SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  50
Télécharger pour lire hors ligne
CQI
           การพัฒนาระบบส่งรายงานการเงินเกณฑ์คงค้าง
                                                                         นายไผ่ล้อม ศรีหาตา ผู้เรียบเรียง
                                                                   นางสาวณัธฐยาน์ เศษบุบผา ผู้น�ำเสนอ
                                                         งานการเงิน กลุ่มงานการจัดการ (บริหารงานทั่วไป)
ปัญหา
	   1.	 ตัวชี้วัดการส่งรายงานการเงินเกณฑ์คงค้าง ของ สปสช.ปี พ.ศ. 2553 -2554  ไม่ถึงเป้าหมาย และจัดอยู่
        ล�ำดับ รองสุดท้ายของโรงพยาบาลชุมชนในระดับเขต 12  (จ�ำนวน  64  รพช.)
	   2.	 เจ้าหน้าที่การเงินผู้รับผิดชอบลาออกในปี 2553   จ�ำนวน  2  คน
	   3.	 การส่งรายงานไม่ทันเวลา ไม่ถูกต้อง  ทั้งของ  รพช. และ สสอ.
สาเหตุ
	   1.	 ผู้ปฏิบัติงานยังไม่เข้าใจระบบการส่งรายงาน และการแปลงข้อมูล ก่อนขึ้น  Website ของ สปสช.  
	   2.	 ขาดแคลนบุคลากร(เจ้าหน้าที่การเงิน  จ�ำนวน  2  อัตรา)
	   3.	 ขาดการประชาสัมพันธ์  บุคลากรทั้ง  CUP ไม่เห็นความส�ำคัญของการรายงานเกณฑ์คงค้าง
	   4.	 ไม่มีระบบการตรวจสอบการปฏิบัติงาน  และเข้าดูผลการรายงานของหน่วยงาน ในแต่ละเดือน
ตัวชี้วัดในการแก้ปัญหา
	   1. 	การส่งรายงานเกณฑ์คงค้างของ สสอ. , รพช. ถูกต้องทันเวลา  ถูกต้อง  ทุกเดือน
	   2. 	รายงานการส่งรายงานจาก  สปสช.  ประจ�ำปี 2555   ไม่เกินล�ำดับที่  32
	   3. 	มีระบบตรวจสอบความถูกต้อง  และรายงานผู้บริหารฯทุกเดือนในที่ประชุม CUP  	                  	
วิธีแก้ไขปัญหา
	   1. 	ประชุมคณะกรรมการ CFO และ คณะกรรมการ CUP เพื่อรับทราบปัญหา ปี 2555 ประชุมแล้ว 10 ครั้ง
	   2.	 รับสมัครเจ้าพนักงานการเงิน เพื่อทดแทน  จ�ำนวน  2  อัตรา
	   3.	 จัดการเรื่ององค์ความรู้แก่บุคลากร   คือ เชิญเจ้าหน้าที่การเงินโรงพยาบาลข้างเคียงมาเป็นพี่เลี้ยง จ�ำนวน       
        3  วัน   และอบรมการส่งรายงานให้กับผู้ส่งรายงาน รพ.สต.ทุกแห่ง จ�ำนวน   3  วัน
	   4. 	สนับสนุนการปฏิบัติงานโดย จัดหาโปรแกรม  และเครื่องคอมพิวเตอร์  พร้อมอุปกรณ์ทางด้านสื่อสาร
	   5. 	นิเทศติดตาม ประเมินผล  โดยการควบคุมภายใน ทุก รพ.สต.  จ�ำนวนแห่งละ  1 ครั้ง/ปี
ผลลัพธ์
	   1. 	การรายงานผลการส่งรายงานจาก สปสช. ไม่เกินล�ำดับที่ 32    
	   2. 	มีเจ้าหน้าที่การเงินเพิ่ม  จ�ำนวน  2  คน  
	   3. 	มีระบบการตรวจสอบความถูกต้องของรายงาน ,การควบคุมภายใน  จ�ำนวน  1 ครั้ง  และรายงานผู้บริหาร
        อย่างต่อเนื่อง จ�ำนวน  10  ครั้ง
โอกาสพัฒนา
	 1.	 พัฒนางานการลงบัญชีโดยใช้โปรแกรมการเงิน  MPI  โดยใช้ระบบ LAN   
	 2.	 การส่งรายงานการของ รพ.สต.ทาง  Website ของโรงพยาบาลหนองพอก

                                                                                                               51
การพัฒนาระบบน�ำส่งเงินคงเหลือประจ�ำวัน
                                                                                     นางสาวภรทิพย์ บุดดาเพ็ง
                                                                                   เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี

ค�ำส�ำคัญ: ซื่อสัตย์ ถูกต้อง ทันเวลา ครบถ้วน น�ำไปใช้ได้
สรุปผลโดยย่อ: พัฒนาระบบน�ำส่งเงินคงเหลือประจ�ำวันให้เป็นไปตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการน�ำเงิน       
ส่งคลังของส่วนราชการ อย่างเคร่งครัด
ชื่อและที่อยู่ขององค์กร : งานการเงินและบัญชี   โรงพยาบาลหนองพอก
ปัญหาและบริบทงาน: การน�ำส่งเงินจากฝ่ายต่างๆ มีจ�ำนวนเงินไม่ถูกต้อง   และจ�ำนวนใบเสร็จรับเงินไม่ครบ          
ไม่เรียงตามเล่มที่ /เลขที่  เมื่อน�ำเงินไปฝากธนาคาร ท�ำให้ยอดเงินไม่ตรงกับจ�ำนวนเงิน  กับใบน�ำส่งเงิน
เป้าหมาย (Purpose): จ�ำนวนเงิน /จ�ำนวนใบเสร็จ/จ�ำนวนเงินในใบเสร็จเท่ากัน  และการน�ำเงินฝากธนาคารถูก
ต้องตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการน�ำเงินส่งคลังของส่วนราชการ  100%
การด�ำเนินงาน (Process)
	        1.	 เมื่อเจ้าหน้าที่ ผู้มีหน้าที่รับเงินคงเหลือประจ�ำวัน ได้รับเงินสด (รายได้ช�ำระเอง) ตรวจสอบจ�ำนวนเงิน
และบันทึกใบเสร็จให้ตรงกับจ�ำนวนที่ได้รับอย่างถูกต้อง โดยเรียงใบเสร็จตามเล่มที่/เลขที่ เอาตัวจริงให้ผู้ป่วย และ
เก็บส�ำเนาเพื่อเป็นหลักฐาน
	        2.	 กรณีที่เจ้าหน้าที่ เขียนใบเสร็จรับเงินผิด ให้ยกเลิกใบเสร็จและแนบติดกับเล่มนั้นๆ
	        3.	 เมื่อเจ้าหน้าที่น�ำเงินมาส่งที่งานการเงิน ให้เจ้าหน้าที่งานการเงินปฏิบัติ ดังนี้
	        	 -	 ตรวจนับใบเสร็จและจ�ำนวนเงิน เช่น เล่มที่/เลขที่ มีจ�ำนวนเงินตรงตามที่ระบุในใบเสร็จหรือไม่
	        	 -	 ตรวจนับจ�ำนวนเงินตามใบเสร็จ และใบสั่งยา ให้ถูกต้องตรงกันทุกครั้ง
	        	 -	 บวกจ�ำนวนเงินตามใบเสร็จ โดยใช้เครื่องค�ำนวณ หรือ Microsoft Excel อย่างถูกต้อง
	        	 -	 ตรวจนับจ�ำนวนเงิน เมือถูกต้องแล้วน�ำฝากธนาคาร โดยเขียนใบน�ำฝากให้ตรงกับธนาคาร เลขทีบญชี
                                            ่                                                               ่ ั
จ�ำนวนเงิน และลงลายมือชื่อผู้น�ำฝาก ให้ถูกต้องอย่างครบถ้วน
ผลลัพท์ (Performance)
	       เจ้าหน้าที่   ผู้มีหน้าที่รับเงินคงเหลือประจ�ำวัน มีความเข้าใจในระเบียบ ขั้นตอนและปฏิบัติตามได้อย่าง       
ถูกต้องอย่างเคร่งครัด ท�ำให้การน�ำส่งเงินคงเหลือประจ�ำวันเป็นไปอย่างรัดกุม รวดเร็ว ทันเวลา ครบถ้วน ถูกต้องตาม
ระเบียบของทางราชการ    มีการประสานงานระหว่างฝ่ายต่างๆ และงานมีประสิทธิภาพท�ำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
ระหว่างเจ้าหน้าที่การเงิน และผู้รับผิดชอบการน�ำส่งเงิน
	          เจ้าหน้าที่การเงิน  มีการตรวจสอบ ติดตามและทวงถามอย่างสม�่ำเสมอ รอบคอบเมื่อพบปัญหารีบรายงาน
ให้ผู้บังคับบัญชาทราบตามขั้นตอน


52
CQI
                                       การลดค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลือง
                                                                            นายไผ่ล้อม ศรีหาตา นักจัดการงานทั่วไปช�ำนาญการ
                                                                                         นางสุธีรา ภิรมย์นาค นักวิชาการพัสดุ
                                                                                        นายสุขสันต์ พันธมา เจ้าพนักงานพัสดุ
เป้าหมาย
	          เพื่อให้ค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลืองลดลง
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
	         วัสดุสิ้นเปลืองมีความจ�ำเป็นจะต้องใช้ในตึกผู้ป่วย และหน่วยงานต่าง ๆ ในโรงพยาบาล ซึ่งในแต่ละปีค่าใช้จ่ายวัสดุ
สิ้นเปลืองจะมีจ�ำนวนที่สูงขึ้นทุกปี เกิดจากการส�ำรองวัสดุมากเกินความจ�ำเป็น  และหน่วยงานยังไม่ทราบเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย
ที่เกิดจากการใช้วัสดุสิ้นเปลืองจึงท�ำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
กิจกรรมในการพัฒนา
	        1. จั ดท�ำแนวทางปฏิบัติการเบิกจ่ายวัสดุ พร้อมรายละเอียดค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลืองที่เกิดขึ้นในแต่ ล ะปี                      
ให้หน่วยงานต่างๆ รับทราบ
	        2.  ก�ำหนดให้มีการน�ำซากวัสดุมาแลกกับวัสดุที่ต้องการเบิกใหม่ทุกครั้ง
	        3.   ก� ำ หนดแผนการปฏิ บั ติ ง านเยี่ ย มหน่ ว ยเบิ ก ปี ล ะ 1 ครั้ ง เพื่ อ ให้ ค�ำ แนะน� ำ ในการลงทะเบี ย นคุ ม การ                            
รับ – จ่ายวัสดุ และจัด Stock ได้เหมาะสมกับการใช้วัสดุ  และขอความร่วมมือในการลดค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลือง
	        4.  ให้บริษัทเสนอราคาวัสดุหลายๆบริษัทเพื่อเลือกวัสดุที่มีคุณภาพและราคาเหมาะสมให้มากที่สุด
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
	          การด�ำเนินการดังที่กล่าวมา ท�ำให้ได้รับความร่วมมือจากหน่วยเบิกในโรงพยาบาลและสามารถประหยัดค่าใช้จ่าย
วัสดุสิ้นเปลือง ดังนี้
                       รายละเอียดค่าใช้จ่ายวัสดุระหว่างปี 2551 – 2555 ของโรงพยาบาลหนองพอก
                 ปีงบประมาณ          ยอดการใช้วัสดุสิ้นเปลือง (บาท)                 หมายเหตุ
                       2551                   1,268,399.77                              -
                       2552                   1,452,604.00                   เพิ่มขึ้น 184,204.23
                       2553                   2,054,554.85                   เพิ่มขึ้น 601,950.85
                       2554                   2,674,684.52                  เพิ่มขึ้น  620,129.67
                       2555                   2,059,649.84                  ลดลง   615,034.68

บทเรียนที่ได้รับ
	          การท�ำความเข้าใจในปัญหาที่เกิดขึ้น และขอความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆท�ำให้งานนั้น  ประสบความส�ำเร็จได้

         ส�ำหรับปี 2551 จะเห็นว่าค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลืองสูงขึ้นจากเดิม เนื่องจากทางโรงพยาบาลฯ ก�ำหนดแผนที่จะเปิด
การให้บริการผู้ป่วยพิเศษ คือ ตึกพิเศษมหาวีโร ซึ่งท�ำให้การจัดซื้อวัสดุสิ้นเปลือง    เพิ่มมากขึ้นจากเดิม ๔๔๑,๘๓๖.๕๔ บาท
แต่ถ้าจะเปรียบเทียบจากการลดค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลือง ตั้งแต่ ปี ๒๕๔๘ – ๒๕๕๒ เป็นจ�ำนวน ๑,๐๕๘,๘๘๑.๖๔ บาท ซึ่ง
ทางฝ่ายพัสดุฯ มีความภาคภูมิใจในการได้รับความร่วมมือจากหน่วยเบิก และสามารถท�ำให้ทางโรงพยาบาลประหยัด              
งบประมาณในการจัดซื้อวัสดุสิ้นเปลือง
                                                                                                                                                  53
ฝุ่นรึจะกล้า ถ้าเจอผ้าปูเตียง
                                                                                                  นายอดิศักดิ์ พลเยี่ยม
                                                                                                งานจ่ายกลาง - ซักฟอก
บทน�ำ : หน่วยงานซักฟอกของโรงพยาบาลมีหน้าทีจดเตรียม จัดหา ท�ำความสะอาดผ้าทุกชนิดให้พอเพียงและสะอาด
                                                    ่ั
ส�ำหรับให้บริการผู้ป่วยโรงพยาบาลหนองพอก โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัยด้านอาชีวอนามัย ของบุคลากรที่ปฏิบัติ
งานเป็นส�ำคัญ การป้องกันบุคลากรจากฝุนผ้าในหน่วยงานซักฟอก ไม่ให้มผลกระทบต่อสุขภาพของบุคลากรในหน่วย
                                             ่                                 ี
งานก็ส�ำคัญมากเช่นกัน
เป้าหมาย : เพื่อป้องกันไม่ให้มีฝุ่นผ้าฟุ้ง กระจาย อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ บุคลากรที่
ปฏิบัติงานมีความปลอดภัยด้านอาชีวอนามัย
ขั้นตอนการด�ำเนินงาน :
     1.	 จัดท�ำถุงผ้าที่ผลิตจาก ผ้าปูเตียงที่ช�ำรุดแล้ว ได้ตัดเย็บเป็นถุงมีหูรูดหัว – ท้าย ปลายด้านหนึ่งผูกติดกับ           
          ท่อเป่าฝุ่นทิ้งของเครื่องอบผ้า อีกด้านผูกติดกับถังน�้ำ ที่ใส่น�้ำไว้เต็มถังเพื่อหวังผลให้ฝุ่นผ้าตกลงไปในน�้ำ 
     ผลการประเมิน ถุงผ้าโปร่ง ตึงมาก มีรูรั่วระหว่างถังเก็บน�้ำและถุง ที่เกิดจากแรงดันจากท่อส่งฝุ่น แรงดันลมย้อน
     กลับไปที่เครื่องอบผ้า ท�ำให้เครื่องมีความร้อนเพิ่ม และมีฝุ่นบริเวณรอบถังน�้ำ
     2.	 ได้ท�ำถุงผ้าขนาดเดียวกันเพิ่ม อีก 1 ถุง ต่อจากถุงที่1 เพื่อหวังผลลดแรงดันจากเครื่องอบผ้า และช่วยดักฝุ่น
          เพิ่ม
     ผลการประเมิน พบว่าถุงโปร่งตึงลดลง แต่ยังมีแรงดันมากอยู่ ความร้อนที่เครื่องอบผ้าลดลง ฝุ่นที่ที่ติดนอก            
     ถังผ้าลดลง
     3.	 ได้จัดท�ำถุงผ้าเพิ่มอีก 1 ถุงเป็นทั้งหมด 3 ถุง โดยใช้ท่อลมต่อเชื่อมในแต่ละถุง ถุงที่ 1 ต่อลงน�้ำ ถุงที่ 2 ต่อ
          จากถุงที่ 1 และถุงที่ 3 ต่อจากถุงที่ 2 และปล่อยน�้ำหยดให้ถุงผ้าเปียกตลอดเวลาที่มีการอบผ้า เพื่อให้จับกับ        
          ฝุ่นได้ดียิ่งขึ้น
     ผลการประเมิน ถุงผ้าทั้ง 3 ถุงไม่โปร่งตึงมาก เครื่องอบผ้าไม่ร้อน ไม่พบเศษฝุ่นรอบบริเวณเครื่องดักฝุ่นผ้า ครบ
     1 สัปดาห์ได้ท�ำความสะอาดถุงผ้า พบเศษฝุ่นจ�ำนวนมาก และเปลี่ยนชุดถุงดักฝุ่นผ้าทุก 1 เดือน
ผลการด�ำเนินงาน
   1.	 ผลการตรวจฝุ่นจากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เดือนมกราคม ปี 2555
   2.	 บุคลากรที่ปฏิบัติงานมีความปลอกภัยด้านอาชีวอนามัย
   3.	 ประหยัดงบประมาณ
                 l 	 เครื่องดักฝุ่นผ้าเดิม 35,000 บาท
                 l 	 ถุงดักฝุ่นผ้าที่ผลิตเอง ชุดละประมาณไม่เกิน 600 บาท (ผ้าเก่า+การตัดเย็บ+ถังน�้ำ)

โอกาสในการพัฒนา ได้เรียนรูเ้ รือง การวางแผน การพัฒนางาน การท�ำงานเป็นทีม การคิดพัฒนางานจากงานประจ�ำ
                                   ่




54
CQI
                ระบบบริการวัคซีนแนวใหม่กับงานอนามัยเด็กดี
                                                                  คุณบุษบา สมบัติศรี พยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการ
                                            กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิ โรงพยาบาลหนองพอก

ปัญหา/บริบทของงาน
      1.	 PCU เปิดให้บริการวัคซีนทุกวันพุธ ของสัปดาห์
           -	 เด็กขาดนัดบ่อย  ( ให้ อสม.ตาม  ประกาศทางหอกระจายข่าว  โทรศัพท์ตามผู้ปกครอง)
          - 	 งานไม่มีระบบ เพราะให้บริการทุกช่วงอายุตั้งแต่ อายุ 1 เดือน - 5 ปี (ทำ�ให้ต้องรอนาน และโอกาสในการให้
วัคซีนผิดพลาดสูง)
          - 	 อัตราการสูญเสียวัคซีนสูง
      2.	 การให้ความรู้มารดาและผู้ปกครองตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ ทำ�ได้ยาก
แนวคิด / หลักการ
         จากการดำ�เนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ตั้งแต่อายุ 1 เดือน -5 ปี ของ PCU   พบว่า ตั้งแต่เดือน                       
ตุลาคม 2554 – กรกฎาคม 2555 มีเด็กมารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เฉลี่ย 134 คน/เดือน ทั้งนี้เนื่องจาก PCU     
ในได้มีการปรับเปลี่ยนระบบการให้วัคซีน ในแต่ละสัปดาห์ ดังนี้
แบ่งการรับวัคซีนออกเป็น
   	    พุธที่ 1 ของเดือน ให้บริการวัคซีน DTP+HBV และ OPV กลุ่มเป้าหมายคืออายุ 2, 4 และ 6 เดือน
   	    พุธที่ 2 ของเดือน ให้บริการวัคซีน MMR  กลุ่มเป้าหมายคือ อายุ 9 - 12 เดือน
   	    พุธที่ 3 ของเดือน ให้บริการวัคซีน JE กลุ่มเป้าหมายคือ อายุ 1 ปี , 1 ปี 1 เดือน และ 2 ปี ถึง 2 ปี 6 เดือน
   	    พุธที่ 4 ของเดือน ให้บริการวัคซีน DTP และ OPV กลุ่มเป้าหมายคือ 1 ปี 6 เดือน และ 4 - 5 ปี
ระบบการทำ�งาน
    1.1	กำ�หนดตัวชี้วัด เกณฑ์การสูญเสีย การได้รับ Vaccine
    1.2	กำ�หนดผู้รับผิดชอบหลัก  ผู้รับผิดชอบรอง และผู้รับผิดชอบในแต่ละจุดบริการในคลินิก
    1.3	ยื่นบัตร และรับบัตรคิว ( One stop service )
    1.4	เฝ้าระวังทางโภชนาการ (ชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะ รอบอก และกระหม่อม)ประเมินพัฒนาการเด็ก
        ร่วมกับผู้ปกครอง
    1.5	บันทึกข้อมูลในสมุดทะเบียน ขอเบอร์โทรศัพท์ผู้ปกครอง นัดรับบริการครั้งต่อไป
    1.6	ให้ความรู้มารดาและผู้ปกครองตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่
    1.7	ตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข
    1.8	รับวัคซีน (ตามบริบทของแต่ละสัปดาห์)
    1.9	ลงข้อมูลในโปรแกรม HosXp  (เช็คข้อมูลการมารับวัคซีนตามใบนัด ว่าในสัปดาห์นั้น
        ขาดนัดกี่ราย  เพื่อจะได้ติดตามมารับวัคซีนต่อไป)
ผลลัพธ์ - ไม่มีความผิดพลาดในการให้วัคซีน (อัตราผิดพลาดในการให้วัคซีนร้อยละ 0)
            - 	 ร้อยละ 99 ของเด็กได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
            - 	 มารดาและผู้ปกครอง มีความพึงพอใจในระบบบริการร้อยละ 89
            -	 อัตราการสูญเสียวัคซีนลดลง เหลือร้อยละ 13.2   

                                                                                                                              55
การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน
    และโรคความดันโลหิตสูงที่มีคุณภาพของศูนย์สุขภาพชุมชน
                  โรงพยาบาลหนองพอก
                                           กรรณิกา นาควัน พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ และทีมสหวิชาชีพ

ปัญหา / บริบทของงาน : โรงพยาบาลหนองพอกเป็นโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน
และความดันโลหิตสูงที่รับบริการเป็นจ� ำนวนมาก และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยสังเกตจากจ�ำนวน                  
ผู้มารับบริการที่ตึกผู้ป่วยนอกตั้งแต่ ปี 2546, 2547, 2548, 2549, 2550 จ�ำนวน 825, 895, 956, 1212, 1518 ราย  
ตามล�ำดับ  เมือผูปวยเพิมมากขึนแต่บคลากรสาธารณสุขมีจ�ำนวนเท่าเดิม ท�ำให้ไม่เพียงพอต่อการให้บริการทีรวดเร็ว
              ่ ้ ่ ่          ้       ุ                                                              ่
ทันใจแก่ผู้มารับบริการ  ผู้ป่วยบางรายใช้เวลาในการมารับยาโรคเรื้อรังที่โรงพยาบาลเกือบ 6 ชั่วโมง ท�ำให้เสียเวลา
และท�ำให้ผู้ป่วยไม่พึงพอใจในการรับบริการ และในที่สุดก็จะไม่มารับยาอีกเลย เนื่องจากเบื่อหน่ายในการนั่งรอ        
รับบริการตามขั้นตอนที่ยุ่งยาก   ท�ำให้ผู้ป่วยขาดยาจนอาจมีผลท�ำให้ผู้ป่วยเกิดปัญหามีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นและ
จากผลการตรวจ HbA1C ในผู้ป่วยโรคเบาหวานปี 2554 พบว่าผลเฉลี่ยของ HbA1C อยู่ที่ระดับ 8.66 % ซึ่งถือว่า
อยู่ในระดับที่สูงท�ำให้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้เพิ่มขึ้น

ขั้นตอนการด�ำเนินของงาน :  
        1. 	 ด�ำเนินการกิจกรรมตามโครงการ โดยออกไปให้บริการที่ศาลาประชาคมประจ�ำหมู่บ้าน และมีขั้นตอน
             บริการ  ดังนี้
	            จุดที่ 1 	 การยื่นบัตรประจ�ำตัวผู้ป่วยโรงพยาบาลหนองพอก
	            จุดที่ 2 	 การชั่งน�้ำหนัก / วัดส่วนสูง / วัดความดันโลหิต / วัดรอบเอวตรวจหาระดับน�้ำตาลในเลือด
                         ( เฉพาะในรายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน )
	            จุดที่ 3 	 แยกผู้ป่วยออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 มีผลเลือดที่ปกติจะเข้ากลุ่มรับยาตามปกติและ
                         กลุ่มที่ 2 จะมีผลเลือด > 250 mg/dl หรือ BP > 160/90mm/hgจะ Refer ไปพบแพทย์
                         ที่โรงพยาบาลหนองพอกเพื่อให้ได้รับการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม
	            จุดที่ 4 	 รับประทานยาก่อนอาหารและรับประทานอาหารเช้าร่วมกันหลังจากนั้นก็รับประทานยา
                         หลังอาหาร
	            จุดที่ 5 	 รับความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง  / การป้องกันภาวะแทรกซ้อน / การรับ
                         ประทานอาหารที่เหมาะสมเฉพาะโรค / การออกก�ำลังกายที่เหมาะสมกับสภาพร่างกาย /
                         การดูแลเท้า มีการประเมินความรู้ก่อนและหลังการเรียนรู้ทุกเรื่อง / ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่
                         ผล FBS ปกติและผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ผล FBS ผิดปกติแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตนใน
                         การควบคุมโรคที่ถูกต้อง
	            จุดที่ 6 	 รับยาประจ�ำเดือน
	            จุดที่ 7 	 ท�ำแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการรับยาโรคเรื้อรัง

56
CQI
	        2. 	 ตรวจเลือดผู้ป่วยเพื่อประเมินผลความก้าวหน้าในการรักษาทุก 6 เดือน และพบแพทย์เพื่อปรับแผน   
การรักษาพยาบาล
	        3.  	ถ้าผลเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ แพทย์ส่งกลับรับยาที่ชุมชนต่อ แต่ถ้าผลเลือดผิดปกติแพทย์จะเป็น                
ผู้พิจารณาให้รับยาต่อที่โรงพยาบาล
	        4.  	สรุปและรายงานผลการด�ำเนินงาน

ผลการด�ำเนินงาน : เมื่อโครงการได้ด�ำเนินมาครบ 6 เดือน   ประเมินผลการรักษาพยาบาล โดยการตรวจ            
Lipid profile ,   HbA1C และในโครงการนี้ทางศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลหนองพอกใช้ระดับ HbA1C เป็น           
ตัวชี้วัด    ซึ่งผลออกมาพบว่าผล HgA1C มีระดับลดลงร้อยละ 59.32 นอกจากตรวจพบว่า HbA1C ลดลงแล้ว               
ยังพบว่า BUN ลดลงร้อยละ 92.307 ,Triglyceride ลดลงร้อยละ 84.615 ,LDL ลดลงร้อยละ 84.615 , Cholesterol
ลดลง   ร้อยละ 92.307 ซึ่งในขณะเดียวกันระดับ HDL ยังเพิ่มขึ้นร้อยละ 92.307  ส่งผลให้ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน
ลดลง และผู้ป่วยมีความพึงพอใจในการรับบริการสูงถึง ร้อยละ 99

โอกาสพัฒนา : สามารถน�ำระบบการด�ำเนินงานนี้ไปใช้ได้กับกลุ่ม CANDO ทุกหมู่บ้านอย่างเหมาะสม




                                                                                                              57
แฟ้มสุขภาพ 4 G 7 สิ่งมหัศจรรย์
                                           นายกฤษฎา เสนาหาร ต�ำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

ปัญหาและบริบทของงาน
         การด�ำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขในการปฏิบัติงานเชิงรุกในชุมชนมีการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง        
การบันทึกกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และฟืนฟูสภาพต่างๆทีปฏิบตงานในพืนทีมกจะบันทึกในสมุดหรือ
                                                            ้            ่ ัิ        ้ ่ั
เศษกระดาษอาจเกิดการสูญหาย ท�ำให้ยากแก่การสรุปข้อมูล และปัญหาที่พบในการปฏิบัติงานของอาสาสมัคร
สาธารณสุขคือขาดความมั่นใจ ดูแลไม่ครอบคลุม บันทึกขาดความต่อเนื่อง ลงบันทึกไม่ถูกต้อง ขาดความรู้เรื่องการ
ดูแลกลุ่มเป้าหมาย และแนวทางปฏิบัติ ที่ชัดเจน   กิจกรรมด้านสาธารณสุขไม่ครอบคลุม ขาดการวิเคราะห์ ขาด          
การนิเทศติดตามผลอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขซึงมีกลุมทีตองดูแลเป็นพิเศษ
                                                                                    ่ ่ ่้
คือ กลุ่ม CANDO คือ เน้นการดูแล 5 กลุ่มเป้าหมายหลัก  ประกอบด้วยกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่ม
ผู้พิการ กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ซึ่งกิจกรรมของอาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน     
รวมทั้งมีภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกชุมชน จึงได้จัดท�ำแฟ้มสุขภาพ 4 G  7 สิ่งมหัศจรรย์ ขึ้นมา

เป้าหมาย
    	   1.	 เพื่อให้มีการบันทึกข้อมูลการปฏิบัติงาน และข้อมูลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่อย่างเป็นระบบ
    	   2.	 เพื่อรวบรวม สรุป วิเคราะห์ข้อมูล และแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม
    	   3.	 เพื่อตอบสนองนโยบาย หมอครอบครัว และการดูแลกลุ่ม CANDO

การด�ำเนินงาน
	       1.	 สร้างแบบรายงานบันทึกกิจกรรมของ 5 กลุมเป้าหมายหลัก ครอบคลุมทังด้านกาย จิตและสังคม ได้ดงนี้
                                                   ่                           ้                      ั
	       	 	 แฟ้มงานที่  1 แผนที่เดินดินในความดูแลของทีมส่งเสริมสุขภาพ
  	     	 	 แฟ้มงานที่  2 การดูแลหญิงตั้งครรภ์ของทีมส่งเสริมสุขภาพ
	       	 	 แฟ้มงานที่  3 การดูแลเด็กแรกเกิด-5 ปี ของทีมส่งเสริมสุขภาพ
	       	 	 แฟ้มงานที่  4 การดูแลผู้สูงอายุ ของทีมส่งเสริมสุขภาพ
	       	 	 แฟ้มงานที่  5 การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังของทีมส่งเสริมสุขภาพ
	       	 	 แฟ้มงานที่  6 การดูแลผู้พิการของทีมส่งเสริมสุขภาพ
	       	 	 แฟ้มงานที่  7 ทะเบียนรับแจ้งเหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน SRRT เครือข่ายระดับหมู่บ้าน
	       2.	 ทีมส่งเสริมสุขภาพ ได้รับการอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพทั้งทางด้านกาย จิตและสังคมรวม
ถึงการประสานงานเพื่อสนับสนุนการบริการสุขภาพจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
     	 3.	 ทีมส่งเสริมสุขภาพ ปฏิบัติงานทุกวันโดยความสมัครใจ เช่น การส�ำรวจลูกน�้ำยุงลายอย่างน้อยสัปดาห์
ละ 1 ครั้ง การออกเยี่ยมบ้านใน 5 กลุ่มเป้าหมาย การตรวจและรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงใน
ชุมชนตามโครงการใกล้บ้านใกล้ใจ ทีม SRRT หมู่บ้าน เป็นต้น
     	 4.	 ทีมส่งเสริมสุขภาพ มีการบันทึกข้อมูล สรุปผล การด�ำเนินงาน ส่งทุกวันจันทร์แรกของเดือนและมีระบบ
ติดตาม ประเมินผล คือ ระบบ 4 G

58
CQI
ระบบติดตามผล 4 G
                                                           เป็นระบบติดตามผลและประเมินผล ใน 4 ด้าน ได้แก่
                                                                         กาย (Healthy) คือ มีสุขภาพกายที่ดี
                                                                         จิตใจ (mental) คือ มีสุขภาพจิตที่ดี
                                                                สังคม (Social) คือ มีสังคมที่ดี สังคมมีส่วนร่วม
                                                ความคิดสร้างสรรค์ (Innovation) คือ มีนวัตกรรมใหม่ๆในชุมชน
                                                        โดยใช้แบบติดตามประเมินผล ทุกวันจันทร์แรกของเดือน

ผลลัพธ์
    	        1.	 ร้อยละ 92.64 ของครัวเรือนได้รับการดูแลจากทีมส่งเสริมสุขภาพ ตามคุ้มที่รับผิดชอบ
    	        2.	 ร้อยละ 100 ของทีมส่งเสริมสุขภาพได้รับการพัฒนาทักษะในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ  ป้องกันโรค
	            	 ฟื้นฟูสุขภาพ และการควบคุมป้องกันโรคระบาดในชุมชน
    	        3. 	ทั้ง 20 หมู่บ้านปลอดไข้เลือดออก
    	        4.	 มีแบบบันทึกกิจกรรม และรูปแบบการท�ำงานของทีมส่งเสริมสุขภาพ ใน 5 กลุ่มเป้าหมายหลัก
      	      	 ทั้งเชิงรับและเชิงรุกแบบผสมผสานและสามารถสรุปผลการด�ำเนินงานของทีมสุขภาพได้ดังนี้

สรุปจ�ำนวนกลุ่มเป้าหมาย CANDO (คน) ที่ได้รับการดูแลที่บ้าน
     กลุ่ม     เด็ก 0-5 ปี   ผู้ป่วยเรื้อรัง          หญิงตั้งครรภ์       ผู้สูงอายุ      ผู้พิการ      รวม
           จำ�นวน ผลงาน จำ�นวน ผลงาน               จำ�นวน ผลงาน       จำ�นวน ผลงาน จำ�นวน ผลงาน
            470        454  432          403         30         30    1,059 952        197        188
    ร้อยละ            96.59           93.29                    100               89.89           95.43 92.64

                 - กลุ่ม CANDO มีทั้งหมด 2,188 คน ได้รับการดูแล 2,027 คนคิดเป็นร้อยละ 92.64

โอกาสในการพัฒนา
	            1.	 เพิ่มกลุ่มที่จะต้องดูแลเป็นพิเศษ เช่น กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อให้ครอบคลุม   
	            	 มากขึ้น
	            2.	 เพิ่มแฟ้มงานจาก 1 หมู่บ้าน/ 1 แฟ้มงาน เป็น 1 คน ต่อ 1 แฟ้มงาน




                                                                                                              59
ใหม่หอมกว่าเก่า
                                                     งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลหนองพอก จ.ร้อยเอ็ด

ปัญหาและบริบทงาน : เดิมบริบทงานแพทย์แผนไทยมีกระบวนการในการอบไอน�้ำสมุนไพรโดยใช้หม้อต้ม              
โดยการส่งท่อจากข้างนอกเข้าไปในตู้อบไอน�้ำสมุนไพร ใช้ตัวสมุนไพรทั้งสดหรือแห้งเทลงในหม้อต้มท�ำให้ท่ออุดตัน  
ตัวยาออกไม่หมด ไอน�ำไหลไม่สะดวกท�ำให้หม้อล้างออกยาก ต้องใช้เวลานาน จนกระทังมีอบตการณ์หลายครังทีทำให้
                   ้                                                             ้ ุ ัิ         ้ ่ �
หม้อต้มความร้อนไม่เต็มที่ จึงท�ำให้ผู้ป่วยต้องใช้เวลานานในการอบไอน�้ำสมุนไพร    

ขึ้นตอนด�ำเนินงาน
	         หลังจากที่เกิดอุบัติการณ์ดังกล่าวขึ้นจึงมีการปรับกระบวนการอบไอน�้ำสมุนไพรใหม่โดยใช้หม้อต้มเหมือน
เดิม  ส่วนตัวยาสมุนไพรจะใช้ผ้าด้ายดิบท�ำเป็นถุงมัดด้วยเชือก น�ำตัวยาที่ใช้ในการอบไอน�้ำสมุนไพร  จะใช้สมุนไพร
ทั้งสดหรือแห้งใส่ในถุงมัดด้วยเชือกก่อนแล้วเอาถุงที่มีสมุนไพรวางลงในหม้อต้มอีกครั้งหนึ่ง ท�ำให้หม้อต้มอบไอน�้ำ
สมุนไพรมีความร้อนมากขึนกว่าเดิม  ตัวยาสมุนไพรมีกลินหอมมากขึนกว่าเดิม ไอน�ำไหลได้สะดวกท�ำให้หม้อล้างออก
                           ้                            ่        ้             ้
ได้ง่าย  ไม่ต้องใช้เวลานาน

ผลการด�ำเนิงาน
          หม้ออบไอน�้ำสมุนไพรมีความร้อนมากขึ้นกว่าเดิม  ลดปัญหาในการซ่อมบ�ำรุงหม้ออบไอน�้ำสมุนไพร

โอกาสพัฒนา มีตู้อบไอน�้ำสมุนไพรแยกชาย – หญิง  อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้มารับบริการอบไอน�้ำ
สมุนไพร
                       




60
CQI
                 ต่อยอดการแก้ไขปัญหาการเก็บแฟ้มผิดช่อง
                                                                                                  นายมนูญ นิลพัสด์
                                                                             ผู้ช่วยเหลือคนไข้ หน่วยงานเวชระเบียน

บทน�ำ
	        เมือผูปวยได้รบการตรวจจากแพทย์เสร็จสิน  แฟ้มเวชระเบียนจะถูกน�ำกลับมาเก็บยังตูเ้ ก็บทีหองเวชระเบียน  
            ่ ้ ่     ั                       ้                                              ่ ้
ซึ่งเจ้าหน้าที่เวชระเบียนจะจัดเก็บตามช่อง HN   ซึ่งแต่เดิมนั้นการจัดเก็บแฟ้มเวชระเบียนจะแยกชัดในเรื่อง                    
พ.ศ. เพราะจัดท�ำเวชระเบียนสีต่างกันในแต่ละปี   และ ได้ท�ำการพัฒนารอบที่ 1 คือการติดสติกเกอร์สีเพื่อระบุเลข             
หลักร้อย แต่ปัญหายังคงเกิดขึ้น  

กระบวนการแก้ไข
        จากการประชุมบุคลากรในหน่วยงาน  และเก็บข้อมูลตั้งแต่ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555 พบว่า  แฟ้ม         
เวชระเบียนยังมีการเก็บผิดช่องอยู่ 35 แฟ้ม  เฉลี่ยเดือนละ 5 แฟ้ม และพบผิดมากคือ หลักพัน เช่น HN 5402251
จะพบอยู่ที่ HN 5403251 เพราะระบบสติกเกอร์สีที่ใช้อยู่จะคุมแค่หลักร้อย ดังนั้นการเขียนตัวเลขใส่สันแฟ้ม               
จากหลักพันถึงหลักหน่วย   เพื่อเพิ่มความมั่นใจดังรูปภาพ   และเพื่อความสะดวกในการตรวจสอบเลขแต่ละหลัก          
ละเรียงกันไปเรื่อยๆ เมื่อมีการผิดพลาดจะสะดุดตาทันที  และลดความคลาดเคลื่อนจากบุคลากรได้

ผลลัพธ์
	        ตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 เป็นต้นมา พบความผิดพลาดจากการเก็บเวชระเบียน 1 เวชระเบียน  ซึ่งผลลัพธ์
ดังกล่าว  ท�ำให้ทีมงานเวชระเบียนมีความภูมิใจที่ช่วยกันแก้ปัญหาได้




                                                                                                                    61
“สะอาดไร้กลิ่น หมดสิ้นการติดเชื้อ”
                                                                                                       นายประวิทย์ ชมผา
                                                                                                   งานยานพาหนะและขนส่ง
                                                                                   กลุ่มงานการจัดการ โรงพยาบาลหนองพอก
บทน�ำ
	       เมื่อมีการขอใช้รถเพื่อภารกิจต่างๆ ในแต่ละวัน จากฝ่ายต่างๆ เช่น ออกหน่วย ประชุมต่างจังหวัด และ            
ในจังหวัดรวมทั้งส่งผู้ป่วยรักษาต่อ   จะต้องมีการเตรียมความพร้อมในเรื่องของรถและความสะอาดให้ถูกต้อง                   
ตามมาตรฐาน  และปลอดภัยต่อผู้ใช้บริการ

เป้าหมาย
	      เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวก  ปลอดภัย  ประทับใจ ไร้การติดเชื้อ

กระบวนการท�ำงาน
	       ในวั น ปกติ วัน จันทร์ – วัน ศุ กร์    ให้ พ นั ก งานขั บ รถยนต์ ท� ำ ความสะอาดก่ อ นออกปฏิ บั ติ ง าน และ                          
หลังปฏิบัติงาน  เพื่อเตรียมออกงานในวันถัดไป  โดยก�ำหนดเวลา 06.00 น. – 08.00 น. (เช้า)  และ 16.00 น. –
18.00 น. (เย็น) สถานที่ล้างรถยนต์คือพื้นที่ที่ IC ก�ำหนดคือบริเวณด้านข้างอาคาร PCU ซึ่งลาดพื้นปูนซิเมนต์และ
ระบายน�้ำลงบ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย   เมื่อมีเหตุจ�ำเป็นไม่สามารถท�ำความสะอาดได้ให้ฝากเวรไว้   โดยน�ำรถยนต์ที่ตนเอง         
รับผิดชอบไปล้างทังภายนอก และภายใน น�ำรถไปจอดผึงแดดพอประมาณ  แล้วน�ำรถมาดูดฝุน  หลังจากนันให้ลงแว๊ก  
                  ้                                       ่                                 ่            ้
ขั้นตอนสุดท้ายให้พ่นสเปรย์  ดับกลิ่น  ในกรณีรถส่งผู้ป่วยถ้าวันไหนรับ-ส่งผู้ป่วยติดเชื้อต้องใส่รองเท้าบู๊ท  พร้อมกับ
สวมถุงมือ และแมสปิดปากขณะท�ำความสะอาดภายใน  โดยใช้ผ้าท�ำความสะอาด แช่กับน�้ำยาล้างท�ำความสะอาดที่
เตรียมไว้ แล้วบิดผ้าให้หมาดพอประมาณ  เช็ดภายในรถและพื้นรถ  (ห้ามฉีดน�้ำล้างเด็ดขาด)  เพราะจะท�ำให้พื้นรถ
เสียหาย และเชือโรคกระจาย  จากนันก็ปฏิบตเหมือนกับทีได้กล่าวมาแล้วทุกขันตอน  แล้วจึงน�ำรถเข้ามาจอดทีโรงรถ  
               ้                    ้        ัิ             ่                   ้                             ่
พร้อมออกปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายทันที

ผลลัพธ์
	       จากทีพนักงานขับรถได้ท�ำความสะอาด ทังภายนอกและภายในตามวัน เวลา ทีกำหนดถูกต้องตามมาตรฐาน  
             ่                             ้                                 ่�
ท�ำให้สามารถออกปฏิบัติงานด้วยความมั่นใจ และมีประสิทธิภาพ  ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในการใช้บริการ




62
CQI
                                          ถุงเก่าเราไม่ทิ้ง
                                                                         นายบุญแว่น ปุนนะรา งานเภสัชกรรม

ที่มา
	         เนื่องจากมีผู้ป่วยโรคเรื้อรังมากขึ้น ท�ำให้ปริมาณการใช้ถุงยาและซองยามีมากขึ้นโดยถุงบรรจุยาที่ไม่ใช้แล้ว
ก็ทงไปท�ำให้เกิดปัญหาปริมาณขยะเพิมขึน ซึงความจริงแล้วสามารถน�ำมาใช้บรรจุใหม่ได้ถง 2 – 3 ครังเป็นอย่างน้อย
   ิ้                                    ่ ้ ่                                         ึ        ้
อีกทั้งช่วยท�ำให้ประหยัดเงินงบประมาณอีกด้วย

วัตถุประสงค์
	       เพื่อช่วยลดปริมาณขยะ และประหยัดเงินงบประมาณภาครัฐและทรัพยากร

ขั้นตอน / วิธีดาเนินงาน
     	 เมื่อผู้รับบริการน�ำถุงมาคืน ในกรณีถุงมีสภาพดีให้แยกไว้ เพื่อน�ำกลับมาใช้อีกโดยการท�ำความสะอาด            
และตรวจสอบสภาพก่อนใช้

ผลลัพท์
	       - 	 ช่วยลดปริมาณขยะ และประหยัดเงินงบประมาณภาครัฐและทรัพยากร
	       - 	 ท�ำให้เกิดความตระหนักในการดูแลรักษาทรัพยากร
	       - 	 ฝึกแนวคิดเรื่องความประหยัด
   




                                                                                                            63
ส�ำรองไฟฟ้านั้น...ส�ำคัญไฉน
                                                                                                 นายคุณากร โพธิ์สุข

บทน�ำ  เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าส�ำรองขนาด  100  KVA  สามารถรองรับโหลดได้ไม่เกิน   100,000  วัตต์  ความจุน�้ำมัน
เชื้อเพลิง   350  ลิตร   ใช้งานได้ประมาณ  18  ชั่วโมง    หล่อเย็นระบายความร้อนด้วยน�้ำ
เป้าหมาย   เพื่อให้โรงพยาบาลมีไฟฟ้าใช้ตลอด  24  ชม.
การดูแลบ�ำรุงรักษาเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าส�ำรอง
           1.	 ท�ำความสะอาดห้อง ทุกวันราชการ เช่น  กวาดพื้นห้อง ฝุ่นละอองต่างๆ เพื่อให้เครื่องถ่ายเทอากาศได้
สะดวก
           2.	 การระบายอากาศ  ห้องต้องโล่งปราศจากสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆที่จะท�ำให้ห้องทึบและอับอากาศ
           3.	 ป้องกันสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก สัตว์สี่เท้า สองเท้า และกิ่งไม้ ต้นไม้ที่เป็นพาหะซึ่งอาจเป็นอันตราย       
กับสัตว์เหล่านั้นรวมถึงข้อบกพร่องของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าได้   
           4.	 การป้องกันอัคคีภัย ซึ่งอันตรายหากเกิดขึ้นในห้องรวมถึงเครื่องยนต์ซึ่งใช้น�้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงและ
ยังมีถังน�้ำมันส�ำรอง ขนาด ความจุ 350 ลิตร เพราะฉะนั้นสิ่งของพวกไม้ กระดาษ ถุงพลาสติกต่างๆเหล่านี้จะต้อง
ไม่มีในห้อง
           5.	 ตรวจสอบเครื่องต้นก�ำลัง
                    5.1 	น�้ำมันเครื่อง  ดึงที่ก้านวัดระดับน�้ำมันเครื่องจะมีขีดบอกระดับน�้ำมันเครื่องที่ทางบริษัทผู้ผลิต
           ก�ำหนดเอาไว้ว่าระดับน�้ำมันเครื่องต้องไม่ต�่ำหรือสูงกว่าขีดที่ก�ำหนดมิเช่นนั้นอาจเกิดความเสียหายกับ
           เครื่องยนต์ได้
                    5.2 	น�ำหล่อเย็น  ตรวจเช็คอย่างละเอียดว่าน�้ำพร่องต�่ำกว่ามาตาฐานหรือน�้ำสกปรกเร็วเกินไปหรือ
                            ้
           ไม่ถ้าสกปรกต้องเปลี่ยนทิ้งโดยด่วนเพื่อให้การระบายความร้อนเป็นไปอย่างเหมาะสมกับระดับความร้อน
           ของเครื่อง
                    5.3 	น�ำมันเชือเพลิง  ถังน�ำมันส�ำรองสามารถส�ำรองน�ำมันเชือเพลิงได้ 350 ลิตร ใช้งานได้ 18 ชม.แต่
                              ้   ้              ้                          ้     ้
           แนวทางปฏิบัติเราไม่สามารถบรรจุน�้ำมัน  350 ลิตรไว้ได้ตลอดเวลา เพราะเครื่องยนต์พร้อมท�ำงานได้ตลอด
           เวลาถ้าไฟฟ้าของการไฟฟ้าดับเพราะฉะนั้นปริมาณน�ำมันในถังส�ำรองเฉลี่ยประมาณ 2/3 หรือ เกินครึ่งถัง
                                                                   ้
           ส�ำรอง
                    5.4 	น�้ำกลั่นแบตเตอรี่   สิ่งที่ขาดไม่ได้หรือจะบอกว่าส�ำคัญที่สุดก็คือแบตเตอรี่เพราะถ้าแบตเตอรี่
           ไม่มประจุไฟฟ้าก็ไม่สามารถสตาร์ทเครืองยนต์ให้ตดได้เพราะฉะนันจ�ำเป็นต้องตรวจเช็คทุกวันและระดับน�้ำ
                ี                                    ่           ิ              ้
           กลั่นต้องอยู่ในระดับที่ก�ำหนดซึ่งอายุการใช้งานของแผ่นธาตุประมาณ   9  เดือน ถึง 1 ปี ก็เสื่อมสภาพแล้ว

         6. 	การทดสอบเครื่อง มีอยู่ 2 ระบบ คือ
                 6.1 ระบบสตาร์ทเครื่องแบบอัตโนมัติ
                           6.1.1  ระบบสตาร์ทเครื่องแบบอัตโนมัติ  ปกติ จะท�ำการตั้งระบบไว้ที่ระบบอัตโนมัติเพื่อ
                 ให้เครื่องสตาร์ทเองจ่ายเองและดับเอง โดยกดที่ปุ่ม อัตโนมัติ

64
CQI




                    6.2  ระบบสตาร์ทเครื่องด้วยคน       
                            6.2.2  ระบบสตาร์ทด้วยคน  โดยท�ำการกดทีปม OFF-RESET  เพือออกจากระบบอัตโนมัติ
                                                                       ่ ุ่               ่
                    แล้วกดที่ปุ่ม  ENGINE-START  เมื่อเครื่องติดทิ้งระยะห่าง  10  วินาที  จึงกดที่ปุ่ม TOGEN เพื่อ
                    จ่ายไฟส�ำรอง
          7.	 เมื่อเครื่องยนต์ติดจะเกิดเสียงดังมากๆจนไม่สามารถอยู่ในห้องเครื่องได้แต่เรามีวิธีปัองกันคือใส่ที่ครอบ
หูเพื่อป้องกันเสียง
โอกาสพัฒนา
      1. 	เพิ่มขนาดสายเมนจากเบอร์  95  เป็นเบอร์  120  ตร.มม.
      2. 	เพิ่มขนาดเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเป็นขนาด  550  KVA
      3. 	ฝึกบุคลากร (ช่างคนใหม่, รปภ.)  ให้มีความรู้สามารถแก้ปัญหาและวิธีบ�ำรุงรักษาเครื่องอย่างถูกวิธี




                                                                                                             65
ลดจ�ำนวนครั้งของการจัดยาผิดพลาด
                                                                ภญ.ลัดดาวัลย์ ปราบนอก นส.บุชรา ไชยแสง
                                                                               เจ้าหน้าที่กลุ่มงานเภสัชกรรม

ที่มา
      	 ความคลาดเคลือนจากการจัดยามีแนวโน้มเพิมมากขึนในปี 2555 โดยเฉพาะในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 มีรอย
                      ่                         ่       ้                                            ้
ละความคลาดเคลือน > 17 %  ซึงสาเหตุอาจเกิดจากมีการรายงานเพิมมากขึน และมีเภสัชกรรับผิดชอบในการตรวจ
                 ่             ่                             ่      ้
สอบการจัดยา  ท�ำให้ดักจับความคลาดเคลื่อนได้เพิ่มขึ้น   
        จากอุบัติการณ์ที่เกิด พบว่า  ความคลาดเคลื่อนจากการจัดผิดจ�ำนวนมากที่สุด จึงเป็นที่มาของการพัฒนา
คุณภาพเพื่อลดความผิดพลาดในการจัดยาขึ้น

หลักการ / เหตุผล / แนวคิด
    	 ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) คือ เหตุการณ์ใด ๆ ที่สามารถป้องกันได้ ที่อาจเป็นสาเหตุ
หรือนาไปสู่การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม หรือเป็นอันตรายแก่ผู้ป่วย
      	 ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจัดยา  ได้แก่  จัดยา ผิดชนิดยา รูปแบบยา ความแรงของยา ขนาดยา วิธี
ใช้ยา จ�ำนวนยา ฉลากยาผิด ชื่อผู้ป่วยผิด ชื่อยาผิด ฯลฯ

วัตถุประสงค์
            เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการจัดยา  เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาที่ถูกต้อง เหมาะสม ตรงตามที่แพทย์สั่ง

เป้าหมาย
	      ความคลาดเคลื่อนจากการจัดยาไม่เกิน 10%

ขั้นตอน / วิธีดาเนินงาน
	        1. 	 ได้พัฒนาระบบการจัดยา ในส่วน LASA drugs ได้พัฒนาระบบการเตือน โดยการลงค�ำว่า
 	       	 “ LASA” ก�ำกับหลังชี่อยาบนสติกเกอร์ยาที่เป็น LASA drugs ทุกตัว  และมีการติดสติกเกอร์
 	       	 “ LASA”  ที่ชั้นจัดยา
    	 2.	 ให้เซ็นชือผู้จดยาในใบสังยาทุกใบ เพื่อให้เกิดความตระหนักในการจัดยามากขึน แต่ไม่มการจับผิด และ
                     ่ ั              ่                                          ้       ี
มีรางวัลให้บุคลากรที่จัดผิดน้อยที่สุด โดยคิดตามจ�ำนวนใบสั่งยาที่จัด
   	 3.	 การจัดยาผู้ป่วยใน จากเดิมจัดยาใส่ไว้ในตะกร้าใหญ่ใบเดียวรวมกัน  ก็เปลี่ยนเป็นจัดยาแยกตะกร้าทั้ง
ยากินและยาฉีดในผู้ป่วยแต่ละราย
  	      4. 	 มีการลงบันทึกเหตุการณ์ความคลาดเคลื่อนทุกครั้ง




66
CQI
ผลลัพท์
   -	 จากการเก็บบันทึกข้อมูลพบว่าความคลาดเคลื่อนจากการจัดยามีแนวโน้มลดลงโดยเฉลี่ยประมาณ 11%
   -	 เจ้าหน้าที่เกิดความตระหนักและมีความระมัดระวังในการจัดยามากขึ้น




                                                                                         67
หลากสี แบบมีความหมาย
                                                                         งานเครื่องมือ โรงพยาบาลหนองพอก

บทนำ� : หน่วยงานเครื่องมือ มีหน้าที่หลักในการจัดชื้อ จัดหาเครื่องมือแพทย์ที่มีคุณภาพ รองรับการให้บริการ
ทางการแพทย์ที่มีคุณภาพของโรงพยาบาลหนองพอก อีกหน้าที่ ที่มีความสำ�คัญมากคือการบำ�รุงรักษาเครื่องมือ
แพทย์ให้ได้มาตรฐาน และมีความพร้อมใช้ตลอดเวลา เพื่อให้บริการที่มีคุณภาพ
เป้าหมาย : เพื่อให้บริการผู้ป่วยที่มีคุณภาพสูงสุด แยกประเภทเครื่องตามลำ�ดับความสำ�คัญ การบำ�รุงรักษา       
เครื่องมือตามความสำ�คัญของเครื่องมือแพทย์แต่ละประเภท
ขั้นตอนการดำ�เนินงาน
	        1.	 แยกประเภทเครื่องมือแพทย์ตามลำ�ดับความสำ�คัญ ดังนี้
	        	 l	 ประเภท A เครื่องมือช่วยชีวิต เช่น เครื่อง Defib/suction
	        	 l	 ประเภท B เครื่องมือช่วยในการรักษา เช่น Infusion pump/syring pump
	        	 l	 ประเภท C เครื่องมือช่วยในการวินิจฉัย เช่น เครื่อง U/S
	        	 l	 ประเภท D เครื่องมือสนับสนุน อื่นๆ
	        2.	 กำ�หนดสี เครื่องมือแต่ละชนิด จัดทำ�สติกเกอร์สีต่างๆ   ติดที่เครื่องมือแพทย์ พร้อมจัดทำ�แนวทาง       
การบำ�รุงรักษา ตามความสำ�คัญของเครื่องมือแพทย์
ผลการดำ�เนินงาน
	       1.	   พบอุบัติการณ์ความเสี่ยงเกี่ยวกับเครื่องมือความไม่พร้อมใช้ลดลง
	       	     l	 ปี 2554 พบ     ครั้ง
	       	     l	 ปี 2555 พบ     ครั้ง (ต.ค.54 - ก.ค.55)
	       2.	   การส่งซ่อมเครื่องมือแพทย์ประเภท  A  ลดลง
	       	     l	 ปี 2554 พบ     ครั้ง
	       	     l	 ปี 2555 พบ     ครั้ง (ต.ค.54 - ก.ค.55)

โอกาสในการพัฒนา เพิ่มการการบำ�รุงรักษา เครื่องมือทุกชนิดทีมีใช้ในหน่วยงาน การบำ�รุงรักษา การพัฒนา
แนวทางในการบริหารจัดการเครื่องมือ




68
CQI
                                       “น้อยๆ แต่บ่อยครั้ง”
                                                                       งานประกันสุขภาพ โรงพยาบาลหนองพอก

ปัญหา
	         จากหนังสือการจัดสรรเงินส�ำหรับผูปวยสิทธิประกันสังคมในเขต จากโรงพยาบาลร้อยเอ็ด   ททางโรงพยาบาล
                                          ้ ่     ์                                        ี่
หนองพอกได้ส่งเบิกไปนั้น    ได้รับการจัดสรรเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกสิทธิ์ประกันสังคมในเขต เฉลี่ย                     
รายละ 262 บาทต่อครั้ง  แต่ความเป็นจริงแล้วคนไข้ที่มารับการรักษามีค่าใช้จ่ายมากกว่า 262 บาทต่อรายต่อครั้ง  
จึงก่อให้เกิดปัญหารายจ่ายมากกว่ารายรับ  งานประกันจึงได้น�ำปัญหาดังกล่าวมาพิจารณาเพื่อการแก้ไข

เป้าหมาย
	        1. ลดค่าใช้จ่าย
	        2. เพิ่มรายได้

กระบวนการ
	        1. รายงานผู ้ อ� ำ นวยการโรงพยาบาลหนองพอก และ              
คณะกรรมการบริหารเพื่อรับทราบข้อมูล
	        2. หาวิธีด�ำเนินการแก้ไขโดยจัดท�ำ Note เป็น Pop up ใน
โปรแกรม HOSxP   ให้แพทย์หรือพยาบาลทราบเกี่ยวกับการจัดยา
ส�ำหรับผู้ป่วยสิทธิ์ประกันสังคมในเขต ขอความร่วมมือจ่ายยาใน
ปริมาณที่น้อยตามความจ�ำเป็น เน้นให้ผู้ป่วยมาบ่อยครั้ง
	        3. เก็บรวบรวมข้อมูลว่าหลังจากบันทึกโน้ตในระบบ HOSxP
แล้ว  เป็นระยะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
	       สามารถเพิ่มรายได้ให้แก่โรงพยาบาลในส่วนของผู้ป่วยนอก
ประเภทสิทธิ์ประกันสังคมในเขต  โดยจะประเมินผลประมาณปลาย
เดือนกันยายน 2555




                                                                                                                  69
เรื่องง่าย ๆ สร้างรายได้หลายล้านบาท
                                                                                      นายส�ำราญ ธรรมสาร
                                                                กลุ่มงานประกันสุขภาพฯ โรงพยาบาลหนองพอก

ปัญหา ประชาชนที่ไม่มีสิทธิการรักษาพยาบาลใด ๆ หรือที่เรียกว่า “สิทธิว่าง” หากเจ็บป่วยอาจต้องจ่ายเงิน              
ค่ารักษาพยาบาลเอง ในอ�ำเภอหนองพอกเมือเดือนตุลาคม 2554 มีจำนวนถึง 400 ราย ซึงท�ำให้ความครอบคลุมสิทธิ
                                          ่                    �                ่
การรักษาพยาบาลของประชาชนในอ�ำเภอหนองพอกมีเพียงร้อยละ 99.42 (เป้าหมายของจังหวัดร้อยเอ็ดคือ                   
ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 99.50) และเป็นล�ำดับที่ 22 ของจังหวัดร้อยเอ็ดจากทั้งหมด 24 ล�ำดับ เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ            
ดังกล่าวจึงหาวิธีการแก้ไขหลายวิธีการเป็นล�ำดับเรื่อยมา

เป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสิทธิการรักษาพยาบาลหากเจ็บป่วยจะได้ไม่ต้องจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลเอง
เพื่อให้ความครอบคลุมสิทธิการรักษาพยาบาลมีอัตราที่สูงขึ้น เพื่อให้ผลงานอ�ำเภอหนองพอกอยู่ล�ำดับที่ดีขึ้นเมื่อ  
เทียบกับอ�ำเภออื่น

ขั้นตอนด�ำเนินการ เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าวและเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้จึงได้หาวิธีการแก้ไข
                                                                            �
หลายวิธีการเป็นล�ำดับเรื่อยมา ดังนี้
	         1. 	โทรศัพท์ถึง อสม. (อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน) ทุกหมู่บ้าน แจ้งรายชื่อประชาชนสิทธิการ
รักษาพยาบาลว่าง เพือให้ อสม. ติดตามมาขึนสิทธิ และโทรศัพท์ตดตามเป็นระยะหากพบว่าประชาชนตามรายชือยัง
                       ่                  ้                  ิ                                       ่
ไม่มาขึ้นสิทธิและเพื่อทราบที่อยู่จริงของประชาชน
	         2. 	โทรศัพท์ถึงประชาชนสิทธิการรักษาพยาบาลว่าง หรือญาติใกล้ชิด (หากทราบหมายเลขโทรศัพท์) เพื่อ
อธิบายเหตุผลและติดตามให้มาขึ้นสิทธิ และโทรศัพท์ติดตามเป็นระยะหากยังไม่ขึ้นสิทธิการรักษาพยาบาล
	         3. 	โทรศัพท์ถงบุคลากร รพ.สต. (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล) เพือให้ตดตามประชาชนสิทธิการรักษา
                         ึ                                                  ่ ิ
พยาบาลว่างในเขตรับผิดชอบให้มาขึนสิทธิ พร้อมทังส่งรายชือให้ทาง E-mail ให้กบบุคลากร รพ.สต. ทุกคน บุคลากร
                                     ้          ้         ่                  ั
สสอ. ทุกคน บุคลากร PCU ทุกคน เพื่อช่วยด�ำเนินงานติดตามประชาชนมาขึ้นสิทธิ
	         4. 	น�ำรายชื่อประชาชนสิทธิการรักษาพยาบาลว่างขึ้น Internet และ Intranet ของ รพ.หนองพอก เพื่อให้
ประชาชน หรือญาติ หรือคนรู้จัก ช่วยบอกต่อ ๆ กันไปถึงผู้มีสิทธิว่างให้มาขึ้นสิทธิ
	         5. 	น�ำเสนอข้อมูลประชาชนสิทธิการรักษาพยาบาลว่างในที่ประชุม คณะกรรมการบริหารเครือข่ายบริการ
สุ ข ภาพอ� ำ เภอหนองพอก (CUP หนองพอก) คณะกรรมการบริ ห าร รพ.หนองพอก ที่ ป ระชุ ม อสม. และ                            
ทีประชุมอืนๆ เพือให้ทราบความครอบคลุมสิทธิและจะได้ชวยแก้ปญหาและด�ำเนินการติดตามประชาชนสิทธิวางมา
   ่        ่     ่                                     ่      ั                                   ่
ขึ้นสิทธิให้ครบ
	         6. 	CUP หนองพอกก�ำหนดให้ผลงานความครอบคลุมสิทธิการรักษาพยาบาลเป็นตัวชี้วัดตัวหนึ่งในการ
ประเมินความดีความชอบของบุคลากร รพ.สต. และ PCU
	         7. 	ใช้มติคณะกรรมการบริหาร CUP หนองพอก ขึ้นสิทธิให้กับประชาชนสิทธิว่างตามแนวทางของจังหวัด
ร้อยเอ็ด หนังสือส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ที่ รอ 0027.005.1/ว561 ลงวันที่ 18 เมษายน 2555

70
CQI
ตัวชี้วัดหรือผลลัพธ์ หลังจากด�ำเนินงานในหลายวิธีการดังกล่าวข้างต้นท�ำให้ได้ผลการด�ำเนินงานตามตารางดังนี้

ตาราง  ผลการด�ำเนินงานขึ้นทะเบียนสิทธิการรักษาพยาบาล อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด

                   เดือน                  ต.ค.      พ.ย.       ธ.ค.      ม.ค.      ก.พ.       มี.ค.     เม.ย.      พ.ค.      มิ.ย.
                                          54        54         54        55         55        55         55        55        55
         ได้ลำ�ดับที่ (ของจังหวัด)        22        20         22        15         8          6          5         4         3
        ความครอบคลุมสิทธิ (%)            99.42 99.44 99.54 99.67 99.80 99.82 99.89 99.91 99.98


	       จ�ำนวนประชาชนสิทธิบัตรทองเพิ่มมากขึ้นจาก 51,322 คนในเดือนตุลาคม 2554 เป็น 51,994 คนใน          
เดือนมิถุนายน 2555 หรือเพิ่มมากขึ้น 672 คนซึ่งจะท�ำให้ได้รับงบประมาณจากรัฐบาลเพิ่มมากขึ้นรายละ              
2,895.60 บาท (ปีงบประมาณ 2555) X 672 คน เป็นจ�ำนวนเงิน 1,945,843.20 บาทต่อปี เป็นประจ�ำทุกปีไป
จนกว่าประชาชนรายนั้น ๆ จะเสียชีวิตหรือย้ายไปขึ้นสิทธิที่ CUP อื่น
	       	
สิ่งที่จะด�ำเนินการต่อไปในอนาคต
	       ติ ด ตามประชาชนที่ มี ที่ อ ยู ่ ต ามส� ำ เนาทะเบี ย นบ้ า นไม่ ใช่ อ� ำ เภอหนองพอกแต่ ตั ว คนมาอาศั ย อยู ่ ใ น                   
อ�ำเภอหนองพอกให้มาขึนสิทธิการรักษาพยาบาลทีอำเภอหนองพอก โดยอาจติดตามทางโทรศัพท์ หรือ ทางจดหมาย
                     ้                                ่�
หรือ ด้วยตัวบุคคล




                                                                                                                                     71
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 51 100

Contenu connexe

Tendances

การเตรียมตัวอุมเราะห์
การเตรียมตัวอุมเราะห์การเตรียมตัวอุมเราะห์
การเตรียมตัวอุมเราะห์Shareef Thongkhamwong
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyUtai Sukviwatsirikul
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552Duangjai Boonmeeprasert
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี lukhamhan school
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )Utai Sukviwatsirikul
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพKris Niyomphandh
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 

Tendances (20)

การเตรียมตัวอุมเราะห์
การเตรียมตัวอุมเราะห์การเตรียมตัวอุมเราะห์
การเตรียมตัวอุมเราะห์
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
เรียงความ ชนะเลิศ วันแม่แห่งชาติ ประจำปี 2552
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการทางเทคโนโลยี
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
โครงงานโวหาร
โครงงานโวหารโครงงานโวหาร
โครงงานโวหาร
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 

Similaire à หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 51 100

รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 somdetpittayakom school
 
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชีโครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชีEveamonwan
 
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชีโครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชีEveamonwan
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรแบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรNontaporn Pilawut
 
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...ประชาสัมพันธ์ สพป.สตูล
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50Makin Puttaisong
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554RMUTT
 
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทยกรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทยssuserf7c23f
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...nawaporn khamseanwong
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551weerabong
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 
4กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ574กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ57somdetpittayakom school
 

Similaire à หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 51 100 (20)

รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55 รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่2-55
 
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชีโครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
 
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชีโครงการเสริมสร้างการบัยชี
โครงการเสริมสร้างการบัยชี
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรแบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
 
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
File1
File1File1
File1
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
 
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทยกรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
กรณีศึกษาหจก.ครอบครัวน้ำพริกไทย
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการเงินและบัญชี โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรว...
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551
 
P C C H R& D K P I
P C C  H R& D  K P IP C C  H R& D  K P I
P C C H R& D K P I
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09
 
Money
MoneyMoney
Money
 
คู่มือกาาติดต่อราชการ ปี 2561
คู่มือกาาติดต่อราชการ ปี 2561คู่มือกาาติดต่อราชการ ปี 2561
คู่มือกาาติดต่อราชการ ปี 2561
 
Kumu 61
Kumu 61Kumu 61
Kumu 61
 
4กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ574กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ57
 
3 tavee
3 tavee3 tavee
3 tavee
 

หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 51 100

  • 1. CQI การพัฒนาระบบส่งรายงานการเงินเกณฑ์คงค้าง นายไผ่ล้อม ศรีหาตา ผู้เรียบเรียง นางสาวณัธฐยาน์ เศษบุบผา ผู้น�ำเสนอ งานการเงิน กลุ่มงานการจัดการ (บริหารงานทั่วไป) ปัญหา 1. ตัวชี้วัดการส่งรายงานการเงินเกณฑ์คงค้าง ของ สปสช.ปี พ.ศ. 2553 -2554 ไม่ถึงเป้าหมาย และจัดอยู่ ล�ำดับ รองสุดท้ายของโรงพยาบาลชุมชนในระดับเขต 12 (จ�ำนวน 64 รพช.) 2. เจ้าหน้าที่การเงินผู้รับผิดชอบลาออกในปี 2553 จ�ำนวน 2 คน 3. การส่งรายงานไม่ทันเวลา ไม่ถูกต้อง ทั้งของ รพช. และ สสอ. สาเหตุ 1. ผู้ปฏิบัติงานยังไม่เข้าใจระบบการส่งรายงาน และการแปลงข้อมูล ก่อนขึ้น Website ของ สปสช. 2. ขาดแคลนบุคลากร(เจ้าหน้าที่การเงิน จ�ำนวน 2 อัตรา) 3. ขาดการประชาสัมพันธ์ บุคลากรทั้ง CUP ไม่เห็นความส�ำคัญของการรายงานเกณฑ์คงค้าง 4. ไม่มีระบบการตรวจสอบการปฏิบัติงาน และเข้าดูผลการรายงานของหน่วยงาน ในแต่ละเดือน ตัวชี้วัดในการแก้ปัญหา 1. การส่งรายงานเกณฑ์คงค้างของ สสอ. , รพช. ถูกต้องทันเวลา ถูกต้อง ทุกเดือน 2. รายงานการส่งรายงานจาก สปสช. ประจ�ำปี 2555 ไม่เกินล�ำดับที่ 32 3. มีระบบตรวจสอบความถูกต้อง และรายงานผู้บริหารฯทุกเดือนในที่ประชุม CUP วิธีแก้ไขปัญหา 1. ประชุมคณะกรรมการ CFO และ คณะกรรมการ CUP เพื่อรับทราบปัญหา ปี 2555 ประชุมแล้ว 10 ครั้ง 2. รับสมัครเจ้าพนักงานการเงิน เพื่อทดแทน จ�ำนวน 2 อัตรา 3. จัดการเรื่ององค์ความรู้แก่บุคลากร คือ เชิญเจ้าหน้าที่การเงินโรงพยาบาลข้างเคียงมาเป็นพี่เลี้ยง จ�ำนวน 3 วัน และอบรมการส่งรายงานให้กับผู้ส่งรายงาน รพ.สต.ทุกแห่ง จ�ำนวน 3 วัน 4. สนับสนุนการปฏิบัติงานโดย จัดหาโปรแกรม และเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์ทางด้านสื่อสาร 5. นิเทศติดตาม ประเมินผล โดยการควบคุมภายใน ทุก รพ.สต. จ�ำนวนแห่งละ 1 ครั้ง/ปี ผลลัพธ์ 1. การรายงานผลการส่งรายงานจาก สปสช. ไม่เกินล�ำดับที่ 32 2. มีเจ้าหน้าที่การเงินเพิ่ม จ�ำนวน 2 คน 3. มีระบบการตรวจสอบความถูกต้องของรายงาน ,การควบคุมภายใน จ�ำนวน 1 ครั้ง และรายงานผู้บริหาร อย่างต่อเนื่อง จ�ำนวน 10 ครั้ง โอกาสพัฒนา 1. พัฒนางานการลงบัญชีโดยใช้โปรแกรมการเงิน MPI โดยใช้ระบบ LAN 2. การส่งรายงานการของ รพ.สต.ทาง Website ของโรงพยาบาลหนองพอก 51
  • 2. การพัฒนาระบบน�ำส่งเงินคงเหลือประจ�ำวัน นางสาวภรทิพย์ บุดดาเพ็ง เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี ค�ำส�ำคัญ: ซื่อสัตย์ ถูกต้อง ทันเวลา ครบถ้วน น�ำไปใช้ได้ สรุปผลโดยย่อ: พัฒนาระบบน�ำส่งเงินคงเหลือประจ�ำวันให้เป็นไปตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการน�ำเงิน ส่งคลังของส่วนราชการ อย่างเคร่งครัด ชื่อและที่อยู่ขององค์กร : งานการเงินและบัญชี โรงพยาบาลหนองพอก ปัญหาและบริบทงาน: การน�ำส่งเงินจากฝ่ายต่างๆ มีจ�ำนวนเงินไม่ถูกต้อง และจ�ำนวนใบเสร็จรับเงินไม่ครบ ไม่เรียงตามเล่มที่ /เลขที่ เมื่อน�ำเงินไปฝากธนาคาร ท�ำให้ยอดเงินไม่ตรงกับจ�ำนวนเงิน กับใบน�ำส่งเงิน เป้าหมาย (Purpose): จ�ำนวนเงิน /จ�ำนวนใบเสร็จ/จ�ำนวนเงินในใบเสร็จเท่ากัน และการน�ำเงินฝากธนาคารถูก ต้องตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการน�ำเงินส่งคลังของส่วนราชการ 100% การด�ำเนินงาน (Process) 1. เมื่อเจ้าหน้าที่ ผู้มีหน้าที่รับเงินคงเหลือประจ�ำวัน ได้รับเงินสด (รายได้ช�ำระเอง) ตรวจสอบจ�ำนวนเงิน และบันทึกใบเสร็จให้ตรงกับจ�ำนวนที่ได้รับอย่างถูกต้อง โดยเรียงใบเสร็จตามเล่มที่/เลขที่ เอาตัวจริงให้ผู้ป่วย และ เก็บส�ำเนาเพื่อเป็นหลักฐาน 2. กรณีที่เจ้าหน้าที่ เขียนใบเสร็จรับเงินผิด ให้ยกเลิกใบเสร็จและแนบติดกับเล่มนั้นๆ 3. เมื่อเจ้าหน้าที่น�ำเงินมาส่งที่งานการเงิน ให้เจ้าหน้าที่งานการเงินปฏิบัติ ดังนี้ - ตรวจนับใบเสร็จและจ�ำนวนเงิน เช่น เล่มที่/เลขที่ มีจ�ำนวนเงินตรงตามที่ระบุในใบเสร็จหรือไม่ - ตรวจนับจ�ำนวนเงินตามใบเสร็จ และใบสั่งยา ให้ถูกต้องตรงกันทุกครั้ง - บวกจ�ำนวนเงินตามใบเสร็จ โดยใช้เครื่องค�ำนวณ หรือ Microsoft Excel อย่างถูกต้อง - ตรวจนับจ�ำนวนเงิน เมือถูกต้องแล้วน�ำฝากธนาคาร โดยเขียนใบน�ำฝากให้ตรงกับธนาคาร เลขทีบญชี ่ ่ ั จ�ำนวนเงิน และลงลายมือชื่อผู้น�ำฝาก ให้ถูกต้องอย่างครบถ้วน ผลลัพท์ (Performance) เจ้าหน้าที่ ผู้มีหน้าที่รับเงินคงเหลือประจ�ำวัน มีความเข้าใจในระเบียบ ขั้นตอนและปฏิบัติตามได้อย่าง ถูกต้องอย่างเคร่งครัด ท�ำให้การน�ำส่งเงินคงเหลือประจ�ำวันเป็นไปอย่างรัดกุม รวดเร็ว ทันเวลา ครบถ้วน ถูกต้องตาม ระเบียบของทางราชการ มีการประสานงานระหว่างฝ่ายต่างๆ และงานมีประสิทธิภาพท�ำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างเจ้าหน้าที่การเงิน และผู้รับผิดชอบการน�ำส่งเงิน เจ้าหน้าที่การเงิน มีการตรวจสอบ ติดตามและทวงถามอย่างสม�่ำเสมอ รอบคอบเมื่อพบปัญหารีบรายงาน ให้ผู้บังคับบัญชาทราบตามขั้นตอน 52
  • 3. CQI การลดค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลือง นายไผ่ล้อม ศรีหาตา นักจัดการงานทั่วไปช�ำนาญการ นางสุธีรา ภิรมย์นาค นักวิชาการพัสดุ นายสุขสันต์ พันธมา เจ้าพนักงานพัสดุ เป้าหมาย เพื่อให้ค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลืองลดลง ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ วัสดุสิ้นเปลืองมีความจ�ำเป็นจะต้องใช้ในตึกผู้ป่วย และหน่วยงานต่าง ๆ ในโรงพยาบาล ซึ่งในแต่ละปีค่าใช้จ่ายวัสดุ สิ้นเปลืองจะมีจ�ำนวนที่สูงขึ้นทุกปี เกิดจากการส�ำรองวัสดุมากเกินความจ�ำเป็น และหน่วยงานยังไม่ทราบเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ที่เกิดจากการใช้วัสดุสิ้นเปลืองจึงท�ำให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น กิจกรรมในการพัฒนา 1. จั ดท�ำแนวทางปฏิบัติการเบิกจ่ายวัสดุ พร้อมรายละเอียดค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลืองที่เกิดขึ้นในแต่ ล ะปี ให้หน่วยงานต่างๆ รับทราบ 2. ก�ำหนดให้มีการน�ำซากวัสดุมาแลกกับวัสดุที่ต้องการเบิกใหม่ทุกครั้ง 3. ก� ำ หนดแผนการปฏิ บั ติ ง านเยี่ ย มหน่ ว ยเบิ ก ปี ล ะ 1 ครั้ ง เพื่ อ ให้ ค�ำ แนะน� ำ ในการลงทะเบี ย นคุ ม การ รับ – จ่ายวัสดุ และจัด Stock ได้เหมาะสมกับการใช้วัสดุ และขอความร่วมมือในการลดค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลือง 4. ให้บริษัทเสนอราคาวัสดุหลายๆบริษัทเพื่อเลือกวัสดุที่มีคุณภาพและราคาเหมาะสมให้มากที่สุด การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น การด�ำเนินการดังที่กล่าวมา ท�ำให้ได้รับความร่วมมือจากหน่วยเบิกในโรงพยาบาลและสามารถประหยัดค่าใช้จ่าย วัสดุสิ้นเปลือง ดังนี้ รายละเอียดค่าใช้จ่ายวัสดุระหว่างปี 2551 – 2555 ของโรงพยาบาลหนองพอก ปีงบประมาณ ยอดการใช้วัสดุสิ้นเปลือง (บาท) หมายเหตุ 2551 1,268,399.77 - 2552 1,452,604.00 เพิ่มขึ้น 184,204.23 2553 2,054,554.85 เพิ่มขึ้น 601,950.85 2554 2,674,684.52 เพิ่มขึ้น 620,129.67 2555 2,059,649.84 ลดลง 615,034.68 บทเรียนที่ได้รับ การท�ำความเข้าใจในปัญหาที่เกิดขึ้น และขอความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆท�ำให้งานนั้น ประสบความส�ำเร็จได้ ส�ำหรับปี 2551 จะเห็นว่าค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลืองสูงขึ้นจากเดิม เนื่องจากทางโรงพยาบาลฯ ก�ำหนดแผนที่จะเปิด การให้บริการผู้ป่วยพิเศษ คือ ตึกพิเศษมหาวีโร ซึ่งท�ำให้การจัดซื้อวัสดุสิ้นเปลือง เพิ่มมากขึ้นจากเดิม ๔๔๑,๘๓๖.๕๔ บาท แต่ถ้าจะเปรียบเทียบจากการลดค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลือง ตั้งแต่ ปี ๒๕๔๘ – ๒๕๕๒ เป็นจ�ำนวน ๑,๐๕๘,๘๘๑.๖๔ บาท ซึ่ง ทางฝ่ายพัสดุฯ มีความภาคภูมิใจในการได้รับความร่วมมือจากหน่วยเบิก และสามารถท�ำให้ทางโรงพยาบาลประหยัด งบประมาณในการจัดซื้อวัสดุสิ้นเปลือง 53
  • 4. ฝุ่นรึจะกล้า ถ้าเจอผ้าปูเตียง นายอดิศักดิ์ พลเยี่ยม งานจ่ายกลาง - ซักฟอก บทน�ำ : หน่วยงานซักฟอกของโรงพยาบาลมีหน้าทีจดเตรียม จัดหา ท�ำความสะอาดผ้าทุกชนิดให้พอเพียงและสะอาด ่ั ส�ำหรับให้บริการผู้ป่วยโรงพยาบาลหนองพอก โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัยด้านอาชีวอนามัย ของบุคลากรที่ปฏิบัติ งานเป็นส�ำคัญ การป้องกันบุคลากรจากฝุนผ้าในหน่วยงานซักฟอก ไม่ให้มผลกระทบต่อสุขภาพของบุคลากรในหน่วย ่ ี งานก็ส�ำคัญมากเช่นกัน เป้าหมาย : เพื่อป้องกันไม่ให้มีฝุ่นผ้าฟุ้ง กระจาย อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ บุคลากรที่ ปฏิบัติงานมีความปลอดภัยด้านอาชีวอนามัย ขั้นตอนการด�ำเนินงาน : 1. จัดท�ำถุงผ้าที่ผลิตจาก ผ้าปูเตียงที่ช�ำรุดแล้ว ได้ตัดเย็บเป็นถุงมีหูรูดหัว – ท้าย ปลายด้านหนึ่งผูกติดกับ ท่อเป่าฝุ่นทิ้งของเครื่องอบผ้า อีกด้านผูกติดกับถังน�้ำ ที่ใส่น�้ำไว้เต็มถังเพื่อหวังผลให้ฝุ่นผ้าตกลงไปในน�้ำ ผลการประเมิน ถุงผ้าโปร่ง ตึงมาก มีรูรั่วระหว่างถังเก็บน�้ำและถุง ที่เกิดจากแรงดันจากท่อส่งฝุ่น แรงดันลมย้อน กลับไปที่เครื่องอบผ้า ท�ำให้เครื่องมีความร้อนเพิ่ม และมีฝุ่นบริเวณรอบถังน�้ำ 2. ได้ท�ำถุงผ้าขนาดเดียวกันเพิ่ม อีก 1 ถุง ต่อจากถุงที่1 เพื่อหวังผลลดแรงดันจากเครื่องอบผ้า และช่วยดักฝุ่น เพิ่ม ผลการประเมิน พบว่าถุงโปร่งตึงลดลง แต่ยังมีแรงดันมากอยู่ ความร้อนที่เครื่องอบผ้าลดลง ฝุ่นที่ที่ติดนอก ถังผ้าลดลง 3. ได้จัดท�ำถุงผ้าเพิ่มอีก 1 ถุงเป็นทั้งหมด 3 ถุง โดยใช้ท่อลมต่อเชื่อมในแต่ละถุง ถุงที่ 1 ต่อลงน�้ำ ถุงที่ 2 ต่อ จากถุงที่ 1 และถุงที่ 3 ต่อจากถุงที่ 2 และปล่อยน�้ำหยดให้ถุงผ้าเปียกตลอดเวลาที่มีการอบผ้า เพื่อให้จับกับ ฝุ่นได้ดียิ่งขึ้น ผลการประเมิน ถุงผ้าทั้ง 3 ถุงไม่โปร่งตึงมาก เครื่องอบผ้าไม่ร้อน ไม่พบเศษฝุ่นรอบบริเวณเครื่องดักฝุ่นผ้า ครบ 1 สัปดาห์ได้ท�ำความสะอาดถุงผ้า พบเศษฝุ่นจ�ำนวนมาก และเปลี่ยนชุดถุงดักฝุ่นผ้าทุก 1 เดือน ผลการด�ำเนินงาน 1. ผลการตรวจฝุ่นจากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เดือนมกราคม ปี 2555 2. บุคลากรที่ปฏิบัติงานมีความปลอกภัยด้านอาชีวอนามัย 3. ประหยัดงบประมาณ l เครื่องดักฝุ่นผ้าเดิม 35,000 บาท l ถุงดักฝุ่นผ้าที่ผลิตเอง ชุดละประมาณไม่เกิน 600 บาท (ผ้าเก่า+การตัดเย็บ+ถังน�้ำ) โอกาสในการพัฒนา ได้เรียนรูเ้ รือง การวางแผน การพัฒนางาน การท�ำงานเป็นทีม การคิดพัฒนางานจากงานประจ�ำ ่ 54
  • 5. CQI ระบบบริการวัคซีนแนวใหม่กับงานอนามัยเด็กดี คุณบุษบา สมบัติศรี พยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการ กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิ โรงพยาบาลหนองพอก ปัญหา/บริบทของงาน 1. PCU เปิดให้บริการวัคซีนทุกวันพุธ ของสัปดาห์ - เด็กขาดนัดบ่อย ( ให้ อสม.ตาม ประกาศทางหอกระจายข่าว โทรศัพท์ตามผู้ปกครอง) - งานไม่มีระบบ เพราะให้บริการทุกช่วงอายุตั้งแต่ อายุ 1 เดือน - 5 ปี (ทำ�ให้ต้องรอนาน และโอกาสในการให้ วัคซีนผิดพลาดสูง) - อัตราการสูญเสียวัคซีนสูง 2. การให้ความรู้มารดาและผู้ปกครองตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ ทำ�ได้ยาก แนวคิด / หลักการ จากการดำ�เนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ตั้งแต่อายุ 1 เดือน -5 ปี ของ PCU พบว่า ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2554 – กรกฎาคม 2555 มีเด็กมารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เฉลี่ย 134 คน/เดือน ทั้งนี้เนื่องจาก PCU ในได้มีการปรับเปลี่ยนระบบการให้วัคซีน ในแต่ละสัปดาห์ ดังนี้ แบ่งการรับวัคซีนออกเป็น พุธที่ 1 ของเดือน ให้บริการวัคซีน DTP+HBV และ OPV กลุ่มเป้าหมายคืออายุ 2, 4 และ 6 เดือน พุธที่ 2 ของเดือน ให้บริการวัคซีน MMR กลุ่มเป้าหมายคือ อายุ 9 - 12 เดือน พุธที่ 3 ของเดือน ให้บริการวัคซีน JE กลุ่มเป้าหมายคือ อายุ 1 ปี , 1 ปี 1 เดือน และ 2 ปี ถึง 2 ปี 6 เดือน พุธที่ 4 ของเดือน ให้บริการวัคซีน DTP และ OPV กลุ่มเป้าหมายคือ 1 ปี 6 เดือน และ 4 - 5 ปี ระบบการทำ�งาน 1.1 กำ�หนดตัวชี้วัด เกณฑ์การสูญเสีย การได้รับ Vaccine 1.2 กำ�หนดผู้รับผิดชอบหลัก ผู้รับผิดชอบรอง และผู้รับผิดชอบในแต่ละจุดบริการในคลินิก 1.3 ยื่นบัตร และรับบัตรคิว ( One stop service ) 1.4 เฝ้าระวังทางโภชนาการ (ชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะ รอบอก และกระหม่อม)ประเมินพัฒนาการเด็ก ร่วมกับผู้ปกครอง 1.5 บันทึกข้อมูลในสมุดทะเบียน ขอเบอร์โทรศัพท์ผู้ปกครอง นัดรับบริการครั้งต่อไป 1.6 ให้ความรู้มารดาและผู้ปกครองตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ 1.7 ตรวจสุขภาพช่องปากโดยเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 1.8 รับวัคซีน (ตามบริบทของแต่ละสัปดาห์) 1.9 ลงข้อมูลในโปรแกรม HosXp (เช็คข้อมูลการมารับวัคซีนตามใบนัด ว่าในสัปดาห์นั้น ขาดนัดกี่ราย เพื่อจะได้ติดตามมารับวัคซีนต่อไป) ผลลัพธ์ - ไม่มีความผิดพลาดในการให้วัคซีน (อัตราผิดพลาดในการให้วัคซีนร้อยละ 0) - ร้อยละ 99 ของเด็กได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ - มารดาและผู้ปกครอง มีความพึงพอใจในระบบบริการร้อยละ 89 - อัตราการสูญเสียวัคซีนลดลง เหลือร้อยละ 13.2 55
  • 6. การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงที่มีคุณภาพของศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลหนองพอก กรรณิกา นาควัน พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ และทีมสหวิชาชีพ ปัญหา / บริบทของงาน : โรงพยาบาลหนองพอกเป็นโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่รับบริการเป็นจ� ำนวนมาก และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยสังเกตจากจ�ำนวน ผู้มารับบริการที่ตึกผู้ป่วยนอกตั้งแต่ ปี 2546, 2547, 2548, 2549, 2550 จ�ำนวน 825, 895, 956, 1212, 1518 ราย ตามล�ำดับ เมือผูปวยเพิมมากขึนแต่บคลากรสาธารณสุขมีจ�ำนวนเท่าเดิม ท�ำให้ไม่เพียงพอต่อการให้บริการทีรวดเร็ว ่ ้ ่ ่ ้ ุ ่ ทันใจแก่ผู้มารับบริการ ผู้ป่วยบางรายใช้เวลาในการมารับยาโรคเรื้อรังที่โรงพยาบาลเกือบ 6 ชั่วโมง ท�ำให้เสียเวลา และท�ำให้ผู้ป่วยไม่พึงพอใจในการรับบริการ และในที่สุดก็จะไม่มารับยาอีกเลย เนื่องจากเบื่อหน่ายในการนั่งรอ รับบริการตามขั้นตอนที่ยุ่งยาก ท�ำให้ผู้ป่วยขาดยาจนอาจมีผลท�ำให้ผู้ป่วยเกิดปัญหามีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นและ จากผลการตรวจ HbA1C ในผู้ป่วยโรคเบาหวานปี 2554 พบว่าผลเฉลี่ยของ HbA1C อยู่ที่ระดับ 8.66 % ซึ่งถือว่า อยู่ในระดับที่สูงท�ำให้มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้เพิ่มขึ้น ขั้นตอนการด�ำเนินของงาน : 1. ด�ำเนินการกิจกรรมตามโครงการ โดยออกไปให้บริการที่ศาลาประชาคมประจ�ำหมู่บ้าน และมีขั้นตอน บริการ ดังนี้ จุดที่ 1 การยื่นบัตรประจ�ำตัวผู้ป่วยโรงพยาบาลหนองพอก จุดที่ 2 การชั่งน�้ำหนัก / วัดส่วนสูง / วัดความดันโลหิต / วัดรอบเอวตรวจหาระดับน�้ำตาลในเลือด ( เฉพาะในรายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ) จุดที่ 3 แยกผู้ป่วยออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 มีผลเลือดที่ปกติจะเข้ากลุ่มรับยาตามปกติและ กลุ่มที่ 2 จะมีผลเลือด > 250 mg/dl หรือ BP > 160/90mm/hgจะ Refer ไปพบแพทย์ ที่โรงพยาบาลหนองพอกเพื่อให้ได้รับการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม จุดที่ 4 รับประทานยาก่อนอาหารและรับประทานอาหารเช้าร่วมกันหลังจากนั้นก็รับประทานยา หลังอาหาร จุดที่ 5 รับความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง / การป้องกันภาวะแทรกซ้อน / การรับ ประทานอาหารที่เหมาะสมเฉพาะโรค / การออกก�ำลังกายที่เหมาะสมกับสภาพร่างกาย / การดูแลเท้า มีการประเมินความรู้ก่อนและหลังการเรียนรู้ทุกเรื่อง / ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ ผล FBS ปกติและผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ผล FBS ผิดปกติแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตนใน การควบคุมโรคที่ถูกต้อง จุดที่ 6 รับยาประจ�ำเดือน จุดที่ 7 ท�ำแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการรับยาโรคเรื้อรัง 56
  • 7. CQI 2. ตรวจเลือดผู้ป่วยเพื่อประเมินผลความก้าวหน้าในการรักษาทุก 6 เดือน และพบแพทย์เพื่อปรับแผน การรักษาพยาบาล 3. ถ้าผลเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ แพทย์ส่งกลับรับยาที่ชุมชนต่อ แต่ถ้าผลเลือดผิดปกติแพทย์จะเป็น ผู้พิจารณาให้รับยาต่อที่โรงพยาบาล 4. สรุปและรายงานผลการด�ำเนินงาน ผลการด�ำเนินงาน : เมื่อโครงการได้ด�ำเนินมาครบ 6 เดือน ประเมินผลการรักษาพยาบาล โดยการตรวจ Lipid profile , HbA1C และในโครงการนี้ทางศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลหนองพอกใช้ระดับ HbA1C เป็น ตัวชี้วัด ซึ่งผลออกมาพบว่าผล HgA1C มีระดับลดลงร้อยละ 59.32 นอกจากตรวจพบว่า HbA1C ลดลงแล้ว ยังพบว่า BUN ลดลงร้อยละ 92.307 ,Triglyceride ลดลงร้อยละ 84.615 ,LDL ลดลงร้อยละ 84.615 , Cholesterol ลดลง ร้อยละ 92.307 ซึ่งในขณะเดียวกันระดับ HDL ยังเพิ่มขึ้นร้อยละ 92.307 ส่งผลให้ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน ลดลง และผู้ป่วยมีความพึงพอใจในการรับบริการสูงถึง ร้อยละ 99 โอกาสพัฒนา : สามารถน�ำระบบการด�ำเนินงานนี้ไปใช้ได้กับกลุ่ม CANDO ทุกหมู่บ้านอย่างเหมาะสม 57
  • 8. แฟ้มสุขภาพ 4 G 7 สิ่งมหัศจรรย์ นายกฤษฎา เสนาหาร ต�ำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ปัญหาและบริบทของงาน          การด�ำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขในการปฏิบัติงานเชิงรุกในชุมชนมีการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง การบันทึกกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และฟืนฟูสภาพต่างๆทีปฏิบตงานในพืนทีมกจะบันทึกในสมุดหรือ ้ ่ ัิ ้ ่ั เศษกระดาษอาจเกิดการสูญหาย ท�ำให้ยากแก่การสรุปข้อมูล และปัญหาที่พบในการปฏิบัติงานของอาสาสมัคร สาธารณสุขคือขาดความมั่นใจ ดูแลไม่ครอบคลุม บันทึกขาดความต่อเนื่อง ลงบันทึกไม่ถูกต้อง ขาดความรู้เรื่องการ ดูแลกลุ่มเป้าหมาย และแนวทางปฏิบัติ ที่ชัดเจน กิจกรรมด้านสาธารณสุขไม่ครอบคลุม ขาดการวิเคราะห์ ขาด การนิเทศติดตามผลอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขซึงมีกลุมทีตองดูแลเป็นพิเศษ ่ ่ ่้ คือ กลุ่ม CANDO คือ เน้นการดูแล 5 กลุ่มเป้าหมายหลัก ประกอบด้วยกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่ม ผู้พิการ กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ซึ่งกิจกรรมของอาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกชุมชน จึงได้จัดท�ำแฟ้มสุขภาพ 4 G 7 สิ่งมหัศจรรย์ ขึ้นมา เป้าหมาย 1. เพื่อให้มีการบันทึกข้อมูลการปฏิบัติงาน และข้อมูลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่อย่างเป็นระบบ 2. เพื่อรวบรวม สรุป วิเคราะห์ข้อมูล และแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม 3. เพื่อตอบสนองนโยบาย หมอครอบครัว และการดูแลกลุ่ม CANDO การด�ำเนินงาน 1. สร้างแบบรายงานบันทึกกิจกรรมของ 5 กลุมเป้าหมายหลัก ครอบคลุมทังด้านกาย จิตและสังคม ได้ดงนี้ ่ ้ ั แฟ้มงานที่ 1 แผนที่เดินดินในความดูแลของทีมส่งเสริมสุขภาพ แฟ้มงานที่ 2 การดูแลหญิงตั้งครรภ์ของทีมส่งเสริมสุขภาพ แฟ้มงานที่ 3 การดูแลเด็กแรกเกิด-5 ปี ของทีมส่งเสริมสุขภาพ แฟ้มงานที่ 4 การดูแลผู้สูงอายุ ของทีมส่งเสริมสุขภาพ แฟ้มงานที่ 5 การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังของทีมส่งเสริมสุขภาพ แฟ้มงานที่ 6 การดูแลผู้พิการของทีมส่งเสริมสุขภาพ แฟ้มงานที่ 7 ทะเบียนรับแจ้งเหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน SRRT เครือข่ายระดับหมู่บ้าน 2. ทีมส่งเสริมสุขภาพ ได้รับการอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพทั้งทางด้านกาย จิตและสังคมรวม ถึงการประสานงานเพื่อสนับสนุนการบริการสุขภาพจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. ทีมส่งเสริมสุขภาพ ปฏิบัติงานทุกวันโดยความสมัครใจ เช่น การส�ำรวจลูกน�้ำยุงลายอย่างน้อยสัปดาห์ ละ 1 ครั้ง การออกเยี่ยมบ้านใน 5 กลุ่มเป้าหมาย การตรวจและรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงใน ชุมชนตามโครงการใกล้บ้านใกล้ใจ ทีม SRRT หมู่บ้าน เป็นต้น 4. ทีมส่งเสริมสุขภาพ มีการบันทึกข้อมูล สรุปผล การด�ำเนินงาน ส่งทุกวันจันทร์แรกของเดือนและมีระบบ ติดตาม ประเมินผล คือ ระบบ 4 G 58
  • 9. CQI ระบบติดตามผล 4 G เป็นระบบติดตามผลและประเมินผล ใน 4 ด้าน ได้แก่ กาย (Healthy) คือ มีสุขภาพกายที่ดี จิตใจ (mental) คือ มีสุขภาพจิตที่ดี สังคม (Social) คือ มีสังคมที่ดี สังคมมีส่วนร่วม ความคิดสร้างสรรค์ (Innovation) คือ มีนวัตกรรมใหม่ๆในชุมชน โดยใช้แบบติดตามประเมินผล ทุกวันจันทร์แรกของเดือน ผลลัพธ์ 1. ร้อยละ 92.64 ของครัวเรือนได้รับการดูแลจากทีมส่งเสริมสุขภาพ ตามคุ้มที่รับผิดชอบ 2. ร้อยละ 100 ของทีมส่งเสริมสุขภาพได้รับการพัฒนาทักษะในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสุขภาพ และการควบคุมป้องกันโรคระบาดในชุมชน 3. ทั้ง 20 หมู่บ้านปลอดไข้เลือดออก 4. มีแบบบันทึกกิจกรรม และรูปแบบการท�ำงานของทีมส่งเสริมสุขภาพ ใน 5 กลุ่มเป้าหมายหลัก ทั้งเชิงรับและเชิงรุกแบบผสมผสานและสามารถสรุปผลการด�ำเนินงานของทีมสุขภาพได้ดังนี้ สรุปจ�ำนวนกลุ่มเป้าหมาย CANDO (คน) ที่ได้รับการดูแลที่บ้าน กลุ่ม เด็ก 0-5 ปี ผู้ป่วยเรื้อรัง หญิงตั้งครรภ์ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ รวม จำ�นวน ผลงาน จำ�นวน ผลงาน จำ�นวน ผลงาน จำ�นวน ผลงาน จำ�นวน ผลงาน 470 454 432 403 30 30 1,059 952 197 188 ร้อยละ 96.59 93.29 100 89.89 95.43 92.64 - กลุ่ม CANDO มีทั้งหมด 2,188 คน ได้รับการดูแล 2,027 คนคิดเป็นร้อยละ 92.64 โอกาสในการพัฒนา 1. เพิ่มกลุ่มที่จะต้องดูแลเป็นพิเศษ เช่น กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อให้ครอบคลุม มากขึ้น 2. เพิ่มแฟ้มงานจาก 1 หมู่บ้าน/ 1 แฟ้มงาน เป็น 1 คน ต่อ 1 แฟ้มงาน 59
  • 10. ใหม่หอมกว่าเก่า งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลหนองพอก จ.ร้อยเอ็ด ปัญหาและบริบทงาน : เดิมบริบทงานแพทย์แผนไทยมีกระบวนการในการอบไอน�้ำสมุนไพรโดยใช้หม้อต้ม โดยการส่งท่อจากข้างนอกเข้าไปในตู้อบไอน�้ำสมุนไพร ใช้ตัวสมุนไพรทั้งสดหรือแห้งเทลงในหม้อต้มท�ำให้ท่ออุดตัน ตัวยาออกไม่หมด ไอน�ำไหลไม่สะดวกท�ำให้หม้อล้างออกยาก ต้องใช้เวลานาน จนกระทังมีอบตการณ์หลายครังทีทำให้ ้ ้ ุ ัิ ้ ่ � หม้อต้มความร้อนไม่เต็มที่ จึงท�ำให้ผู้ป่วยต้องใช้เวลานานในการอบไอน�้ำสมุนไพร ขึ้นตอนด�ำเนินงาน หลังจากที่เกิดอุบัติการณ์ดังกล่าวขึ้นจึงมีการปรับกระบวนการอบไอน�้ำสมุนไพรใหม่โดยใช้หม้อต้มเหมือน เดิม ส่วนตัวยาสมุนไพรจะใช้ผ้าด้ายดิบท�ำเป็นถุงมัดด้วยเชือก น�ำตัวยาที่ใช้ในการอบไอน�้ำสมุนไพร จะใช้สมุนไพร ทั้งสดหรือแห้งใส่ในถุงมัดด้วยเชือกก่อนแล้วเอาถุงที่มีสมุนไพรวางลงในหม้อต้มอีกครั้งหนึ่ง ท�ำให้หม้อต้มอบไอน�้ำ สมุนไพรมีความร้อนมากขึนกว่าเดิม ตัวยาสมุนไพรมีกลินหอมมากขึนกว่าเดิม ไอน�ำไหลได้สะดวกท�ำให้หม้อล้างออก ้ ่ ้ ้ ได้ง่าย ไม่ต้องใช้เวลานาน ผลการด�ำเนิงาน หม้ออบไอน�้ำสมุนไพรมีความร้อนมากขึ้นกว่าเดิม ลดปัญหาในการซ่อมบ�ำรุงหม้ออบไอน�้ำสมุนไพร โอกาสพัฒนา มีตู้อบไอน�้ำสมุนไพรแยกชาย – หญิง อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้มารับบริการอบไอน�้ำ สมุนไพร 60
  • 11. CQI ต่อยอดการแก้ไขปัญหาการเก็บแฟ้มผิดช่อง นายมนูญ นิลพัสด์ ผู้ช่วยเหลือคนไข้ หน่วยงานเวชระเบียน บทน�ำ เมือผูปวยได้รบการตรวจจากแพทย์เสร็จสิน แฟ้มเวชระเบียนจะถูกน�ำกลับมาเก็บยังตูเ้ ก็บทีหองเวชระเบียน ่ ้ ่ ั ้ ่ ้ ซึ่งเจ้าหน้าที่เวชระเบียนจะจัดเก็บตามช่อง HN ซึ่งแต่เดิมนั้นการจัดเก็บแฟ้มเวชระเบียนจะแยกชัดในเรื่อง พ.ศ. เพราะจัดท�ำเวชระเบียนสีต่างกันในแต่ละปี และ ได้ท�ำการพัฒนารอบที่ 1 คือการติดสติกเกอร์สีเพื่อระบุเลข หลักร้อย แต่ปัญหายังคงเกิดขึ้น กระบวนการแก้ไข จากการประชุมบุคลากรในหน่วยงาน และเก็บข้อมูลตั้งแต่ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555 พบว่า แฟ้ม เวชระเบียนยังมีการเก็บผิดช่องอยู่ 35 แฟ้ม เฉลี่ยเดือนละ 5 แฟ้ม และพบผิดมากคือ หลักพัน เช่น HN 5402251 จะพบอยู่ที่ HN 5403251 เพราะระบบสติกเกอร์สีที่ใช้อยู่จะคุมแค่หลักร้อย ดังนั้นการเขียนตัวเลขใส่สันแฟ้ม จากหลักพันถึงหลักหน่วย เพื่อเพิ่มความมั่นใจดังรูปภาพ และเพื่อความสะดวกในการตรวจสอบเลขแต่ละหลัก ละเรียงกันไปเรื่อยๆ เมื่อมีการผิดพลาดจะสะดุดตาทันที และลดความคลาดเคลื่อนจากบุคลากรได้ ผลลัพธ์ ตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 เป็นต้นมา พบความผิดพลาดจากการเก็บเวชระเบียน 1 เวชระเบียน ซึ่งผลลัพธ์ ดังกล่าว ท�ำให้ทีมงานเวชระเบียนมีความภูมิใจที่ช่วยกันแก้ปัญหาได้ 61
  • 12. “สะอาดไร้กลิ่น หมดสิ้นการติดเชื้อ” นายประวิทย์ ชมผา งานยานพาหนะและขนส่ง กลุ่มงานการจัดการ โรงพยาบาลหนองพอก บทน�ำ เมื่อมีการขอใช้รถเพื่อภารกิจต่างๆ ในแต่ละวัน จากฝ่ายต่างๆ เช่น ออกหน่วย ประชุมต่างจังหวัด และ ในจังหวัดรวมทั้งส่งผู้ป่วยรักษาต่อ จะต้องมีการเตรียมความพร้อมในเรื่องของรถและความสะอาดให้ถูกต้อง ตามมาตรฐาน และปลอดภัยต่อผู้ใช้บริการ เป้าหมาย เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวก ปลอดภัย ประทับใจ ไร้การติดเชื้อ กระบวนการท�ำงาน ในวั น ปกติ วัน จันทร์ – วัน ศุ กร์ ให้ พ นั ก งานขั บ รถยนต์ ท� ำ ความสะอาดก่ อ นออกปฏิ บั ติ ง าน และ หลังปฏิบัติงาน เพื่อเตรียมออกงานในวันถัดไป โดยก�ำหนดเวลา 06.00 น. – 08.00 น. (เช้า) และ 16.00 น. – 18.00 น. (เย็น) สถานที่ล้างรถยนต์คือพื้นที่ที่ IC ก�ำหนดคือบริเวณด้านข้างอาคาร PCU ซึ่งลาดพื้นปูนซิเมนต์และ ระบายน�้ำลงบ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย เมื่อมีเหตุจ�ำเป็นไม่สามารถท�ำความสะอาดได้ให้ฝากเวรไว้ โดยน�ำรถยนต์ที่ตนเอง รับผิดชอบไปล้างทังภายนอก และภายใน น�ำรถไปจอดผึงแดดพอประมาณ แล้วน�ำรถมาดูดฝุน หลังจากนันให้ลงแว๊ก ้ ่ ่ ้ ขั้นตอนสุดท้ายให้พ่นสเปรย์ ดับกลิ่น ในกรณีรถส่งผู้ป่วยถ้าวันไหนรับ-ส่งผู้ป่วยติดเชื้อต้องใส่รองเท้าบู๊ท พร้อมกับ สวมถุงมือ และแมสปิดปากขณะท�ำความสะอาดภายใน โดยใช้ผ้าท�ำความสะอาด แช่กับน�้ำยาล้างท�ำความสะอาดที่ เตรียมไว้ แล้วบิดผ้าให้หมาดพอประมาณ เช็ดภายในรถและพื้นรถ (ห้ามฉีดน�้ำล้างเด็ดขาด) เพราะจะท�ำให้พื้นรถ เสียหาย และเชือโรคกระจาย จากนันก็ปฏิบตเหมือนกับทีได้กล่าวมาแล้วทุกขันตอน แล้วจึงน�ำรถเข้ามาจอดทีโรงรถ ้ ้ ัิ ่ ้ ่ พร้อมออกปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายทันที ผลลัพธ์ จากทีพนักงานขับรถได้ท�ำความสะอาด ทังภายนอกและภายในตามวัน เวลา ทีกำหนดถูกต้องตามมาตรฐาน ่ ้ ่� ท�ำให้สามารถออกปฏิบัติงานด้วยความมั่นใจ และมีประสิทธิภาพ ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในการใช้บริการ 62
  • 13. CQI ถุงเก่าเราไม่ทิ้ง นายบุญแว่น ปุนนะรา งานเภสัชกรรม ที่มา เนื่องจากมีผู้ป่วยโรคเรื้อรังมากขึ้น ท�ำให้ปริมาณการใช้ถุงยาและซองยามีมากขึ้นโดยถุงบรรจุยาที่ไม่ใช้แล้ว ก็ทงไปท�ำให้เกิดปัญหาปริมาณขยะเพิมขึน ซึงความจริงแล้วสามารถน�ำมาใช้บรรจุใหม่ได้ถง 2 – 3 ครังเป็นอย่างน้อย ิ้ ่ ้ ่ ึ ้ อีกทั้งช่วยท�ำให้ประหยัดเงินงบประมาณอีกด้วย วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยลดปริมาณขยะ และประหยัดเงินงบประมาณภาครัฐและทรัพยากร ขั้นตอน / วิธีดาเนินงาน เมื่อผู้รับบริการน�ำถุงมาคืน ในกรณีถุงมีสภาพดีให้แยกไว้ เพื่อน�ำกลับมาใช้อีกโดยการท�ำความสะอาด และตรวจสอบสภาพก่อนใช้ ผลลัพท์ - ช่วยลดปริมาณขยะ และประหยัดเงินงบประมาณภาครัฐและทรัพยากร - ท�ำให้เกิดความตระหนักในการดูแลรักษาทรัพยากร - ฝึกแนวคิดเรื่องความประหยัด 63
  • 14. ส�ำรองไฟฟ้านั้น...ส�ำคัญไฉน นายคุณากร โพธิ์สุข บทน�ำ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าส�ำรองขนาด 100 KVA สามารถรองรับโหลดได้ไม่เกิน 100,000 วัตต์ ความจุน�้ำมัน เชื้อเพลิง 350 ลิตร ใช้งานได้ประมาณ 18 ชั่วโมง หล่อเย็นระบายความร้อนด้วยน�้ำ เป้าหมาย เพื่อให้โรงพยาบาลมีไฟฟ้าใช้ตลอด 24 ชม. การดูแลบ�ำรุงรักษาเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าส�ำรอง 1. ท�ำความสะอาดห้อง ทุกวันราชการ เช่น กวาดพื้นห้อง ฝุ่นละอองต่างๆ เพื่อให้เครื่องถ่ายเทอากาศได้ สะดวก 2. การระบายอากาศ ห้องต้องโล่งปราศจากสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆที่จะท�ำให้ห้องทึบและอับอากาศ 3. ป้องกันสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก สัตว์สี่เท้า สองเท้า และกิ่งไม้ ต้นไม้ที่เป็นพาหะซึ่งอาจเป็นอันตราย กับสัตว์เหล่านั้นรวมถึงข้อบกพร่องของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าได้ 4. การป้องกันอัคคีภัย ซึ่งอันตรายหากเกิดขึ้นในห้องรวมถึงเครื่องยนต์ซึ่งใช้น�้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงและ ยังมีถังน�้ำมันส�ำรอง ขนาด ความจุ 350 ลิตร เพราะฉะนั้นสิ่งของพวกไม้ กระดาษ ถุงพลาสติกต่างๆเหล่านี้จะต้อง ไม่มีในห้อง 5. ตรวจสอบเครื่องต้นก�ำลัง 5.1 น�้ำมันเครื่อง ดึงที่ก้านวัดระดับน�้ำมันเครื่องจะมีขีดบอกระดับน�้ำมันเครื่องที่ทางบริษัทผู้ผลิต ก�ำหนดเอาไว้ว่าระดับน�้ำมันเครื่องต้องไม่ต�่ำหรือสูงกว่าขีดที่ก�ำหนดมิเช่นนั้นอาจเกิดความเสียหายกับ เครื่องยนต์ได้ 5.2 น�ำหล่อเย็น ตรวจเช็คอย่างละเอียดว่าน�้ำพร่องต�่ำกว่ามาตาฐานหรือน�้ำสกปรกเร็วเกินไปหรือ ้ ไม่ถ้าสกปรกต้องเปลี่ยนทิ้งโดยด่วนเพื่อให้การระบายความร้อนเป็นไปอย่างเหมาะสมกับระดับความร้อน ของเครื่อง 5.3 น�ำมันเชือเพลิง ถังน�ำมันส�ำรองสามารถส�ำรองน�ำมันเชือเพลิงได้ 350 ลิตร ใช้งานได้ 18 ชม.แต่ ้ ้ ้ ้ ้ แนวทางปฏิบัติเราไม่สามารถบรรจุน�้ำมัน 350 ลิตรไว้ได้ตลอดเวลา เพราะเครื่องยนต์พร้อมท�ำงานได้ตลอด เวลาถ้าไฟฟ้าของการไฟฟ้าดับเพราะฉะนั้นปริมาณน�ำมันในถังส�ำรองเฉลี่ยประมาณ 2/3 หรือ เกินครึ่งถัง ้ ส�ำรอง 5.4 น�้ำกลั่นแบตเตอรี่ สิ่งที่ขาดไม่ได้หรือจะบอกว่าส�ำคัญที่สุดก็คือแบตเตอรี่เพราะถ้าแบตเตอรี่ ไม่มประจุไฟฟ้าก็ไม่สามารถสตาร์ทเครืองยนต์ให้ตดได้เพราะฉะนันจ�ำเป็นต้องตรวจเช็คทุกวันและระดับน�้ำ ี ่ ิ ้ กลั่นต้องอยู่ในระดับที่ก�ำหนดซึ่งอายุการใช้งานของแผ่นธาตุประมาณ 9 เดือน ถึง 1 ปี ก็เสื่อมสภาพแล้ว 6. การทดสอบเครื่อง มีอยู่ 2 ระบบ คือ 6.1 ระบบสตาร์ทเครื่องแบบอัตโนมัติ 6.1.1 ระบบสตาร์ทเครื่องแบบอัตโนมัติ ปกติ จะท�ำการตั้งระบบไว้ที่ระบบอัตโนมัติเพื่อ ให้เครื่องสตาร์ทเองจ่ายเองและดับเอง โดยกดที่ปุ่ม อัตโนมัติ 64
  • 15. CQI 6.2 ระบบสตาร์ทเครื่องด้วยคน 6.2.2 ระบบสตาร์ทด้วยคน โดยท�ำการกดทีปม OFF-RESET เพือออกจากระบบอัตโนมัติ ่ ุ่ ่ แล้วกดที่ปุ่ม ENGINE-START เมื่อเครื่องติดทิ้งระยะห่าง 10 วินาที จึงกดที่ปุ่ม TOGEN เพื่อ จ่ายไฟส�ำรอง 7. เมื่อเครื่องยนต์ติดจะเกิดเสียงดังมากๆจนไม่สามารถอยู่ในห้องเครื่องได้แต่เรามีวิธีปัองกันคือใส่ที่ครอบ หูเพื่อป้องกันเสียง โอกาสพัฒนา 1. เพิ่มขนาดสายเมนจากเบอร์ 95 เป็นเบอร์ 120 ตร.มม. 2. เพิ่มขนาดเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเป็นขนาด 550 KVA 3. ฝึกบุคลากร (ช่างคนใหม่, รปภ.) ให้มีความรู้สามารถแก้ปัญหาและวิธีบ�ำรุงรักษาเครื่องอย่างถูกวิธี 65
  • 16. ลดจ�ำนวนครั้งของการจัดยาผิดพลาด ภญ.ลัดดาวัลย์ ปราบนอก นส.บุชรา ไชยแสง เจ้าหน้าที่กลุ่มงานเภสัชกรรม ที่มา ความคลาดเคลือนจากการจัดยามีแนวโน้มเพิมมากขึนในปี 2555 โดยเฉพาะในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 มีรอย ่ ่ ้ ้ ละความคลาดเคลือน > 17 % ซึงสาเหตุอาจเกิดจากมีการรายงานเพิมมากขึน และมีเภสัชกรรับผิดชอบในการตรวจ ่ ่ ่ ้ สอบการจัดยา ท�ำให้ดักจับความคลาดเคลื่อนได้เพิ่มขึ้น จากอุบัติการณ์ที่เกิด พบว่า ความคลาดเคลื่อนจากการจัดผิดจ�ำนวนมากที่สุด จึงเป็นที่มาของการพัฒนา คุณภาพเพื่อลดความผิดพลาดในการจัดยาขึ้น หลักการ / เหตุผล / แนวคิด ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) คือ เหตุการณ์ใด ๆ ที่สามารถป้องกันได้ ที่อาจเป็นสาเหตุ หรือนาไปสู่การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม หรือเป็นอันตรายแก่ผู้ป่วย ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจัดยา ได้แก่ จัดยา ผิดชนิดยา รูปแบบยา ความแรงของยา ขนาดยา วิธี ใช้ยา จ�ำนวนยา ฉลากยาผิด ชื่อผู้ป่วยผิด ชื่อยาผิด ฯลฯ วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการจัดยา เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาที่ถูกต้อง เหมาะสม ตรงตามที่แพทย์สั่ง เป้าหมาย ความคลาดเคลื่อนจากการจัดยาไม่เกิน 10% ขั้นตอน / วิธีดาเนินงาน 1. ได้พัฒนาระบบการจัดยา ในส่วน LASA drugs ได้พัฒนาระบบการเตือน โดยการลงค�ำว่า “ LASA” ก�ำกับหลังชี่อยาบนสติกเกอร์ยาที่เป็น LASA drugs ทุกตัว และมีการติดสติกเกอร์ “ LASA” ที่ชั้นจัดยา 2. ให้เซ็นชือผู้จดยาในใบสังยาทุกใบ เพื่อให้เกิดความตระหนักในการจัดยามากขึน แต่ไม่มการจับผิด และ ่ ั ่ ้ ี มีรางวัลให้บุคลากรที่จัดผิดน้อยที่สุด โดยคิดตามจ�ำนวนใบสั่งยาที่จัด 3. การจัดยาผู้ป่วยใน จากเดิมจัดยาใส่ไว้ในตะกร้าใหญ่ใบเดียวรวมกัน ก็เปลี่ยนเป็นจัดยาแยกตะกร้าทั้ง ยากินและยาฉีดในผู้ป่วยแต่ละราย 4. มีการลงบันทึกเหตุการณ์ความคลาดเคลื่อนทุกครั้ง 66
  • 17. CQI ผลลัพท์ - จากการเก็บบันทึกข้อมูลพบว่าความคลาดเคลื่อนจากการจัดยามีแนวโน้มลดลงโดยเฉลี่ยประมาณ 11% - เจ้าหน้าที่เกิดความตระหนักและมีความระมัดระวังในการจัดยามากขึ้น 67
  • 18. หลากสี แบบมีความหมาย งานเครื่องมือ โรงพยาบาลหนองพอก บทนำ� : หน่วยงานเครื่องมือ มีหน้าที่หลักในการจัดชื้อ จัดหาเครื่องมือแพทย์ที่มีคุณภาพ รองรับการให้บริการ ทางการแพทย์ที่มีคุณภาพของโรงพยาบาลหนองพอก อีกหน้าที่ ที่มีความสำ�คัญมากคือการบำ�รุงรักษาเครื่องมือ แพทย์ให้ได้มาตรฐาน และมีความพร้อมใช้ตลอดเวลา เพื่อให้บริการที่มีคุณภาพ เป้าหมาย : เพื่อให้บริการผู้ป่วยที่มีคุณภาพสูงสุด แยกประเภทเครื่องตามลำ�ดับความสำ�คัญ การบำ�รุงรักษา เครื่องมือตามความสำ�คัญของเครื่องมือแพทย์แต่ละประเภท ขั้นตอนการดำ�เนินงาน 1. แยกประเภทเครื่องมือแพทย์ตามลำ�ดับความสำ�คัญ ดังนี้ l ประเภท A เครื่องมือช่วยชีวิต เช่น เครื่อง Defib/suction l ประเภท B เครื่องมือช่วยในการรักษา เช่น Infusion pump/syring pump l ประเภท C เครื่องมือช่วยในการวินิจฉัย เช่น เครื่อง U/S l ประเภท D เครื่องมือสนับสนุน อื่นๆ 2. กำ�หนดสี เครื่องมือแต่ละชนิด จัดทำ�สติกเกอร์สีต่างๆ ติดที่เครื่องมือแพทย์ พร้อมจัดทำ�แนวทาง การบำ�รุงรักษา ตามความสำ�คัญของเครื่องมือแพทย์ ผลการดำ�เนินงาน 1. พบอุบัติการณ์ความเสี่ยงเกี่ยวกับเครื่องมือความไม่พร้อมใช้ลดลง l ปี 2554 พบ ครั้ง l ปี 2555 พบ ครั้ง (ต.ค.54 - ก.ค.55) 2. การส่งซ่อมเครื่องมือแพทย์ประเภท A ลดลง l ปี 2554 พบ ครั้ง l ปี 2555 พบ ครั้ง (ต.ค.54 - ก.ค.55) โอกาสในการพัฒนา เพิ่มการการบำ�รุงรักษา เครื่องมือทุกชนิดทีมีใช้ในหน่วยงาน การบำ�รุงรักษา การพัฒนา แนวทางในการบริหารจัดการเครื่องมือ 68
  • 19. CQI “น้อยๆ แต่บ่อยครั้ง” งานประกันสุขภาพ โรงพยาบาลหนองพอก ปัญหา จากหนังสือการจัดสรรเงินส�ำหรับผูปวยสิทธิประกันสังคมในเขต จากโรงพยาบาลร้อยเอ็ด ททางโรงพยาบาล ้ ่ ์ ี่ หนองพอกได้ส่งเบิกไปนั้น ได้รับการจัดสรรเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกสิทธิ์ประกันสังคมในเขต เฉลี่ย รายละ 262 บาทต่อครั้ง แต่ความเป็นจริงแล้วคนไข้ที่มารับการรักษามีค่าใช้จ่ายมากกว่า 262 บาทต่อรายต่อครั้ง จึงก่อให้เกิดปัญหารายจ่ายมากกว่ารายรับ งานประกันจึงได้น�ำปัญหาดังกล่าวมาพิจารณาเพื่อการแก้ไข เป้าหมาย 1. ลดค่าใช้จ่าย 2. เพิ่มรายได้ กระบวนการ 1. รายงานผู ้ อ� ำ นวยการโรงพยาบาลหนองพอก และ คณะกรรมการบริหารเพื่อรับทราบข้อมูล 2. หาวิธีด�ำเนินการแก้ไขโดยจัดท�ำ Note เป็น Pop up ใน โปรแกรม HOSxP ให้แพทย์หรือพยาบาลทราบเกี่ยวกับการจัดยา ส�ำหรับผู้ป่วยสิทธิ์ประกันสังคมในเขต ขอความร่วมมือจ่ายยาใน ปริมาณที่น้อยตามความจ�ำเป็น เน้นให้ผู้ป่วยมาบ่อยครั้ง 3. เก็บรวบรวมข้อมูลว่าหลังจากบันทึกโน้ตในระบบ HOSxP แล้ว เป็นระยะ ผลที่คาดว่าจะได้รับ สามารถเพิ่มรายได้ให้แก่โรงพยาบาลในส่วนของผู้ป่วยนอก ประเภทสิทธิ์ประกันสังคมในเขต โดยจะประเมินผลประมาณปลาย เดือนกันยายน 2555 69
  • 20. เรื่องง่าย ๆ สร้างรายได้หลายล้านบาท นายส�ำราญ ธรรมสาร กลุ่มงานประกันสุขภาพฯ โรงพยาบาลหนองพอก ปัญหา ประชาชนที่ไม่มีสิทธิการรักษาพยาบาลใด ๆ หรือที่เรียกว่า “สิทธิว่าง” หากเจ็บป่วยอาจต้องจ่ายเงิน ค่ารักษาพยาบาลเอง ในอ�ำเภอหนองพอกเมือเดือนตุลาคม 2554 มีจำนวนถึง 400 ราย ซึงท�ำให้ความครอบคลุมสิทธิ ่ � ่ การรักษาพยาบาลของประชาชนในอ�ำเภอหนองพอกมีเพียงร้อยละ 99.42 (เป้าหมายของจังหวัดร้อยเอ็ดคือ ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 99.50) และเป็นล�ำดับที่ 22 ของจังหวัดร้อยเอ็ดจากทั้งหมด 24 ล�ำดับ เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าวจึงหาวิธีการแก้ไขหลายวิธีการเป็นล�ำดับเรื่อยมา เป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสิทธิการรักษาพยาบาลหากเจ็บป่วยจะได้ไม่ต้องจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลเอง เพื่อให้ความครอบคลุมสิทธิการรักษาพยาบาลมีอัตราที่สูงขึ้น เพื่อให้ผลงานอ�ำเภอหนองพอกอยู่ล�ำดับที่ดีขึ้นเมื่อ เทียบกับอ�ำเภออื่น ขั้นตอนด�ำเนินการ เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าวและเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้จึงได้หาวิธีการแก้ไข � หลายวิธีการเป็นล�ำดับเรื่อยมา ดังนี้ 1. โทรศัพท์ถึง อสม. (อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน) ทุกหมู่บ้าน แจ้งรายชื่อประชาชนสิทธิการ รักษาพยาบาลว่าง เพือให้ อสม. ติดตามมาขึนสิทธิ และโทรศัพท์ตดตามเป็นระยะหากพบว่าประชาชนตามรายชือยัง ่ ้ ิ ่ ไม่มาขึ้นสิทธิและเพื่อทราบที่อยู่จริงของประชาชน 2. โทรศัพท์ถึงประชาชนสิทธิการรักษาพยาบาลว่าง หรือญาติใกล้ชิด (หากทราบหมายเลขโทรศัพท์) เพื่อ อธิบายเหตุผลและติดตามให้มาขึ้นสิทธิ และโทรศัพท์ติดตามเป็นระยะหากยังไม่ขึ้นสิทธิการรักษาพยาบาล 3. โทรศัพท์ถงบุคลากร รพ.สต. (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล) เพือให้ตดตามประชาชนสิทธิการรักษา ึ ่ ิ พยาบาลว่างในเขตรับผิดชอบให้มาขึนสิทธิ พร้อมทังส่งรายชือให้ทาง E-mail ให้กบบุคลากร รพ.สต. ทุกคน บุคลากร ้ ้ ่ ั สสอ. ทุกคน บุคลากร PCU ทุกคน เพื่อช่วยด�ำเนินงานติดตามประชาชนมาขึ้นสิทธิ 4. น�ำรายชื่อประชาชนสิทธิการรักษาพยาบาลว่างขึ้น Internet และ Intranet ของ รพ.หนองพอก เพื่อให้ ประชาชน หรือญาติ หรือคนรู้จัก ช่วยบอกต่อ ๆ กันไปถึงผู้มีสิทธิว่างให้มาขึ้นสิทธิ 5. น�ำเสนอข้อมูลประชาชนสิทธิการรักษาพยาบาลว่างในที่ประชุม คณะกรรมการบริหารเครือข่ายบริการ สุ ข ภาพอ� ำ เภอหนองพอก (CUP หนองพอก) คณะกรรมการบริ ห าร รพ.หนองพอก ที่ ป ระชุ ม อสม. และ ทีประชุมอืนๆ เพือให้ทราบความครอบคลุมสิทธิและจะได้ชวยแก้ปญหาและด�ำเนินการติดตามประชาชนสิทธิวางมา ่ ่ ่ ่ ั ่ ขึ้นสิทธิให้ครบ 6. CUP หนองพอกก�ำหนดให้ผลงานความครอบคลุมสิทธิการรักษาพยาบาลเป็นตัวชี้วัดตัวหนึ่งในการ ประเมินความดีความชอบของบุคลากร รพ.สต. และ PCU 7. ใช้มติคณะกรรมการบริหาร CUP หนองพอก ขึ้นสิทธิให้กับประชาชนสิทธิว่างตามแนวทางของจังหวัด ร้อยเอ็ด หนังสือส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ที่ รอ 0027.005.1/ว561 ลงวันที่ 18 เมษายน 2555 70
  • 21. CQI ตัวชี้วัดหรือผลลัพธ์ หลังจากด�ำเนินงานในหลายวิธีการดังกล่าวข้างต้นท�ำให้ได้ผลการด�ำเนินงานตามตารางดังนี้ ตาราง ผลการด�ำเนินงานขึ้นทะเบียนสิทธิการรักษาพยาบาล อ�ำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด เดือน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 54 54 54 55 55 55 55 55 55 ได้ลำ�ดับที่ (ของจังหวัด) 22 20 22 15 8 6 5 4 3 ความครอบคลุมสิทธิ (%) 99.42 99.44 99.54 99.67 99.80 99.82 99.89 99.91 99.98 จ�ำนวนประชาชนสิทธิบัตรทองเพิ่มมากขึ้นจาก 51,322 คนในเดือนตุลาคม 2554 เป็น 51,994 คนใน เดือนมิถุนายน 2555 หรือเพิ่มมากขึ้น 672 คนซึ่งจะท�ำให้ได้รับงบประมาณจากรัฐบาลเพิ่มมากขึ้นรายละ 2,895.60 บาท (ปีงบประมาณ 2555) X 672 คน เป็นจ�ำนวนเงิน 1,945,843.20 บาทต่อปี เป็นประจ�ำทุกปีไป จนกว่าประชาชนรายนั้น ๆ จะเสียชีวิตหรือย้ายไปขึ้นสิทธิที่ CUP อื่น สิ่งที่จะด�ำเนินการต่อไปในอนาคต ติ ด ตามประชาชนที่ มี ที่ อ ยู ่ ต ามส� ำ เนาทะเบี ย นบ้ า นไม่ ใช่ อ� ำ เภอหนองพอกแต่ ตั ว คนมาอาศั ย อยู ่ ใ น อ�ำเภอหนองพอกให้มาขึนสิทธิการรักษาพยาบาลทีอำเภอหนองพอก โดยอาจติดตามทางโทรศัพท์ หรือ ทางจดหมาย ้ ่� หรือ ด้วยตัวบุคคล 71