประกาศ เจริญราษฎร์ ชื่อ นายประกาศ เจริญราษฎร์ ตำ�แหน่ง นายแพทย์กุมารเวชกรรมชำ�นาญการพิเศษ ปัจจุบัน ตำ�แหน่งนายแพทย์กุมารเวชกรรมชำ�นาญการพิเศษ องค์กรแพทย์โรงพยาบาลโพนทอง อำ�เภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ประวัติการศึกษา - ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี 2538 - วุฒิบัตรแพทย์เฉพาะทางสาขากุมารเวชศาสตร์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปี 2546 ความสามารถและประสบการณ์ - เป็นอาจารย์พี่เลี้ยงนักศึกษาแพทย์ - เป็นอาจารย์พิเศษสอนหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษา เบื้องต้น) วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม - เป็นอาจารย์พี่เลี้ยงการพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษาโรคเบื้องต้น) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม - เป็นวิทยากรระบาดวิทยาในงานอนามัยแม่และเด็ก สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด - เป็นวิทยากรพัฒนาศักยภาพสาธารณสุขงานอนามัยแม่และเด็กตามโครงการสายใยรักแห่ง ครอบครัว - เป็นวิทยากรฟื้นฟูอาสาสมัครประจำ�ปี - เป็นคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลโพนทอง - เป็นประธานคณะกรรมการองค์กรแพทย์ โรงพยาบาลโพนทอง - เป็นประธานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว - เป็นประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบดูแลและรักษาผู้ป่วย (PCT) - เป็นประธานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล - เป็นประธานคณะกรรมการระบบยา - เป็นประธานคณะกรรมการพัฒนาสิ่งแวดล้อม อาคาร สถานที่และความปลอดภัย (ENV) - เป็นประธานคณะกรรมการเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลางด้วยสันติวิธีในระบบการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลโพนทอง ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจ - ได้รับรางวัลโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง 13
  • 14. ผู้วิพากษ์งาน CQI อาจารย์ กาญจนา บุตรชน นางสาวกาญจนา บุตรชน พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลธวัชบุรี วุฒิการศึกษา 1. ป.พยาบาลศาสตร์และผดุงครรภ์ชนสูง จากสถาบัน วิทยาลัยพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ ั้ พ.ศ.2527 2. พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการพยาบาล จากสถาบันจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย พ.ศ.2536 3. หลักสูตรการเรียนรูกฎหมายมหาชนด้วยตนเอง จากส�ำนักงานพัฒนาข้าราชการพลเรือน ้ ส�ำนักงาน กพ. เดือนกรกฎาคม 2548 4. หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง พ.ศ.2553 ผลงานที่ส�ำคัญที่ได้เคยปฏิบัติ 1. คณะท�ำงานทีมทีปรึกษาระดับต้นตามโครงการพัฒนาความเข้มแข็งและยกระดับการพัฒนา ่ คุณภาพด้วยเครือข่าย (QRT) ปี 2554 จังหวัดร้อยเอ็ด 2. คณะกรรมการเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการพยาบาลจังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2555 3. คณะกรรมการประเมินมาตรฐานการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2555 ผลงานวิจัย 1. เชิงปริมาณ 1.1 ศึกษาสภาพปัจจุบันและความคาดหวังของประชาชนจังหวัดร้อยเอ็ดต่อการบริการ พยาบาลในโครงการบัตรสุขภาพ พ.ศ.2536 1.2 ศึกษาความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกต่อการบริการของโรงพยาบาลธวัชบุรี พ.ศ.2539 2. เชิงคุณภาพ 2.1 วิถีชีวิตผู้เป็นเบาหวานอ�ำเภอธวัชบุรี พ.ศ.2548 2.2 ความต้องการบริการพยาบาลของผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว พ.ศ.2551 2.3 การพัฒนาศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) ในหมู่บ้านต้นแบบ อ�ำเภอธวัชบุรี พ.ศ.2553 14
  • 15. ผู้วิพากษ์งาน CQI อาจารย์ จันทร์เพ็ญ ชินคำ� นางสาวจันทร์เพ็ญ ชินค�ำ พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ หัวหน้างานห้องคลอด กลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลโพนทอง อ�ำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ประวัติการศึกษา - ประกาศนียบัตรวิชาการพยาบาลและผดุงครรภ์ ที่วิทยาลัยพยาบาลบรมราชธานีชลบุรี จ.ชลบุรี ปี 2528 - วิชาพยาบาลศาสตร์และผดุงครรภ์ขั้นสูงที่วิทยาลัยพยาบาลบรมราชธานีสรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี ปี 2535 - ได้รับอนุมัติบัตรสาขาเวชปฏิบัติทั่วไป (การรักษาโรคเบื้องต้น) ปี 2548 - ปั จ จุ บั น ก�ำลั ง ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโท สาขาการบริ ห ารการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ความสามารถและประสบการณ์ - ผ่านการอบรมด้านการสอนส�ำหรับพยาบาลพี่เลี้ยง ปี 2550 - ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการการให้การปรึกษาเรื่องเอดส์หลักสูตรการให้การปรึกษาขั้นสูง ปี 2551 - ผ่านการพัฒนาศักยภาพผู้บริหารทางการพยาบาลตามรูปแบบระบบบริหารบริการที่พึงประสงค์ ปี 2552 - ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การพยาบาลด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อเบื้องต้นใน สถานบริหารสาธารณสุข” ปี 2553 - เป็นคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล - เป็นเจ้าหน้าที่พัสดุฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลโพนทอง - เป็นเลขานุการงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลโพนทอง - เป็นพยาบาลพี่เลี้ยงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล - เป็นคณะกรรมการทีมตรวจประเมินคุณภาพระดับ CUP BOARD - เป็นคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพทางการพยาบาล(QA) ระดับเครือข่าย - เป็นวิทยากรพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขงานอนามัยแม่และเด็กโครงการสายใยรักแห่ง ครอบครัวของส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด - เป็นวิทยากรการพัฒนาคุณภาพระดับปฐมภูมิ ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจ - ได้รับคัดเลือกเป็นทีมศูนย์สุขภาพชุมชนดีเด่น ประจ�ำปี 2545 ระดับเขต - ได้รับรางวัลโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง 15
  • 16. เล่าอดีต มหกรรมการจัดการความรู้ ครั้งที่ 1 วันที่ 24 - 28 สิงหาคม 2552 ครั้งที่ 2 วันที่ 21 - 25 มิถุนายน 2553 ครั้งที่ 3 วันที่ 27 - 30 มิถุนายน 2554 16
  • 17. 17
  • 21. อำ�เภอหนองพอก จักรยานเสือภูเขา 21
  • 24. กิจกรรม... คลินิกเฉพาะโรคผู้ป่วยหนาแน่น คุณหมอตรวจเยี่ยมผู้ป่วยทุกเช้าเย็น ผู้ป่วย ER ล้นห้อง เด็กงอแง ที่ ER ทำ�บุญ 24
  • 25. ในโรงพยาบาลหนองพอก พยาบาลคนสวยคัดกรองผู้ป่วย ที่นั่งเฉพาะพระภิกษุรอตรวจ รับส่งเวรที่ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยล้นเตียง ปลูกต้นไม้ อุปกรณ์ป้องกัน ครบที่งานจ่ายกลาง 25
  • 26. HA โรงพยาบาลหนองพอก ความภูมิใจของบุคลากรทุกคนที่ทำ�ให้โรงพบายาลหนองพอก อาจารย์นิศมา ภุชคนิตย์ เยี่ยมประเมิน ผู้ป่วยนอก ห้องคลอด ห้องผ่าตัด อาจารย์ ดร. สิริรัตน์ เนตรประภา เยี่ยมประเมินจ่ายกลาง ซักฟอก โรงครัว ยานพาหนะ โรงเก็บขยะ ช่าง Lab X-ray 26
  • 27. 24 - 25 เมษายน 2555 ผ่านการประเมินกระบวนการพัฒนาคุณภาพ (HA) อาจารรย์ นพ.วิโรจน์ เลิศพงศ์พิพัฒน์ เยี่ยมประเมินผู้ป่วยใน อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน ฝ่ายเภสัชกรรม 27
  • 28. กิจกรรม... ห้องฉีดยา เป็นภาระงานของห้องผ่าตัด ห้องชันสูตร บริการรวดเร็ว รายงานผลถูกต้อง งาน IT ทำ�งานทั้งวันกับคอมฯ ปีนี้คุณตรวจมะเร็งปากมดลูกแล้วหรือยัง สิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้ 28
  • 29. ในโรงพยาบาลหนองพอก มุมส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ PCU X-ray พร้อมให้บริการตลอดเวลา อาหารสะอาด อร่อย ถูกคนถูกโรค ผ้าหอมสะดวกพร้อมใช้ 29
  • 30. เยี่ยมบ้าน... ทีมแพทย์ พยาบาล กายภาพ ร่วมกันระหว่าง แผนไทย ทันตกรรม ทั้ง รพ.และ รพ.สต หนทางที่ลำ�บาก ฝึกใช้อุปกรณ์ ฝึกทำ�แผล ตรวจรักษาที่บ้าน ดูแลสุขภาพปาก ฟัน 30
  • 31. รพ.หนองพอก รพ.สต และ อสม. เยี่ยมถึงบ้านเห็นความเป็นอยู่ ด้วยความอบอุ่น ฝึกให้อาหารทางสายยาง ฝึกทำ�กายภาพ ตัดผมที่สวน นวดประคบสมุนไพร ชุมชนเข้มแข็ง และพึงตนเองได้ ่ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม 31
  • 32. Context Based เรียนทฤษฎี เวชศาสตร์ครอบครัว ปฏิบัติรักษา 32
  • 34. 34
  • 36. กิจกรรม... เปลี่ยนเครื่องทรง ไหว้ศาล รับรถ R สมาคมโรคหัวใจ โดยอาจารย์เพ็ญจันทร์ แสนประสาน อาจารย์กนกพร แจ่มสมบูรณ์ กับกิจกรรมโรคหัวใจ ดูแล 36
  • 37. ในโรงพยาบาลหนองพอก Refer หลวงปู่หล้าที่วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี โดยหลวงปู่อินทร์ถวาย และญาติโยม ออกหน่วยพบประชาชนทุกตำ�บลในช่วงเย็น ลสุขภาพช่องปากผู้พิการ โดยอาจารย์ และทีมทันตแพทย์ทั้งจังหวัดร้อยเอ็ด 37
  • 38. พระรุ่นใหม่ไม่สูบบุหรี่ นางรัชนี ระดา พยาบาลวิชาชีพ ปัญหา / ที่มา ในเทศกาลเข้าพรรษาปี 2554 พระอาจารย์เจ้าอาวาสวัดป่าค�ำโพนสูงได้บวชพระ/เณรใหม่ จ�ำนวนทั้งหมด 41 รูป มีพระ/เณรติดบุหรี่ 29 รูป และสาเหตุที่ส�ำคัญคือ สาเหตุการสูบบุหรี่ - เห็นบิดา ผู้ใหญ่สูบบุหรี่เลยสูบตาม - เห็นเพื่อนสูบบุหรี่เลยสูบตาม - เคยเลิกสูบบุหรี่เองแต่ไม่ส�ำเร็จ - เมื่อสูบสูบบุหรี่รู้สึกผ่อนคลาย ไม่เคยคิดจะเลิกบุหรี่ - มีโรคประจ�ำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เมื่อเลิกบุหรี่แล้วหงุดหงิด ปัญหาต่อสุขภาพ - เป็นสาเหตุท�ำให้เกิดโรคทางเดินหายใจบ่อย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ติดบุหรี่เข้าถึงบริการบ�ำบัดรักษา 2. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถเลิกบุหรี่ได้มากขึ้น เป้าหมาย เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สามารถเลิกบุหรี่ได้มากกว่า 80 % กลุ่มเป้าหมาย เป็นพระภิกษุ สามเณรบวชใหม่ที่ติดบุหรี่ในวัดป่าค�ำโพนสูง จ�ำนวน 29 ราย - พระภิกษุ จ�ำนวน 23 ราย - สามเณร จ�ำนวน 6 ราย แนวทางการด�ำเนินงาน 1. สอบถามมูลเหตุจูงใจของการสูบบุหรี่ 2. ทดสอบภาวะการณ์ติดสารนิโคติน โดยใช้แบบประเมินภาวะการณ์ การติดสารนิโคติน 3. ให้ความรู้เรื่องบุหรี่ โทษพิษภัยบุหรี่ 4. ให้ค�ำปรึกษารายบุคล โดยยึดหลัก 5 A คือ Ask=ถาม, Assess=ประเมิน, Arrange=ติดตามให้ รับการรักษา เลิกบุหรี่, Advise=แนะน�ำให้เลิกบุหรี่, Assist= ช่วยให้เลิกบุหรี่ 5. ท�ำกิจกรรมกลุ่มบ�ำบัด โดยแบ่งเป็นกลุ่มละ 10-11 ราย จ�ำนวน 4 กลุ่ม 6. ให้การบ�ำบัดรักษาโดยใช้นิโคตินทดแทน 7. พระอาจารย์เจ้าอาวาสสอนหลักธรรมะทุกวันตอนเย็นหลังท�ำวัด ระยะเวลาด�ำเนินการ ช่วงเข้าพรรษา 16 กรกฎาคม – 12 ตุลาคม 2554 ผลการด�ำเนินงาน ก่อนด�ำเนินการ มูลเหตุแรงจูงใจ - เห็นเพื่อนสูบ อยากสูบตาม เพื่อนชวน 38
  • 39. CQI - อยากหยุดสูบบุหรี่เพราะเห็นว่าไม่มีประโยชน์ เคยหยุดแล้วหยุดไม่ได้ - บุคคลในครอบครัวบ่น - มีโรคประจ�ำตัวหยุดบุหรี่แล้วหงุดหงิด หลังด�ำเนินการ พระภิกษุติดบุหรี่จ�ำนวน 23 ราย เลิกบุหรี่ได้ 15 ราย (65.21%) สูบบุหรี่ลดลง 5 ราย สามเณรติดบุหรี่จ�ำนวน 6 ราย เลิกบุหรี่ได้ 6 ราย (100%) รวมเลิกบุหรี่ได้ทั้งหมด 21 ราย (91.20%) ไม่สามารถเลิกได้ 2 ราย (8.6%) สรุปการให้ค�ำปรึกษารายบุคคล 29 รายพบว่า สาเหตุการสูบบุหรี่ - เห็นบิดา ผู้ใหญ่สูบบุหรี่เลยสูบตามจ�ำนวน 20 ราย (68.96 % ) - เห็นเพื่อนสูบบุหรี่เลยสูบตาม จ�ำนวน 9 ราย (31.03 %) อยากเลิกสูบบุหรี่เพราะ - รู้ว่าบุหรี่มีโทษมากกว่าประโยชน์ จ�ำนวน 25 ราย (86.20%) - พระอาจารย์เจ้าอาวาสบอกให้เลิก จ�ำนวน 4 ราย (13.79 %) เคยเลิกสูบบุหรี่เอง - เคยเลิกเองแต่ไม่ส�ำเร็จ จ�ำนวน 11 ราย (37.93% ) - ไม่เคยเลิกสูบบุหรี่ จ�ำนวน 18 ราย (62.07%) มีปัญหาสุขภาพหรือไม่ - มีปัญหาสุขภาพเป็นโรคทางเดินหายใจบ่อยจ�ำนวน 4 ราย (13.79%) - มีโรคประจ�ำตัวแพทย์แนะน�ำให้เลิก เช่น เบาหวาน 1 ราย ความดันโลหิตสูง 2ราย(10.34%) สรุปการท�ำกิจกรรมกลุ่ม - สมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่รู้โทษ พิษภัยของบุหรี่แต่ไม่สามารถเลิกบุหรี่ได้เพราะหงุดหงิดง่าย กระวนกระวายใจ ไม่สามารถท�ำงานได้เต็มที่คิดอะไรไม่ออก สมาชิกในกลุ่มเห็นว่าตัวเองคนเดียวคงจะเลิกบุหรี่ไม่ได้จึงต้องปรึกษา เจ้าหน้าที่ - สมาชิกกลุ่มช่วยเตือนกัน ถ้ามีสมาชิกในกลุ่มหิวบุหรี่ให้เตือนสติกัน ชวนกันออกก�ำลังกายในพระหนุ่ม/สามเณร เช่น กวาดลานวัด ท�ำความสะอาดห้องน�ำ พระทีสงอายุจะพูดคุยแลกเปลียนธรรมะกัน และหรืออมลูกมะแว้ง หรือ ้ ู่ ่ ใช้เทคนิคที่เจ้าหน้าที่สอน เช่น หยิกตัวเองแรงๆ ตะโกนดังๆ เตือนสติตนเองบ่อยๆว่าบุหรี่มีแต่โทษไม่มีประโยชน์ นั่งสวดมนต์ สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ ความเชื่อ ความศรัทธาต่อพุทธศาสนา การเสริมแรงทางบวกเป็นแรงจูงใจส�ำคัญที่สามารถท�ำให้ผู้ติดบุหรี่ สามารถงดบุหรี่ได้ แผนที่จะด�ำเนินการต่อไป 1. ด�ำเนินคลินิกอดบุหรี่ในคลินิกโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น หอบหืด เบาหวานและความดันโลหิตสูง มีการติดตามประเมิน ก่อนและหลังด�ำเนินการ 2. มีการประกวดผลการด�ำเนินการในแต่ละหน่วยงานในการรณรงค์ให้ความรู้กับผู้รับบริการและผู้รับบริการสามารถ อดบุหรี่ได้ 3. จัดระบบนัด การติดตามทางโทรศัพท์ การติดตามเยี่ยมบ้าน 39
  • 40. ประเมินผลการใช้การใช้แบบบันทึกเวชระเบียน งานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน นางวิรังรอง ไชยจิตร พยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการ หัวหน้างานอุบิตเหตุ - ฉุกเฉิน ปัญหาและบริบทของงาน การบันทึกทางการพยาบาลในงานอุบัติเหตุ – ฉุกเฉิน โรงพยาบาลหนองพอก อาศัยแบบบันทึก OPD Card ที่เป็นการลงข้อมูลเกี่ยวกับอาการส�ำคัญ ประวัติการเจ็บป่วย การตรวจร่างกาย การรักษา ซึ่งการบันทึกทาง การพยาบาลยังไม่มีการบันทึกมาก่อน เนื่องจากเป็นหน่วยงานที่ต้องการความรีบด่วนในการดูแลผู้ป่วย การบันทึก ผลการปฏิบตการพยาบาลไม่สามารถท�ำการบันทึกได้ชดเจน ต่อเนือง ทังทีมการปฏิบตการพยาบาลทีเ่ ป็นการบรรเทา ัิ ั ่ ้ ่ี ัิ อาการหรือภาวะเจ็บป่วยของผู้ป่วย ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนาแบบบันทึกเวชระเบียนงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินขึ้น เพื่อให้ สามารถบันทึกทางการพยาบาลที่ปฏิบัติได้ง่าย โดยอาศัยวิธีการบันทึกแบบ Focus charting และยังเป็นการ บูรณาการน�ำ SBAR Tool มาใช้เพื่อการสื่อสารหรือรายงานแพทย์เวรให้มีความชัดเจน และครบถ้วนยิ่งขึ้น ขั้นตอนการด�ำเนินงาน -ประชุมกลุ่มการพยาบาล เรื่องการบันทึกทางการพยาบาลแบบ Focus charting, ก�ำหนด รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลของงานอุบตเิ หตุ-ฉุกเฉิน และก�ำหนดวิธปฏิบตให้มการบันทึกทางการพยาบาลใน ั ี ัิ ี ผู้ป่วยกลุ่ม Urgent Emergency และ Resuscitation อย่างน้อยร้อยละ 60 , ด�ำเนินการใช้แบบบันทึกเวชระเบียน งานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน ตั้งแต่เมษายน – มิถุนายน 2555 รวม 3 เดือน , ท�ำการประเมินผลโดยใช้แบบสอบถาม ความคิดเห็นที่สร้างขึ้นเอง ผลการด�ำเนินงาน จากการประเมินผลผู้ที่ใช้แบบบันทึกเวชระเบียนงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน จ�ำนวน 20 คนพบว่า 1) ข้อมูลส่วนบุคคลด้านอายุงาน พบว่าอายุงานระหว่าง 16-20 ปี มีจ�ำนวนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 25 รองลงมามีอายุงาน 10-15 ปี ร้อยละ 20 ส่วนอายุงานที่น้อยที่สุดคือน้อยกว่า 1 ปี ร้อยละ 5 2) วิชาชีพพยาบาล จ�ำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 90 ส่วน EMT-I 2 คน คิดเป็นร้อยละ 10 3) ผลการใช้แบบบันทึกเวชระเบียนงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน พบว่า สามารถบันทึกทางการพยาบาลงาน ER ได้ เห็นด้วยมากที่สุด จ�ำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 85 รองลงมาเห็นด้วยกับการบันทึกที่เห็นประเด็นส�ำคัญ ของผู้ป่วยชัดเจนขึ้น ท�ำให้ใช้ข้อมูลเพื่อการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องได้ ร้อยละ 75 สามารถบันทึกข้อมูลส�ำคัญได้ กะทัดรัด ชัดเจนขึ้น และโดยภาพรวมท่านพอใจในการบันทึกแบบใหม่มากกว่าแบบเดิม ร้อยละ 70 ส่วน การบันทึกใช้เวลาน้อยลง เห็นด้วยน้อยที่สุดร้อยละ 60 ทั้งนี้อาจเนื่องจากยังไม่เคยมีการบันทึกทาง การพยาบาลในหน่วยงาน ER มาก่อนจึงท�ำให้ต้องใช้เวลาในการบันทึก และส่วนของการรายงานแพทย์ ครบถ้วนตาม SBAR tool เห็นด้วย ร้อยละ 65 40
  • 41. CQI โอกาสพัฒนา 1. ปรับเปลี่ยนแบบบันทึกเวชระเบียนงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินใหม่โดยลดตัวรายละเอียดของข้อความลง และ ปรับช่องว่างให้มีขนาดใหญ่ขึ้น 2. ประเมินผลการบันทึกทางการพยาบาลงานอุบัติเหตุ – ฉุกเฉินในเชิงคุณภาพ และสรุปในรูปแบบ R2R ตารางสรุปผลการประเมินการใช้แบบบันทึกเวชระเบียนงานอุบัติเหตุ - ฉุกเฉิน ความคิดเห็น ข้อคำ�ถาม ไม่เห็นด้วย เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย อย่างยิ่ง 1. สามารถบันทึกทางการพยาบาลงาน ER ได้ 3 คน (15%) 17 คน (85%) 2. การบันทึกใช้เวลาน้อยลง 1 คน (5%) 12 คน (60%) 7 คน (35%) 3. สามารถบันทึกข้อมูลสำ�คัญได้กะทัดรัด และ ชัดเจนขึ้น 3 คน (15%) 14 คน (70%) 3 คน (15%) 4. เห็นประเด็นสำ�คัญของผู้ป่วยชัดเจนขึ้น ทำ�ให้ใช้ ข้อมูลเพื่อการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องได้ 4 คน (20%) 15 คน (75%) 1 คน (5%) 5. การรายงานแพทย์ครบถ้วนตาม SBAR tool 3 คน (15%) 13 คน (65%) 4 คน (20%) 6. โดยภาพรวมท่านพอใจในการบันทึกแบบใหม่ มากกว่าแบบเดิม 3 คน (15%) 14 คน (70%) 3 คน (15%) 41
  • 42. โครงการประดิษฐ์วัสดุจากธรรมชาติและเศษวัสดุเหลือใช้ “แจกันและถุงใส่ใบเตยหอม” นายไพรัตน์ นามสง่า นางจรัสศรี อาจญาทา นางงามทิพย์ ทิพย์สนุก งานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลหนองพอก หลักการและเหตุผล สิ่งของที่ใช้แล้วที่หาได้ในหน่วยงาน เช่น หมวกคลุมผม หรือขวดน�้ำที่ใช้แล้ว ถ้าหากมีการน�ำมาประยุกต์ ใช้แทนวัสดุที่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม น่าจะช่วยลดปัญหาโลกร้อนได้ การ Recycle reuse reduce เป็นการน�ำสิ่งของ กลับมาใช้ใหม่ ดังนั้นให้เกิดประโยชน์และเพิ่มคุณค่า จึงประดิษฐ์แจกันที่ท�ำจากหมวกและถุงใส่ใบเตยหอม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อน�ำวัสดุเหลือใช้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เพื่อเป็นการน�ำวัสดุที่มีอยู่ในธรรมชาติมาเพิ่มคุณค่า กระบวนการ เตรียมวัสดุ-อุปกรณ์ กรรไกร มีดคัดเตอร์ เชือกฟางยาว 6 นิ้ว หมวกครอบผมที่ใช้แล้ว ใบเตยสด ที่คริปกระดาษ ลูกแม็ก จานรอง แก้ว ขวดน�้ำเปล่าที่ใช้แล้วขนาด 750 มิลลิลิตร ขั้นตอนด�ำเนินการ 1. ขวดน�้ำเปล่าที่ใช้แล้วมาตัดขวดออกครึ่งหนึ่ง เลือกเอาส่วนก้น 2. น�ำหมวกที่ใช้แล้วหลังผึ่งแดด 1 วัน น�ำมาห่อขวดที่ตัดไว้แล้ว ใช้ยาง/เชือกฟางรัดห่างจากขอบปากขวด ประมาณ 2 ซม. ตัดขอบหมวกตัดแล้วแต่งให้ปลายขอบหมวกเป็นระบายตามความสมัครใจ ถ้ามีหมวก หลายสีให้ใส่ทับซ้อนกันก็จะท�ำให้เพิ่มสีสัน 3. น�ำใบเตยมาจัดเป็นช่อดอกไม้และเสียบในแจกัน ดังภาพ 4. หรือน�ำใบเตยมาตัด (เลือกตามจ�ำนวนทีเ่ หมาะสม) ดังภาพ แล้วเทใส่หมวก จัดเป็นรูปต่างๆ น�ำไปไว้ในห้องน�ำ ้ ในรถยนต์เพิ่มกลิ่นหอม ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. มีผู้นิยมใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติมากขึ้น 2. ผลิตภัณฑ์ใบเตยสดช่วยเพิ่มกลิ่นหอมในห้องน�้ำ รถยนต์ ความสวยงามในห้องท�ำงาน 42
  • 43. CQI 1 เซ็นติเมตร เท่ากับ 100 กรัม...จริงหรือ หน่วยงานห้องคลอด โรงพยาบาลหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ปัญหาและบริบทงาน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคลอด 3 อย่าง คือ Power , Passage , Passenger ซึ่งหนึ่ง ใน Passenger ก็คือขนาดและน�้ำหนักของทารก เนื่องจากการคาดคะเนน�้ำหนักของทารกในครรภ์ที่เคยปฏิบัติมาเมื่อมีผู้มาคลอดคือการคาดคะเนด้วย สายตาทางหน้าท้อง แต่จากข้อมูลที่ผ่านมา การคาดคะเนด้วยสายตามีความผิดพลาดสูง ตั้งแต่ 100 กรัมถึง 1000 กรัม เลยทีเดียว แต่จากทฤษฎีบอกไว้ว่าสามารถวัดความสูงของมดลูกเพื่อคาดคะเนน�้ำหนักของทารก ในครรภ์ได้ หน่วยงานห้องคลอดจึงได้น�ำมาทดลองใช้ในหน่วยงาน การด�ำเนินงาน ท�ำการทดลองวัดความสูงของมดลูกเป็นเซนติเมตร เมื่อแรกรับผู้มาคลอดในวันเวลาราชการ ได้เริ่มท�ำการเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือน พ.ค.- ก.ค. 2555 จ�ำนวน 30 ราย โดยมีวิธีด�ำเนินการดังต่อไปนี้ 1. วัดความสูงของมดลูกจาก Symphysis Pubis ถึงยอดมดลูก 2. บันทึกความสูงของยอดมดลูกไว้ในทะเบียนคลอด 3. เมื่อคลอดแล้วบันทึกน�้ำหนักทารกแรกเกิดที่ทะเบียนคลอด 4. ท�ำการเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างความสูงของมดลูกที่วัดได้จริงกับน�้ำหนักของทารกแรกเกิดที่ชั่งได้จริง 5. สรุปและวิเคราะห์ข้อมูล ผลลัพธ์ 1. น�้ำหนักของทารกแรกเกิดจริงกับความสูงของมดลูกที่วัดได้มีความคลาดเคลื่อน 10-100 กรัม คิดเป็น 70 % 2. คลาดเคลื่อนมากกว่า 100 กรัมขึ้นไป คิดเป็น 30 % 3. ความคลาดเคลื่อนน้อยสุด คือ 10 กรัม ( 1 ราย ) 4. ความคลาดเคลื่อนสูงสุด คือ 400 กรัม ( 1 ราย ) บทเรียนที่ได้รับ 1. ความผิดพลาดเกิดขึ้นได้เนื่องจากการวัดไม่ถูกต้อง เช่น - วัดจุดเริ่มต้นที่ไม่ใช่ Symphysis pubis ที่แท้จริง - วัดจุดสูงสุดที่ไม่ใช่ยอดมดลูกที่แท้จริง 2. ถ้าจะวัดให้ได้แม่นย�ำจริงๆจะต้องมีการฝึกทักษะ โอกาสพัฒนา 1. พัฒนาการวัดให้แม่นย�ำขึ้น 2. ฝึกทักษะให้พยาบาลทุกคนที่ขึ้นปฏิบัติงานที่ห้องคลอดให้สามารถวัดได้อย่างแม่นย�ำ 43
  • 44. กระบวนการ : ป้องปรามการละเมิดจริยธรรมเพื่อพิชิตข้อร้องเรียน ดุษฎี สุจารี : กลุ่มงานการพยาบาล ปัญหาและบริบท ปัจจุบันประชาชนสนใจการปกป้องและรักษาสิทธิของตนเอง มีความคาดหวังสูงขึ้นในการดูแลรักษาพยาบาลตาม มาตรฐานวิชาชีพ มีผู้รับบริการและภาระงานมากขึ้น จึงท�ำให้เกิดข้อขัดแย้งระหว่างผู้รับบริการและผู้ให้บริการ ในปี 50-52 ปัญหาข้อร้องเรียน ความไม่พึงพอใจในเรื่องพฤติกรรมบริการ การสื่อสาร การให้ข้อมูล สิทธิผู้ป่วยเพิ่มขึ้น จึงมีนโยบาย พัฒนารูปแบบการด�ำเนินการแก้ไข เฝ้าระวัง ป้องกันที่เป็นระบบมากยิ่งขึ้น จนข้อร้องเรียนลดลงตามล�ำดับ เป้าหมาย 1. ข้อร้องเรียน และการละเมิดจริยธรรมลดลง 2. มีวิธีปฏิบัติ ระเบียบปฏิบัติ จริยธรรมวิชาชีพ บุคลากรทุกคนรับทราบและถือปฏิบัติ 3. เฝ้าระวัง ป้องกันความเสี่ยง ข้อร้องเรียนและละเมิดจริยธรรมเมื่อเกิดแก้ไข 100% 4. บุคลากรทางการพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินคุณธรรมจริยธรรมวิชาชีพ >80% 5. บุคลากรทางการพยาบาลมีพฤติกรรมบริการที่ดี กระบวนการ 1. ประกาศนโยบายจากผู้บริหาร 2. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบข้อร้องเรียน ความเสี่ยง และคณะกรรมการไกล่เกลี่ย 3. ทุกหน่วยงานทบทวนความเสี่ยงด้านจริยธรรม ปรับเปลี่ยนระบบงานบุคลากรให้เหมาะสม งาน 5ส. ปรับ ภูมิทัศน์ 4. จัดตั้งชมรมคุณธรรม จริยธรรม จัดท�ำวิธีปฏิบัติ ระเบียบปฏิบัติ กฎระเบียบ บทลงโทษ วัฒนธรรมองค์กร ประชุมชี้แจง ประกาศให้รับทราบทุกคน 5. จัดท�ำโครงการส่งเสริมและกระตุ้นคุณธรรมจริยธรรมวิชาชีพ เช่น จัดท�ำโครงการส่งเสริมและสนับสนุน พฤติกรรมบริการที่เป็นเลิศ OD ESB บุคลากรต้นแบบ คนดีคนเด่นในดวงใจ ฝึกปฏิบัติธรรม 100% จัดบรรยายธรรม ทุกเดือน และน�ำพฤติกรรมบริการมาร่วมพิจารณาความดีความชอบ 6. เฝ้าระวังค้นหาความเสี่ยงด้านจริยธรรมจากทีมความเสี่ยง ตู้แสดงความคิดเห็น การบอกเล่า กรรมการที่ ปรึกษา รพ. ชุมชน รายงานสรุปเวรทุกวันทุกเวร เมื่อพบข้อร้องเรียนได้รับการแก้ไขทุกความเสี่ยง ถ้ามีข้อพิพาทมี คณะกรรมการไกล่เกลี่ยในการจัดการ 7. ติดตาม นิเทศ ควบคุม ก�ำกับ สรุป ประเมินผล 8. สอบถามความต้องการจากผู้รับบริการ มีการประเมินคุณธรรม จริยธรรมโดยพยาบาล (ตนเอง) ปีละ 2 ครั้ง ผลลัพธ์ 1. ข้อร้องเรียน และการละเมิดจริยธรรมลดลง ปี 52=11ฉบับ , ปี 53=1ฉบับ , ปี 54=2 ฉบับ ,ปี55=1ฉบับ 2. มีวิธีปฏิบัติ ระเบียบปฏิบัติ กฎระเบียบ บทลงโทษ วัฒนธรรมองค์กรที่ดี 3. พฤติกรรมบริการของบุคลากรทางการพยาบาลดีขึ้นได้รับค�ำชื่นชม 4. บุคลากรทางการพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินคุณธรรมจริยธรรมวิชาชีพ ปี 2555 83.54% 5. ในปี 55 ความพึงพอใจของผู้รับบริการผ่านเกณฑ์ ≥80% ผู้ป่วยนอก 84.40% ผู้ป่วยใน 86.25% บทเรียนทีได้รับ 1. การท�ำงานต้องมีระบบ ส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นอย่างต่อเนื่อง มีวิธีปฏิบัติ ระเบียบปฏิบัติ กฎระเบียบลงโทษ และเสริมสร้างขวัญก�ำลังใจในการท�ำงาน 2. การปฏิบัติตามคุณธรรม จริยธรรมวิชาชีพ กฎระเบียบ การบริการด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ ละลดความเสี่ยงข้อร้องเรียน 3. การเฝ้าระวัง นิเทศ ติดตาม ควบคุม ก�ำกับ ประเมินผล มีความส�ำคัญจ�ำเป็นมากในการท�ำงาน 4. การธ�ำรงรักษาความดีไว้ให้ต่อเนื่องนั้นต้องมีการด�ำเนินต่อไป 44
  • 45. CQI การออกก�ำลังกายด้วยยางยืดแบบประยุกต์ เพื่อฟื้นฟู สมรรถภาพปอดในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Modified elastic band exercise to pulmonary rehabilitation in COPD patient) ภัทรา สุศิลา กายภาพบ�ำบัด บทน�ำ ในปัจจุบันมีผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเพิ่มขึ้นจ�ำนวนมาก ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักอาการหายใจล�ำบาก หอบ เหนื่อยง่าย ซึ่งมีสาเหตุมาจากความแข็งแร งของกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจเข้าและหายใจออกลดลง ท�ำให้ ความสามารถในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ลดลงตามมา และเนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่มักไม่ให้ความส�ำคัญกับการ ออกก�ำลังกาย รวมถึงไม่รู้วิธีการออกก�ำลังที่เฉพาะเจาะจงจึงท�ำให้ไม่ได้รับการฟื้นฟู ดังนั้นงานกายภาพบ�ำบัดจึงเล็ง เห็นถึงความส�ำคัญในการออกก�ำลังกายในผู้ป่วยกลุ่มนี้ และ พบว่า การออกก�ำลังกายร่างกายส่วนบนโดยใช้แถบยาง ซึ่งเป็นการออกก�ำลังกายแบบมีแรงต้าน จะเป็นการออกก�ำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อร่างกาย ส่วนบน โดยเฉพาะบริเวณแขน หัวไหล่ ทรวงอก ซึงเป็นกล้ามเนือทีชวยในการหายใจ เป็นการเพิมการเคลือนไหวของ ่ ้ ่่ ่ ่ ทรวงอก ท�ำให้ทรวงอกและปอดมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น และหายใจเหนื่อยหอบลดลง และเพิ่มความสามารถใน การท�ำกิจกรรมของผู้ป่วย แต่เนื่องจากแถบยางยืดตามมาตรฐานหาได้ยากและราคาแพง ดังนั้นงานกายภาพบ�ำบัด จึงได้ประยุกต์แถบยางยืดเพื่อใช้ส�ำหรับการออกก�ำลังกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เป้าหมาย 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้มีแนวทางในการออกก�ำลังกายอีกรูปแบบหนึ่ง 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นได้ตระหนักถึงการออกก�ำลังกาย วิธีด�ำเนินงาน 1. จัดท�ำอุปกรณ์ยางยืดแบบประยุกต์ 2. ทดลองใช้ 3. ขยายผลแนะน�ำการอออกก�ำลังกายโดยใช้ยางยืดแบบประยุกต์ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผลลัพธ์ 1. ได้อุปกรณ์ในการออกก�ำลังกายแบบประยุกต์เพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพปอด 2. ผู้ป่วยให้ความร่วมมือและมีความสนใจในการออกก�ำลังกายมากขึ้น 3. ได้แนวทางในการออกก�ำลังกายแบบใหม่ที่เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โอกาสพัฒนา ขยายผลเพื่อเป็นแนวทางในการออกก�ำลังกายแก่ รพ.สต. 45
  • 46. กระจับน้อยคอยรัก นายอิสรานุกฤต เย็นวัฒนา นักรังสีการแพทย์ ปัญหา เนื่องจากปัจจุบันนี้หน่วยงานรังสีวิทยาได้มีการถ่ายภาพเอกซเรย์บริเวณอวัยวะเพศเป็นจ�ำนวนมากไม่ว่าจะ เป็นการถ่าย KUB , L-S SPINE , PELVIS และอื่นๆ เป็นจ�ำนวนมาก แต่ทางหน่วยงานรังสิวิทยา โรงพยาบาล หนองพอกไม่มี GONAD SHIELD ป้องกัน อวัยวะเพศให้ผู้ป่วยเลย ทางหน่วยงานรังสีวิทยา จึงได้ผลิตและ คิดค้นอุปกรณ์การป้องกันอวัยวะเพศขึ้นมาซึ่งมีชื่อเรียกว่า กระจับน้อยคอยรัก ขั้นตอนการด�ำเนินการ 1. ขอฟิล์มเอกซเรย์ฟันที่ใช้แล้วจากห้องทันตกรรม 2. นับแผ่นฟิล์มมาต่อกันให้มีความหนาประมาณ 20 แผ่น 3. น�ำกาวมาติดให้เข้ากัน 4. น�ำฟิล์มที่ได้ไปตัดตกแต่งเป็นรูปต่างๆ ที่ต้องการ 5. น�ำฟิล์มที่ตกแต่งแล้วมาใส่ที่หุ้มใหม่นั้นก็คือผ้า ตัดตกแต่งผ้าตามขนาดที่ต้องการ ผลการด�ำเนินงาน ได้น�ำไปใช้กับผู้ป่วยทั้งสิ้น 10 ราย ได้ผลคือป้องกันอันตรายจากรังสีได้ โอกาสพัฒนา ทางหน่วยงานรังสีวิทยาจะน�ำความรู้นี้ไปผลิตเป็น THYROID SHIELD 46