SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
Download to read offline
1




                  รายงานวจย
                         ิั
      รูปแบบการสร้างนักธุรกจน้อยมีคุณธรรม
                              ิ
 สร้ างทรัพย์ สินทางปัญญาสู่ เศรษฐกิจสร้ างสรรค์
ในโรงเรียนนําร่ อง โรงเรียน ชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี


                    ในโครงการวจย
                              ิั
       รูปแบบการสร้างนักธุรกจน้อยมีคุณธรรม
                              ิ
    สร้างทรัพย์สินทางปัญญาสู่ เศรษฐกจสร้างสรรค์
                                    ิ
                    ภายใต้โครงการ
   นักธุรกจน้อย มีคุณธรรม นําสู่ เศรษฐกจสร้างสรรค์
          ิ                            ิ



        สํานักพฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
               ั
     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนฐาน
                                     ื้
    หน่วยงานที่ปรึกษา : มหาวิทยาลยเกษตรศาสตร์
                                 ั
2


                             รายงานวจัย
                                    ิ
            รูปแบบการสร้างนักธุรกจน้อยมีคุณธรรม
                                  ิ
สร้างทรัพย์สินทางปัญญาสู่ เศรษฐกจสร้างสรรค์ ในโรงเรียนนําร่อง
                                ิ
                   โรงเรียน ชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี

            ชื่อ-สกุล ผู้วิจัย 1. นางรัชดาพรรณ์ วัชพัฒน์
                               2. นายสมชาย ครึกครื้น

                        โรงเรียน ชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี
                          อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี
               สํ านักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 10
                               ้ ่



                                   ที่ปรึกษา
       นางสาววันเพ็ญ สุ จิปุตโต สํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
            นายปราโมทย์ ธรรมรัตน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

                              ในโครงการวิจัย
                รูปแบบการสร้างนักธุรกจน้อยมคุณธรรม
                                        ิ     ี
            สร้ างทรัพย์ สินทางปัญญาสู่ เศรษฐกิจสร้ างสรรค์
                               ภายใต้โครงการ

           นักธุรกจน้อย มคุณธรรม นําส่ ู เศรษฐกจสร้างสรรค์
                   ิ      ี                    ิ
                 สํานักพฒนานวตกรรมการจดการศึกษา
                        ั    ั              ั
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ ันพนฐาน
                                              ื้
            หน่ วยงานทีปรึกษา : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                       ่
3

                                                    บทคัดย่ อ


            โครงการวิจยรู ปแบบการสร้างนัก ธุ รกิ จน้อ ยมี คุณธรรม สร้างทรัพย์สิ นทางปั ญญาสู่ เศรษฐกิ จ
                          ั
สร้างสรรค์ มีวตถุประสงค์ดงนี้ 1. เพือพัฒนาครู และนักเรี ยน ให้มีความรู ้ ความเข้าใจและสามารถจัดการ
                    ั            ั           ่
เรี ยนรู ้ให้นักเรี ยนมีคุณลักษณะเป็ นนักธุรกิจน้อยที่มีคุณธรรม มีแรงบันดาลใจสู่ ความสําเร็ จ มีทกษะและ
                                                                                                     ั
ประสบการณ์ ในการพัฒนาตนเองสู่ ความสําเร็ จในชี วิต และสร้างสรรค์สังคม 2. เพื่ อ พัฒ นาครู และ
นั ก เรี ย น ให้ มี ค วามรู ้ ความเข้า ใจและสามารถจัด การเรี ย นรู ้ ใ ห้ นั ก เรี ย นมี ประสบการณ์ ด้านอาชีพ
รู ้จกการค้าขาย รู ้จกการบริ หารงาน การบริ หารจัดการธุ รกิจ 3. เพื่อ พัฒนาครู และนักเรี ยนให้มีความรู ้
     ั                 ั
ความเข้าใจและสามารถจัดการเรี ยนรู ้ให้นักเรี ยนมี ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และการคิด
ประดิษฐ์ สามารถต่อยอดยกระดับผลงาน ชิ้นงานด้านอาชีพ ของนักเรี ยนให้หลากหลายและคุณภาพสู งขึ้น
และหรื อสามารถสร้างสรรค์ผลงานที่เป็ นทรัพย์สินทางปั ญญาได้ 4. เพื่อ พัฒ นาครู และนัก เรี ย นให้มี
ความรู ้                    ความเข้า ใจเรื่ อ งทรัพ ย์สิ น ทางปั ญ ญา มี ค วามตระหนัก ในทรัพย์สินทางปั ญญา มี
ประสบการบริ หารจัดการทรัพย์สินทางปั ญญาเบื้องต้น สามารถนําทรัพย์สินทางปั ญญาของโรงเรี ยน ไปจด
แจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์และหรื อยืนจดสิทธิบตรหรื ออนุสิทธิบตรผลงานการประดิษฐ์ของนักเรี ยนได้
                                   ่           ั                  ั
        ประชากรที่ทาการศึกษา เป็ นผูบริ หาร คณะครู และผูแทนนักเรี ยน จํานวน 70 คน ของโรงเรี ยน
                      ํ                ้                      ้
ชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี จังหวัดเพชรบุรี สังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10
       วิธีการดําเนินการวิจยรู ปแบบการพัฒนาครู และนักเรี ยนด้วยกิจกรรมในหลักสู ตร 3 หลักสู ตร คือ
                           ั
1. การพัฒนาชีวิตสู่ ความสําเร็ จ 2. การสร้างประสบการณ์ ทางธุรกิจ 3. การคิดสร้างสรรค์ทรัพย์สินทาง
ปั ญญา แบบบันทึกการปฏิบติกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบติการและแบบบันทึกการเรี ยนรู ้ หลังจากการ
                             ั                         ั
ประชุมเชิงปฏิบติการ
              ั


         ผลการวิจย มีดงนี้
                 ั ั
         ครู และนักเรี ยน ได้เรี ยนรู ้และ ได้ประโยชน์ ดังนี้
           นัก เรี ยน มี ความรู ้ค วามเข้า ใจเกี่ ย วกับ คุ ณลัก ษณะที่ ดี ในการเป็ นนักธุ ร กิ จ วิธี พฒ นาตนเองสู่
                                                                                                        ั
ความสําเร็จ รู ้จกการวางเป้ าหมายในชีวตเพือที่จะประสบความสําเร็จและคิดค้นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ทําให้รู้ว่า
                    ั                        ิ ่
ความฝันของแต่ละคนมีค่าเท่ากัน แล้วแต่ว่าเราจะทําฝันให้เป็ นจริ งหรื อไม่ ทําให้เรามีความคิดเห็นที่ต่าง
จากเดิมขึ้นมาเยอะ ได้แรงบันดาลใจ มีประสบการณ์ดานอาชีพ รู ้จกการค้าขาย รู ้ถึงการบริ หารงาน การ
                                                                 ้           ั
บริ หารจัดการธุรกิจ การคิดประดิษฐ์ และทรัพย์สินทางปั ญญา และการที่ได้เห็นสิ่ งที่คนอื่นฝันว่าอะไร ทํา
       ่
ให้รู้วาที่แท้จริ งแล้ว เราไม่ได้ฝันไกลเกินไปแต่อย่างใด
4

         ครู ได้ฝึกการคิดเชิงบวก เป็ นนายตัวเอง รู ้จกคิดให้ไกลและไปให้ถึงฝันให้ได้ สามารถนําไป
                                                     ั
ประยุกต์ใช้ในอนาคตและสามารถนําไปบอกต่อกับครอบครัวให้ไปพัฒนาต่อยอดได้ และได้รับประโยชน์
มาก เพราะได้รู้จกคําว่า นักธุรกิจน้อย มีคุณธรรม นําสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ซึ่งแปลว่า สร้างนักเรี ยนให้เป็ น
                 ั
คนดี ที่ประสบความสําเร็จอย่างสูงและสร้างชาติ
          ครู นักเรี ยน มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางสร้างสรรค์ นักเรี ยนมีการปรับปรุ งตนเองดีข้ ึ น ครู
มีความรู ้ความสามารถที่จะสอนนักเรี ยนให้เป็ นคนดี มีคุณธรรม รู ้จกพัฒนาตนเอง รู ้จกค้าขาย รู ้จกทําธุรกิจ
                                                                 ั                ั            ั
เป็ นนักธุรกิจน้อยที่ดี ประสบความสําเร็จในการเรี ยน การงาน และโอกาสทางอาชีพในอนาคต มีศกยภาพ      ั
เติบโตเป็ นนักธุรกิจที่ประสบความสําเร็จในชีวต มีการปลูกฝังคุณธรรมและจริ ยธรรมในการทําธุรกิจ เพื่อ
                                              ิ
ประโยชน์ในการประกอบอาชีพที่ดีต่อไปในอนาคต
       ครู นักเรี ยน ได้มีประสบการณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาความสามารถในการสร้างสรรค์
และด้า นการประดิ ษ ฐ์ และได้มี ป ระสบการณ์ แ ละการพัฒ นาขี ด ความสามารถด้า นการงานอาชี พ
มีประสบการณ์การบริ หารจัดการการค้าขาย การจัดจําหน่าย
        ครู นักเรี ยน ได้มีประสบการณ์ ด้านทรัพย์สินทางปั ญญา มี ความรู ้ความเข้าใจในทรัพย์สินทาง
ปั ญญา ตระหนักในทรัพย์สินทางปั ญญา สามารถสร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปั ญญา ทั้งงานลิขสิ ทธิ์ และอนุ
สิทธิบตร
      ั
5

                                          กิตติกรรมประกาศ


           โครงการวิจยรู ปแบบการสร้างนักธุ รกิ จน้อ ยมี คุณธรรม สร้างทรัพย์สินทางปั ญญาสู่ เศรษฐกิ จ
                     ั
สร้างสรรค์ ภายใต้ โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นําสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของโรงเรี ยนชะอําคุณหญิง
เนื่องบุรี ประสบผลสําเร็จได้ดวยดี เนื่องจากได้รับความร่ วมมือจากทุกฝ่ ายทั้งระดับหน่วยงานต้นสังกัดและ
                             ้
คณะบุคคล คณะผูวจย ขอขอบพระคุณท่านผูอานวยการสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ท่านรอง
                   ้ิั                      ้ํ
ผูอ ํานวยการสํา นัก พัฒนานวัต กรรมการจัด การศึก ษา สํา นักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้น พื้นฐาน
  ้
ท่านผูอานวยการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10 ศึกษานิ เทศก์ประจําโรงเรี ยน และขอขอบคุ ณ
       ้ ํ
ผูบริ หาร คณะครู แกนนํา และผูแทนนักเรี ยน ของโรงเรี ยนชะอําคุณหญิงเนื่ อ งบุรี ที่ ให้ความร่ วมมือเป็ น
    ้                          ้
อย่างดี
         ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ปราโมทย์ ธรรมรัตน์ อาจารย์มาลี โตสกุล ผูเ้ ชี่ยวชาญสมคิด รื่ น
ภาควุฒิ และคณะ จากสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ได้ให้องค์
ความรู ้ ประสบการณ์ดานการพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ ด้านการพัฒนาความรู ้ ความสามารถเกี่ยวกับ
                       ้             ิ
ธุรกิจ การค้าขาย การตลาด และด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ คิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และทรัพย์สินทาง
ปั ญญา ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็ นประโยชน์ในชีวตประจําวันและชีวตในอนาคตของครู และนักเรี ยนได้อย่างดียง
                                        ิ               ิ                                     ิ่
ขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูง


                                                                                            คณะผูวจย
                                                                                                 ้ิั
                                                                                          มีนาคม 2555
6

                                        สารบัญ


                                                 หน้า
บทคัดย่อ                                          ก
กิตติกรรมประกาศ                                   ค
สารบัญ                                            ง
บทที่ 1 บทนํา                                     1
       ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา          1
       วัตถุประสงค์ของการวิจย
                            ั                     2
       ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจย
                                 ั                2
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง
                       ั                          3
บทที่ 3 วิธีการดําเนินวิจย
                         ั                       12
       ประชากรที่ศึกษา                           12
       วิธีการดําเนินการวิจย
                           ั                     12
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล
                       ้                         14
บทที่ 5 สรุ ป อภิปราย และข้อเสนอแนะ              17
เอกสารอ้างอิง                                    18
ภาคผนวก                                          20
7

                                                 บทที่ 1
                                                 บทนํา


1.1 ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา
               ในการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (2552 – 2561) ประเด็นสําคัญหนึ่ งของระบบการศึกษา
และเรี ยนรู ้ที่ตอ งปฏิรูปอย่างเร่ งด่ วน คือ การพัฒนาคุ ณภาพคนไทยยุคใหม่ ให้มีนิสัยใฝ่ เรี ยนรู ้ ตั้งแต่
                 ้
ปฐมวัยสามารถเรี ยนรู ้ด้วยตนเองและแสวงหาความรู ้อ ย่างต่อ เนื่ อ งตลอดชี วิต มี ความสามารถในการ
สื่ อสาร สามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย มีศีลธรรม
คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม มีจิตสํานึกและภูมิใจในความเป็ นไทย คํานึ งถึงประโยชน์ส่วนรวม มีทกษะ        ั
ความรู ้พ้นฐานที่จาเป็ น มีสมรรถนะ ความรู ้ ความสามารถ สามารถทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ โดย
           ื          ํ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ให้ความสําคัญกับเรื่ องดังกล่าวและถือเป็ นภารกิจของ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐานโดยจัดให้มีโครงการรองรับมากมายดังเช่นโครงการปลูกฝัง
                                          ้
คุณธรรม โครงการหารายได้ระหว่างเรี ยน เพื่อฝึ กให้นักเรี ยนอดทน พากเพียร พึ่งตนเอง อีกทั้งยังเปิ ดสายอาชี พ
ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพือส่งเสริ มให้นกเรี ยนที่ไม่มีโอกาสศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาสามารถ
                                     ่             ั
นําทักษะความรู ้พ้นฐานด้านอาชีพไปประกอบอาชีพหาเลี้ยงตนเองได้ และในงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน
                    ื
ระดับชาติของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐานทุกปี ได้เปิ ดเวทีแสดงศักยภาพทางวิชาชีพของ
                                                         ้
นักเรี ยนอย่างต่อเนื่องโดยมอบหมายให้สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาดําเนิ นการ ในการดังกล่าว
                                            ํ
สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาพิจารณาเห็นว่ากิจกรรมสําคัญที่ควรดําเนิ นการเพื่อสนองนโยบาย
ข้างต้นคือการส่ งเสริ มให้นักเรี ยนผลิตผลงานอย่างสร้างสรรค์และมีคุณภาพ โดยปลู กฝั งคุ ณธรรมและ
จริ ยธรรมให้นักเรี ยนควบคู่กนเพื่อ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพหรื อการทําธุ รกิจที่ดีต่อไปในอนาคต
                                ั
เพื่อส่ งเสริ มความสําเร็ จในชี วิตของนักเรี ยน ทั้งยังเกิดประโยชน์แก่ผูบริ โภค สิ่ งแวดล้อมและส่ งผลให้
                                                                        ้
สังคมพัฒนาความอยูดีกินดีและมีความสงบสุ ข เพราะหากการประกอบอาชีพใดขาดคุณธรรมจริ ยธรรม
                        ่
แล้ว แม้ว่าธุรกิ จจะประสบความสําเร็ จแต่คงไม่สามารถประสบความสําเร็ จในระยะยาวได้ โดยใช้ชื่อ
โครงการว่า “นักธุรกิจน้อย มีคุณธรรม นําสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์” โดยใช้กระบวนการพัฒนาครู เพื่อลงสู่
นักเรี ยนในการจัดการเรี ยนการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โครงงานอาชีพและ
ชุมนุมส่งเสริ มอาชีพต่าง ๆ
        การพัฒนานักธุ รกิจน้อ ยให้มีคุณธรรม นําสู่ เศรษฐกิ จสร้างสรรค์ ต้อ งให้นักเรี ยนได้รู้จกพัฒนา
                                                                                               ั
ตนเองสู่ ความสําเร็ จในชีวิต มี แรงบันดาลใจ มีการโปรแกรมสมองปลู กฝั งความดี มีเป้ าหมายชี วิต และ
เป้ าหมายด้านการงานอาชี พและการทํางาน รู ้จกบริ หารตนเอง รู ้จกบริ หารงาน บริ หารคน บริ หารธุรกิ จ
                                              ั                 ั
มีประสบการณ์ทางธุรกิจ โดยเริ่ มจากผลิตและค้าขาย ผลงาน ผลิตภัณฑ์จากมันสมองของนักเรี ยน
8

            ด้วยเหตุน้ ีทางสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐานได้คดเลือกโรงเรี ยนชะอําคุณหญิงเนื่ องบุรี เป็ นโรงเรี ยนนําร่ องในการพัฒนานักเรี ยนให้มีขีด
                ั
ความสามารถใน การสร้างสรรค์งานอันมีลิขสิทธิ์ และความสามารถในการคิดประดิษฐ์ สร้างทรัพย์สิน
ทางปั ญญา สู่ การใช้ประโยชน์เชิงพาณิ ชย์ และเป็ นโรงเรี ยนต้นแบบกระบวนการจัดการศึกษาที่ประสบ
ความสําเร็จเพือขยายผลสู่โรงเรี ยนต่างๆ ต่อไป
              ่

1.1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
    1) เพื่อ พัฒ นาครู และนัก เรี ย น ให้มี ค วามรู ้ ความเข้า ใจและสามารถจัด การเรี ย นรู ้ ใ ห้นัก เรี ย นมี
    คุณลักษณะเป็ นนักธุรกิจน้อยที่มีคุณธรรม มีแรงบันดาลใจสู่ความสําเร็ จ มีทกษะและประสบการณ์ใน
                                                                                ั
    การพัฒนาตนเองสู่ความสําเร็จในชีวต และสร้างสรรค์สงคม
                                          ิ                    ั
    2) เพื่ อ พัฒ นาครู และนั ก เรี ย น ให้ มี ค วามรู ้ ความเข้า ใจและสามารถจัด การเรี ย นรู ้ ใ ห้ นั ก เรี ย น
    มี ประสบการณ์ ด้านอาชีพ รู ้จกการค้าขาย รู ้จกการบริ หารงาน การบริ หารจัดการธุรกิจ
                                    ั               ั
    3) เพื่ อ พัฒ นาครู และนั ก เรี ย นให้มี ค วามรู ้ ความเข้า ใจและสามารถจัด การเรี ย นรู ้ ใ ห้ นัก เรี ย นมี
    ความสามารถในการสร้ างสรรค์ผ ลิ ต ภัณ ฑ์และการคิด ประดิ ษ ฐ์ สามารถต่ อ ยอดยกระดับผลงาน
    ชิ้นงานด้านอาชีพ ของนักเรี ยนให้หลากหลายและคุณภาพสูงขึ้น และหรื อสามารถสร้างสรรค์ผลงานที่
    เป็ นทรัพย์สินทางปั ญญาได้
    4) เพื่อ พัฒนาครู และนักเรี ยนให้มีความรู ้ ความเข้าใจเรื่ อ งทรัพย์สิ น ทางปั ญ ญา มี ค วามตระหนัก
    ในทรัพย์สินทางปั ญญา มีประสบการบริ หารจัดการทรัพย์สินทางปั ญญาเบื้องต้น สามารถนําทรัพย์สิน
    ทางปั ญญาของโรงเรี ยน ไปจดแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์และหรื อยืนจดสิ ทธิบตรหรื ออนุ สิทธิบตรผลงานการ
                                                                   ่       ั                  ั
    ประดิษฐ์ของนักเรี ยนได้

1.2 ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการวิจัย
    1) ครู นักเรี ยน มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางสร้างสรรค์ นักเรี ยนมีการปรับปรุ งตนเองดีข้ ึ น ครู มี
    ความรู ้ความสามารถที่จะสอนนักเรี ยนให้เป็ นคนดี มีคุณธรรม รู ้จกพัฒนาตนเอง รู ้จกค้าขาย รู ้จกทํา
                                                                     ั               ั            ั
    ธุรกิจ เป็ นนักธุรกิจน้อยที่ดี ประสบความสําเร็จในการเรี ยน การงาน และโอกาสทางอาชีพในอนาคต มี
    ศักยภาพเติบโตเป็ นนักธุรกิจที่ประสบความสําเร็จในชีวต  ิ
    2) ครู นักเรี ยน ได้มีประสบการณ์การพัฒนาตนเอง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาความสามารถใน
    การสร้างสรรค์ และด้า นการประดิ ษ ฐ์ และได้มี ป ระสบการณ์ แ ละการพัฒ นาขี ด ความสามารถ
    ด้า นการงานอาชี พ มีประสบการณ์การบริ หารจัดการการค้าขาย การจัดจําหน่าย
9

3) ครู นักเรี ยน ได้มีประสบการณ์ดานทรัพย์สินทางปั ญญา มีความรู ้ความเข้าใจในทรัพย์สินทางปั ญญา
                                 ้
ตระหนัก ในทรั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญา สามารถสร้ า งสรรค์ท รั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญา ทั้ง งานลิ ข สิ ท ธิ์ และ
สิทธิบตร/อนุสิทธิบตร
       ั              ั
10

                                                     บทที่ 2
                                      เอกสารและงานวจยทเี่ กยวข้อง
                                                   ิ ั ี่


        พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา
                                                       ํ
ใน ข้อ 1 ซึ่งเป็ นข้อที่มีความสําคัญมากที่สุด ไว้ดงนี้
                                                  ั
               “ข้ อ 1. การจัดการศึกษาต้ องเป็ นไปเพือพัฒนาคนไทยให้ เป็ นมนุษย์ ทสมบูรณ์
                                                     ่                           ี่
               ทั้งร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริ ยธรรมในการดํารงชีวิต
                                  สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่ างมีความสุ ข”
       เมื่ อ กลับมาวิเ คราะห์ หลักสู ต รการจัดการเรี ยนการสอนในทุกระดับ ตั้ง แต่ระดับการศึ กษาขั้น
พืนฐาน ระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา ส่วนใหญ่เน้นการให้ความรู ้แก่ผเู ้ รี ยนเป็ นหลัก
 ้
          เนื้อหาหลักสูตรรายวิชา ที่จะพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์สมบูรณ์ดานจิตใจ คุณธรรม จริ ยธรรมใน
                                                                               ้
การดํารงชีวต สามารถอยูร่วมกับผูอื่นได้อย่างมีความสุ ข มีอยูในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม
               ิ          ่        ้                          ่
แต่ ย ง ไม่ ส ามารถสร้ างคนอี กจํา นวนมากให้เ ป็ นดี มี คุ ณ ธรรม มี ภู มิ ต ้านทานต่อ สิ่ ง ไม่ ดี ท้ ัง หลายได้ดี
      ั
เท่าที่ควร
         ที่สาคัญคือ ยังขาดกระบวนการที่ดี ที่จะทําให้ผเู ้ รี ยนได้รู้จกพัฒนาชีวิตตนเองสู่ ความสําเร็ จในชีวิต
             ํ                                                         ั
หลักสูตรการจัดการเรี ยนการสอนไม่เข้มข้นเพียงพอทําให้ผเู ้ รี ยน เกิดพลังใจที่เข้มแข็งเพียงพอที่จะต่อต้าน
กับความขี้เกียจ สิ่งยัวยุ และอบายมุขต่างๆ ที่ถาโถมเข้ามาอย่างรุ นแรง ผูเ้ รี ยนจึงมีความเสี่ยงสู ง ที่จะดําเนิ น
                      ่
ชีวิตผลิ ตพลาด และไม่มีการตั้งเป้ าหมายชี วิต ทําให้เยาวชนและผูคนส่ วนใหญ่ ใช้ชีวิตไปวันๆ โดยไร้
                                                                         ้
จุดหมาย และถูกสื่ อโฆษณาทางการค้าชักจูงชวนเชื่อได้ง่าย ทําให้สังคมไม่เข้มแข็ง ทําให้หลายๆรัฐบาล
พยายามปฏิรูปการศึกษา แต่ยงไม่ประสบความสําเร็จเท่าที่ควร
                              ั
         กระบวนการพัฒ นาชี วิตสู่ ความสํา เร็ จ เป็ นทางออกสํา คัญ ในการวางรากฐานการพัฒนาคน
วางรากฐานพัฒนาเยาวชนสู่ ความสําเร็ จในชีวิตโดยผนวกเข้าไปในการจัดการเรี ยนการสอนในโรงเรี ยน
และเป็ นการวางรากฐานการพัฒนาสังคมเมื่อ นํามาประยุกต์ใช้ก ับชุมชน และมีศกยภาพขยายผลสู่ สังคม
                                                                             ั
ผ่านสื่อสร้างสรรค์ที่กระตุนให้คนไทย เกิดความมุ่งมันพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ และวางแผนดําเนินชีวตที่ดี
                          ้                       ่        ิ                                  ิ
        (ร่ าง) ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ของสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ฉบับ
                                                     ่
เดือนพฤษภาคม 2552 ได้สรุ ปปั ญหาการปฏิรูปการศึกษาที่ผานมา ว่าสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้
ดําเนินการติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาตั้งแต่ปี 2542 เป็ นต้นมา พบปั ญหาที่ตองเร่ งปรับปรุ ง
                                                                                   ้
แก้ไข พัฒนา และสานต่อ สรุ ป ในด้านการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน/สถานศึกษา พบปั ญหาสําคัญได้แก่ มี
11

สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ยงไม่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ประเมินของ สมศ. ถึงร้อยละ 25 ในร่ างดังกล่าวได้
                        ั
     ่
ระบุวา อาจพิจารณาปั ญหาสําคัญของระบบการศึกษาและเรี ยนรู ้ที่ตองปฏิรูปอย่างเร่ งด่วนได้สามประการ
                                                             ้
หลักด้วยกัน ดังนี้
         1. การพัฒ นาคนไทยยุค ใหม่ ที่มีนิสัย ใฝ่ เรี ยนรู ้ ตั้งแต่ป ฐมวัย สามารถเรี ยนรู ้ด้ว ยตนเองและ
            แสวงหาความรู ้อย่างต่อเนื่ องตลอดชี วิต มีความสามารถในการสื่ อสาร สามารถคิดวิเคราะห์
            แก้ปัญหา คิดริ เริ่ มอย่างสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คํานึ งถึงประโยชน์ส่วนรวม
            สามารถทํา งานเป็ นกลุ่ ม ได้อ ย่า งกัล ยาณมิ ต ร มี ศี ล ธรรม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ค่ า นิ ย ม มี
            จิตสํานึกและความภูมิใจในความเป็ นไทย และสามารถก้าวทันโลก เป็ นกําลังคนที่มีคุณภาพ มี
            ทักษะความรู ้พ้ืนฐานที่จาเป็ น มีสมรรถนะ ความรู ้ความสามารถ สามารถทํางานได้อ ย่างมี
                                       ํ
            ประสิทธิภาพ รวมทั้งมีโอกาสเรี ยนรู ้อย่างเท่าเทียมและเสมอภาคฯ
         2. พัฒนาครู ยคใหม่ ที่เป็ นผูเ้ อื้ออํานวยให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ฯ
                      ุ
         3. พัฒนาการบริ หารจัดการใหม่ ที่มุ่งเน้นการกระจายอํานาจสู่ สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา
            และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งการมีส่วนร่ วมของเอกชนและทุกภาคส่วน
        จะเห็นได้ว่า ในการพัฒนาคนไทยยุคใหม่ เราต้องการคนไทยยุคใหม่ที่ ที่มีนิสัยใฝ่ เรี ยนรู ้ ตั้งแต่
ปฐมวัย สามารถเรี ย นรู ้ด้ว ยตนเองและแสวงหาความรู ้ อ ย่า งต่อ เนื่ อ งตลอดชี วิต มี ศี ล ธรรม คุ ณธรรม
จริ ยธรรม ซึ่ งคุณสมบัติเหล่านี้ จะเกิดขึ้นในตัวผูเ้ รี ยนได้ ผูเ้ รี ยนจะต้องรู ้จกพัฒนาตนเองสู่ ความสําเร็ จใน
                                                                                   ั
ชีวต การเรี ยนการสอนวิชาการ 8 กลุ่มสาระที่จดการเรี ยนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานปั จจุบน ไม่
    ิ                                           ั                                                         ั
เพียงพอที่จะสร้างคุ ณลักษณะคนไทยยุคใหม่ ตามที่ตองการได้ เราจําเป็ นต้อ งให้คนไทยได้รู้จกพัฒนา
                                                          ้                                            ั
ตนเองสู่ความสําเร็จในชีวติ
         ปราโมช สีหรักษ์ (2552) ได้ศึกษาวิจยเรื่ อง การจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม เพื่อ
                                           ั
พัฒนาทักษะ โดยมีวตถุ ประสงค์คือ เพื่อ พัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้เชิ งประสบการณ์ โดยใช้กิจกรรม เพื่อ
                     ั
พัฒ นาทัก ษะกระบวนการทํา งานเป็ นที ม และผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นของนัก เรี ย น และเพื่ อ ศึ ก ษา
ประสิ ทธิผลของการจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้กิ จกรรม โดยข้อมู ลที่ผศึกษาเก็บรวบรวมมี 2
                                                                                   ู้
ส่วน ส่วนแรก คือ ข้อมูลเชิงปริ มาณประกอบด้วย 1) แบบประเมินทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมโดย
นักเรี ยนประเมิ น ตนเอง 2) แบบประเมิ น ทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีม ของแต่ล ะทีมประเมิ นโดย
สมาชิกทีม 3) แบบประเมินทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมของแต่ละทีมประเมินโดยผูศึกษา 4) แบบ    ้
ประเนินคุณภาพผลงานประเมินโดยทีมตนเอง ประเมินทีมอื่น และผูศึกษา ส่ วนที่ 2 เป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพ
                                                                    ้
ซึ่งได้มาจากข้อมูลการเขียนตอบคําถามในกิจกรรมการเรี ยนการสอน และข้อมูลจากบันทึกการเรี ยนรู ้ การ
เก็บข้อมูลด้านทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมจะเก็บข้อมูลเป็ น 4 ระยะของการทดลอง การเก็บข้อมูลใน
แต่ละระยะจะเก็บข้อมูลทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมหลังจากจบการเรี ยนการสอนในหน่ วยการเรี ยนรู ้
12

จากกิจกรรมลูกโป่ ง วัสดุอุปกรณ์งานไม้ไผ่ ถาดไม้ไผ่ และเก้าอี้ไม้ไผ่ตามลําดับ และการเก็บข้อมูลจากการ
ประเมินคุณภาพผลงานจากการทําถาดไม้ไผ่ และเก้าอี้ไม้ไผ่ ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพจะเก็บในทุกหน่ วยการ
เรี ยนรู ้ ผูศึกษานําข้อมูลมาวิเคราะห์ดวยโปรแกรม SPSS for Windows Version 11 และนําข้อมูลเชิง
             ้                         ้
คุณภาพมาวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์น้ี ผูศึกษานําไปประเมินประสิทธิผลของการ
                                                                 ้
เรี ยนการสอน โดยแบ่งเป็ น 2 ตอน คือ 1) ผลการทดลองใช้ก ารจัดการเรี ยนรู ้เชิ งประสบการณ์ โดยใช้
กิจกรรม และ 2) ผลการประเมินประสิทธิผลของการจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม
           ผลสรุ ปจากการวิจยมีดงนี้ 1.การจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะ
                                ั ั
กระบวนการทํางานเป็ นทีม และผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนที่พฒนาขึ้น ประกอบด้วยการดําเนิ นการ 2 ส่ วน
                                                                 ั
คือ ส่วนที่ 1 เป็ นการเตรี ยมการและวางแผนการสอนของครู โดยเตรี ยมเนื้ อหา ทักษะกระบวนการ และการ
จัดทีมนักเรี ยน ส่ วนที่ 2 เป็ นขั้นตอนการจัดการเรี ยนการสอน ประกอบด้วย 3 ขั้นหลัก คือ 1) ขั้นกําหนด
แนวทางการเรี ยนรู ้ 2) ขั้นดําเนิ นการเรี ยนรู ้ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ และสรุ ปบทเรี ยน และ 3) การประเมินผล
การเรี ยนรู ้ ทั้งนี้ครู มีบทบาทเป็ นผูอานวยความสะดวกในการเรี ยนรู ้ การทํางาน และฝึ กทักษะการบวนการ
                                       ้ํ
ทํางานเป็ นทีมให้แก่นักเรี ยน 2.จากการตรวจสอบประสิ ทธิผลของจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้
กิจกรรมดังกล่าวด้วยการทดลองใช้ ปรากฏว่านักเรี ยนที่เรี ยนด้วยการจัดการเรี ยนรู ้เชิ งประสบการณ์โดยใช้
กิจกรรมมีทกษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมสู งขึ้ นและมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสู งกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
               ั
อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงสรุ ปได้วาการจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม
         ั                                                ่
ดังกล่าวนี้ สามารถนําไปใช้เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของ
นักเรี ยนได้
         จารุ วรรณ ฤทธิเพชร (2552) ได้ศึกษาวิจยเรื่ อง กระบวนการและปั จจัยสําคัญแห่ งความสําเร็ จของ
                                                  ั
การจัดการความรู ้ของโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐานในกรุ งเทพมหานครและ
                                                                          ้
ปริ มณฑล:การศึกษาเชิงคุณภาพและเชิงปริ มาณ โดยมีวตถุประสงค์ในการวิจย คือ เพื่อศึกษากระบวนการ
                                                       ั                    ั
จัดการความรู ้ของโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในกรุ งเทพมหานครและ
ปริ มณฑล และเพือศึกษาปั จจัยสําคัญแห่ งความสําเร็ จของการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยนสังกัดสํานักงาน
                  ่
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล ทําการเก็บรวบรวมข้อ มูล เชิ ง
คุณภาพและเชิงปริ มาณ นํามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติภาคบรรยาย เพื่ออธิบายลักษณะของกลุ่มตัวอย่างและ
ลักษณะของตัวแปรที่ใช้ในการวิจย โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS การวิเคราะห์ค วามสัมพัน ธ์
                                      ั
ระหว่างตัวแปร โดยการวิเคราะห์ค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (pearson’s product-moment
correlation coefficient) เพื่อใช้เป็ นข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์โมเดลปั จจัยสําคัญแห่ งความสําเร็ จของ
การจัดการความรู ้ของโรงเรี ยน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS for Window และการวิเคราะห์ปัจจัย
สําคัญแห่งความสําเร็จของการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยนด้วยโปรแกรมลิสเรล
13

             ผลสรุ ปจากการวิจยมีดงนี้ 1. กระบวนการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยน มี 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่
                              ั ั
1 การกําหนดเป้ าหมายสิ่ งที่ตองเรี ยนรู ้ มี 4 ขั้นตอนย่อ ย คือ 1) โรงเรี ยนจัดประชุมผูบริ หารและหัวหน้า
                                 ้                                                      ้
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้เพือวางแผนงานการทํางาน 2) โรงเรี ยนจัดประชุมครู ท้งโรงเรี ยนเพื่อกําหนดวิสัยทัศน์
                         ่                                                      ั
การจัดการความรู ้ของโรงเรี ยนร่ วมกัน 3) กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้จดประชุมเพื่อกําหนดวิสัยทัศน์การจัดการ
                                                                   ั
ความรู ้ของ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับวิสยทัศน์การจัดการความรู ้ของโรงเรี ยน 4) กลุ่มสาระการ
                                                      ั
เรี ยนรู ้นาเสนอโครงการและแนวทางในการนําการจัดการความรู ้ไปพัฒนาการเรี ยนการสอน ขั้นตอนที่ 2
           ํ
การแสวงหาความรู ้ มี 3 ขั้นตอนย่อย คือ 1) โรงเรี ยนสนับสนุ นให้ครู มีการแสวงหาความรู ้ 2) โรงเรี ยน
จัดเตรี ยมเทคโนโลยีและแหล่ งความรู ้สาหรับการแสวงหาความรู ้ 3) ครู มีการแสวงหาความรู ้จากแหล่ ง
                                             ํ
ความรู ้ต่างๆ อย่างอิสระ ขั้นตอนที่ 3 การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ มี 3 ขั้นตอนย่อย คือ 1) โรงเรี ยนสนับสนุ นให้
ครู มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ 2) โรงเรี ยนจัดเตรี ยมเทคโนโลยีและสถานที่สาหรับการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ 3)
                                                                              ํ
ครู มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้อย่างเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ ขั้นตอนที่ 4 การสร้างความรู ้ มี 4 ขั้นตอน
ย่อย คือ 1) โรงเรี ยนสนับสนุ นให้ครู สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน 2) ครู นาความรู ้จากํ
ประสบการณ์เดิมผนวกกับความรู ้ใหม่เพือสร้างนวัตกรรม 3) ครู นานวัตกรรมไปทดลองใช้ในการจัดการ
                                           ่                          ํ
เรี ยนการสอน 4) ครู พฒนานวัตกรรมให้มีความสมบูรณ์ ขั้นตอนที่ 5 การจัดเก็บความรู ้ มี 5 ขั้นตอนย่อย
                           ั
คือ 1) โรงเรี ยนสนับสนุ นให้ครู จดเก็บความรู ้ในรู ปแบบของบล็อก 2) โรงเรี ยนจัดการประชุมปฏิบติการ
                                    ั                                                                 ั
เพือให้ความรู ้เกี่ยวกับการจัดเก็บความรู ้ในรู ปของบล็อกแก่ครู ในโรงเรี ยน 3) โรงเรี ยนจัดเตรี ยมเทคโนโลยี
    ่
และสถานที่สาหรับการจัดเก็บความรู ้ 4) ครู นาความรู ้ไปจัดเก็บในรู ปแบบต่างๆ 5) โรงเรี ยนมีการติดตาม
                 ํ                               ํ
และประเมิ นผลการจัดเก็บความรู ้ ขั้นตอนที่ 6 การใช้ป ระโยชน์จ ากความรู ้ มี 4 ขั้นตอนย่อ ย คื อ 1)
โรงเรี ย นสนับ สนุ น ให้ค รู ใ ช้ป ระโยชน์ จ ากความรู ้ ใ นการจัดการเรี ย นการสอน 2) ครู นํา ความรู ้ แ ละ
นวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอน 3) ครู ปรับปรุ งความรู ้และนวัตกรรมอยู่
เสมอ 4) ครู นาความรู ้และนวัตกรรมไปเผยแพร่ /แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้/จัดเก็บ นอกจากนี้ ปั จจัยสําคัญแห่ ง
                   ํ
ความสําเร็จของการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยน ได้แก่ การสนับสนุนของผูบริ หาร ความเข้มแข็งของทีมงาน
                                                                            ้
การจัดการความรู ้ การมี สิ่งกระตุนเพื่อสร้างแรงจูงใจ การช่วยเหลือของหน่ วยงานภายนอก การวางแผน
                                      ้
งานและกิจกรรมการจัดการความรู ้ การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ โรงเรี ยนมีบรรยากาศและสถานที่เอื้ อ ต่อ การ
จัดการความรู ้ และมีงบประมาณที่เพียงพอ 2. โมเดลเชิงสาเหตุของความสําเร็ จของการจัดการความรู ้ของ
โรงเรี ย นสังกัด สํา นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้น ฐานในกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑลโดย
ภาพรวมมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2=26.32, df=65, p = 1.00, GFI = 0.99,
AGFI = 0.97) โดยตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรี ยน และตัวแปรการติดตามและประเมินผลการจัดการความรู ้ของ
โรงเรี ยนมี อิทธิพลรวมสู งสุ ดต่อการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยน ตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความ
แปรปรวนของความสําเร็จของการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พืนฐานในกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑลได้ร้อยละ 88
  ้
14

       Ma, You-keung (2005) ได้ศึกษา ทัศนคติของนักเรี ยนเกี่ยวกับความสําเร็ จและความสัมพันธ์กบ        ั
การวางแผนอาชีพในโรงเรี ยน, Greg brigman และ Linda Webb 2007 ได้ศึกษาเรื่ อง ทักษะที่นักเรี ยน
ประสบความสําเร็จ: ผลกระทบความสําเร็จผ่านกลุ่มทํางานขนาดใหญ่และขนาดเล็ก, Anne M. Liljenstrand
and Delbert M. Nebeker 2008 ได้ศึกษาเรื่ อ ง การฝึ กบริ การ: การมองบริ การ ลู กค้า และการปฏิบติ ,   ั
Margaret M. Hopkins, Deborah A. O’Neli, Angela Passarelli และ Diana Bilimoria 2008 ศึกษาเรื่ อง การ
พัฒนากลยุทธ์การปฏิบติการเป็ นผูนาของผูหญิงสําหรับผูหญิงและองค์กร, Brad Harrington และ Jamie J.
                      ั          ้ ํ    ้            ้
Ladge 2009 ศึกษาเรื่ อง พลวัตปั จจุบนและเส้นทางอนาคตสําหรับองค์กร, John J. Sosik, Veronica M.
                                     ั
Godshalk และ Francis J. Yammarino 2004 ศึกษาเรื่ อง การเป็ นผูนาปฏิรูปการเรี ยนรู ้เป้ าหมายปฐมนิ เทศ
                                                              ้ ํ
และคาดหวังเพือความสําเร็จในอาชีพที่ปรึ กษาป้ องกันความสัมพันธ์: มีหลายระดับการวิเคราะห์ที่ได้ส่วน
             ่
สัด


         และมีหนังสือที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาตนเองสู่ความสําเร็ จในชีวิตจํานวนมาก ได้แก่ งานวิจยและ  ั
หนังสือซึ่งถอดแบบวิธีการกระบวนการประสบความสําเร็จในชีวต ของผูประสบความสําเร็ จในชีวิตระดับ
                                                                      ิ     ้
โลกจํานวนมาก ผูอ่านจะได้รู้จกนําความสําเร็จของผูอื่นเป็ นบทเรี ยน ไม่ตองลองผิดลองถูก ไม่ตองล้มเหลว
                   ้            ั                          ้                  ้               ้
ในการดําเนิ นชี วิต หนังสื อเหล่ านี้ สามารถสร้างแรงบันดาลใจ สร้างพลังใจสู่ ความสําเร็ จได้ดีมากๆ ควร
ถอดเข้าสู่บทเรี ยนในการจัดการศึกษา และเผยแพร่ สร้างแรงบันดาลใจแก่คนไทย ตัวอย่างเช่น สื่ อวีดีโอ ที่
สามารถเข้าถึ งได้ทาง www.yoytube.com โดยใช้คาสื บค้นว่า “สู่ ความสําเร็ จ” “ปลุกยักษ์” “คิดบวก”
                                                         ํ
“The power of change” เป็ นต้น ในด้านการปลูกฝังความคิดความเชื่อ หนังสื อ The Secret มีชื่อเสี ยงไปทัว    ่
โลก เป็ นหลักจิตวิทยาที่ยอมรับกันแล้วทัวโลกว่าเราสามารถปลูกฝังความคิดความเชื่อแก่น โดยการพูดกับ
                                             ่
ตัวเองซํ้าๆ บ่ อ ยๆ เป็ นประจํา จนให้ผูคนคิดและเชื่ อ ว่า ตนเองเป็ นอย่างนั้นจริ ง ๆ ผูคนก็จ ะปฏิ บติ ตาม
                                           ้                                            ้          ั
ความคิดความเชื่ อ นั้น แต่สิ่งเหล่ านี้ ยงไม่ เข้าสู่ หลักสู ตรการเรี ยนการสอนในโรงเรี ยนทัวไป ดังนั้นเรา
                                         ั                                                 ่
สามารถนํามาใช้หลักการนี้ ในการปลูกฝังความดี คุณธรรม จริ ยธรรม การพัฒนาคุณลักษณะนิ สัยที่ทาให้          ํ
ชีวตประสบความสําเร็จได้ หากนํามาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน และใช้ในการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ
   ิ
เอกชน และประชาชนทัวไป    ่
       เอกสารต่อไปนี้ (โดยหน่วยสร้างสํานึกและพัฒนาประโยชน์จากเอกสารสิ ทธิบตรเพื่อการวิจยและ
                                                                                       ั          ั
พัฒนา สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจย ได้ร่วมกับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุ โลก เขต 1 และ
                                            ั
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) ได้ถอดสาระสําคัญหลักการพัฒนาตนเอง การพัฒนาคนสู่ ความสําเร็ จในชีวิตจาก
เอกสารงานวิ จ ัย และหนัง สื อ พัฒ นาตนเองต่ า งๆ ข้า งต้น ซึ่ งจัด ทํา เป็ นหลัก สู ต ร การพัฒ นาชี วิ ต สู่
ความสําเร็ จ เป็ นองค์ความรู ้พ ร้อ มใช้ที่ควรผลัดดันขับเคลื่ อ นการปรับ โครงสร้างเศรษฐกิ จและสังคม
เอกสารพร้อมใช้ดงกล่าวได้แก่
                  ั
15

        1. หลักสูตรท้องถิ่น รายวิชา การพัฒนาชีวตสู่ ความสําเร็ จ และคู่มือการจัดการเรี ยนรู ้ “การพัฒนา
                                                  ิ
        ชีวิตสู่ ความสําเร็ จ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ฉบับทดลอง ซึ่ งสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
        พิษณุโลก เขต 1 ได้ประกาศใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ซึ่งสามารถจัดสอนเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม
        หรื อในชัวโมงพัฒนาศักยภาพผูเ้ รี ยน หรื อสอดแทรกในรายวิชาอื่นๆ
                   ่
        2. คําอธิบายรายวิชาการพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ ระดับชั้นประถมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษา
                                      ิ
        3. ผลการเรี ยนรู ้และสาระการเรี ยนรู ้ การพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ ระดับชั้นประถมศึกษา ระดับชั้น
                                                          ิ
        มัธยมศึกษา
        4. คู่มือการจัดกิจกรรรมการเรี ยนรู ้ การพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ ระดับการศึกษาขั้นพืนฐาน
                                                        ิ                                 ้
        5. คู่มือ ครู การพัฒนาศักยภาพนักเรี ยน ด้วยศาสตร์ แห่ งความสําเร็ จ เปลี่ยนวิธีคิด เปลี่ยนชีวิตสู่
        ความสําเร็ จ เป็ นองค์ความรู ้ เป็ นเอกสารพร้อมใช้ ที่ได้ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนา
        ชีวตนักเรี ยนสู่ความสําเร็จ ได้ประสบความสําเร็จในการพัฒนาชีวตนักเรี ยน
           ิ                                                             ิ
         กระบวนการ “การพัฒนาชี วิตสู่ ความสําเร็ จ” (ดังรายการเอกสารข้างต้น) มีแนวคิดหลักคือ มุ่ ง
ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน เกิดแรงบันดาลใจ มีพลังในตนเอง สามารถพัฒนาชีวต ตามที่ตนคิด ตนชอบอย่างแท้จริ ง
                                                                    ิ
มีการตั้งเป้ าหมายชีวต จัดทําแผนชีวต มุ่งมันปฏิบติตามแผนชีวิต สู่ ความสําเร็ จ ด้านการเรี ยน ด้านสุ ขภาพ
                           ิ           ิ      ่    ั
กายใจ ด้านครอบครัว ด้านการทํางานและอาชีพเป้ าหมาย ให้เป็ นคนดี คนเก่ง มีความสุ ข และสร้างสรรค์
สังคม
                สาระของการพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ ประกอบด้วย 7 สาระ คือ
                                  ิ
                1. คุณค่าและความสําเร็จในชีวต
                                            ิ
                2. การสร้างแรงบันดาลใจสู่ความสําเร็จ
                3. การกําหนดเป้ าหมายชีวตสู่ความสําเร็จ
                                        ิ
                4. การจัดทําแผนชีวตสู่ความสําเร็จ
                                  ิ
                5. การดําเนินตามแผนชีวตและพัฒนาแผนชีวตสู่ความสําเร็จอย่างมีความสุข
                                      ิ              ิ
                6. การสร้างลักษณะนิสยคุณลักษณะแห่งความสําเร็จอย่างยังยืน
                                    ั                               ่
                7. การสร้างทรัพย์สินทางปั ญญาสู่ความสําเร็จ
       จุ ด เน้น การจัด การเรี ย นรู ้ คื อ การสร้ า งแรงบัน ดาลใจ การจัด เหตุ ก ารณ์ แ วดล้อ ม การสร้ า ง
สถานการณ์ แวดล้อ ม การสร้างสิ่ ง แวดล้อ ม ที่ทาให้ผูเ้ รี ยนคิ ดได้ ได้คิด เกิ ด การเปลี่ ยนแปลงความคิ ด
                                                      ํ
สามารถตั้งเป้ าหมายชีวิต และมุ่ งมั่นปฏิบติตนสู่ ความสําเร็ จในชี วิต โดยครู ผูสอน หรื อ วิทยากรพัฒนา
                                              ั                                  ้
ตนเอง คอยกํากับดูแลให้ผเู ้ รี ยนปฏิบติตนตามแผนชีวตสู่ความสําเร็จตามความใฝ่ ฝัน คุณค่า ค่านิ ยมที่ดีงาม
                                       ั                ิ
16

ของตนเอง และขณะเดียวกันก็สร้างนิ สัยที่ดี สร้างคุณลักษณะและคุณธรรมแห่ งความสําเร็ จ ให้เกิดขึ้นใน
ตนเอง
            คุณลักษณะและคุณธรรมแห่งความสําเร็จ ประกอบด้วย กําหนดเป้ าหมายสําคัญที่แน่ นอน มีความ
เชื่ อ มั่น ในตนเอง มี นิ สั ย ประหยัด อดออม มี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม และการเป็ นผู ้นํา มี จิ น ตนาการ มี ค วาม
กระตือรื อร้น มีการควบคุมตนเอง ขยันขันแข็งอดทน มีบุคลิกภาพที่ดี มีความคิดถูกต้องเที่ยงตรงซื่ อสัตย์ มี
จิตใจจดจ่อ มีความสามัคคี ให้ความล้มเหลวเป็ นบทเรี ยนและเรี ยนรู ้จากความสําเร็ จของผูอื่ น มี ความใจ
                                                                                                  ้
กว้างเอื้อเฟื้ อเผือแผ่ รักเพือนมนุษย์ ใช้กฎทองคําอยากให้เขาทําอะไรให้เราให้เราทําสิ่ งนั้นกับเขาก่อน ไม่มี
                   ่          ่
พฤติกรรมเสี่ยงและลักษณะนิสยที่ไม่ดี
                                  ั
       จะเห็นได้ว่าองค์ความรู ้ในการพัฒนาคน การพัฒนาตนเอง มีอยูดงกล่าวข้างต้น แต่มกใช้ในการ
                                                               ่ ั                ั
พัฒนาศักยภาพผูบริ หารระดับสู ง การพัฒนาบุคลากรของบริ ษทใหญ่ การพัฒนาพนักงานขายของบริ ษท
              ้                                       ั                                   ั
ขายตรงต่างๆ
         ระบบการจัด การศึ ก ษาของไทย และต่ างประเทศยัง ไม่ สอนให้ผูเ้ รี ยนได้รู้จ ัก พัฒนาตนเองสู่
ความสําเร็ จในชีวิต จึงต้องจัดทําโครงการศึกษาแนวทางการผลักดันและขับเคลื่อนการพัฒนาคนไทยยุค
ใหม่สู่ความสําเร็จในชีวต การจัดทําแผน 11 และนโยบายอื่นๆ ของรัฐบาลในเรื่ องที่เกี่ยวกับการพัฒนาคน
                       ิ
เพือปฏิรูปการศึกษา การเรี ยนรู ้ตลอดชีวต ลดปั ญหาสังคม ส่งเสริ มการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม
    ่                                  ิ
ที่เข้มแข็งและยังยืน
                ่


การทําธุรกิจ การค้าขายและ การตลาด
       ธุรกิจ (Business) หมายถึงความพยายามของผูประกอบการที่จะผลิตหรื อซื้ อขายสิ นค้า (Products)
                                                   ้
หรื อ บริ การ (Services) เพื่อ ตอบสนองความต้อ งการของสังคม (ลูกค้า) โดยหวังที่จะได้ผลกําไร และ
ยอมรับความเสี่ ยงในการขาดทุนหรื อ ไม่ ได้ผลกําไรตามต้องการ โดยมีความรับผิดชอบต่อสังคม และมี
จริ ยธรรมทางธุรกิจ ผูประกอบการจึงต้องทุ่มเทเวลา ความพยายามและเงินทุนเพื่อดําเนิ นธุรกิจให้ประสบ
                      ้
ผลสําเร็จ ทั้งด้านประสิทธิผล (Effectiveness) และประสิทธิภาพ (Efficiency)
       อาจจะแบ่งธุรกิจออกเป็ น 3 ประเภท คือ
       (1) ธุรกิจการผลิต (Manufacturing Business) หมายถึง ธุรกิจที่มีวตถุประสงค์ในการแปรรู ป
                                                                      ั
       (Transforming) วัตถุดิบให้เป็ นสินค้า เช่น ธุรกิจการผลิตอาหาร ธุรกิจการทอผ้า ธุรกิจการผลิต
       รถยนต์ เหล่านี้เป็ นต้น
       (2) ธุ รกิ จบริ การ (Service Business) หมายถึ ง ธุ รกิ จที่มีวตถุประสงค์ในการให้บริ การลู กค้า เช่ น
                                                                     ั
       ธุรกิจการเงิน ธนาคาร ร้านค้า ศูนย์การค้า ธุรกิจการบิน ธุรกิจการท่องเที่ยว เหล่านี้เป็ นต้น
17

       (3) ธุรกิจการค้า (Trading Business) หมายถึง ธุรกิจที่มีวตถุประสงค์ในการซื้ อ-ขายสิ นค้า หรื อเป็ น
                                                               ั
       คนกลางในการซื้อขายสินค้า เช่น ห้างสรรพสินค้า ธุรกิจการค้าปลีก ธุรกิจการค้าส่ง เหล่านี้เป็ นต้น


ทรัพย์สินทางปัญญา
         ทรัพย์สิน คือ วัตถุที่มีรูปร่ างซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ เช่น บ้าน ที่ดิน ลิขสิทธิ์ สิทธิบตร เป็ น
                                                                                                       ั
ต้น ปั ญญา คือ ความรอบรู ้ ความรู ้ทวไปความฉลาดเกิดแต่เรี ยนและความคิด เมื่อรวมทั้ง 2 คําเข้าด้วยกัน
                                            ั่
ทรัพย์สินทางปั ญญา จึงหมายถึงความรู ้ที่เกิดจากการคิดค้นจนทําให้เกิดมีค่าขึ้นได้ หรื อจะกล่าวอีกนัยหนึ่ ง
ว่า ทรัพย์สินทางปั ญญาได้แก่การที่ผใดหรื อคณะบุคคลใดร่ วมกันประดิษฐ์คิดค้น ออกแบบ สร้างสรรค์ จน
                                         ู้
เกิ ด ผลขึ้น มา และผลงานนั้นมี คุณ ค่าสามารถใช้ป ระโยชน์ ไ ด้ท้ ง งานเกษตรกรรม อุ ต สาหกรรม และ
                                                                    ั
พาณิ ชยกรรม
          ปั จจุบนทรัพย์สินทางปั ญญานับว่าเป็ นสิ่งสําคัญยิง และควรค่าต่อการที่จะได้รับความคุมครองตาม
                 ั                                           ่                                ้
กฎหมาย ด้วยเหตุผลที่วา การประดิษฐ์คิดค้น กรรมวิธีต่างๆ นั้น จุดกําเนิดของการได้มานั้นมาจากความคิด
                         ่
มาจากมันสมองผนวกกับระยะเวลาที่ทุ่มเทให้กบการศึกษาวิจยเพื่อให้ได้มาซึ่ งผลงานนวัตกรรมใหม่ๆ ที่
                                                 ั              ั
ทรงคุณค่าเป็ นที่ภูมิใจของผูประดิษฐ์ ดังนั้นด้วยเหตุ นี้เองผลงานดังกล่าวจึงควรค่าแก่การคุมครอง จากเหตุ
                              ้                                                          ้
ที่กล่ าวมาจึงได้มีการบัญญัติเป็ นกฎหมายเพื่อ ให้การคุ มครอง โดยมี พระราชบัญญัติสิทธิ บตร ลิ ขสิ ทธิ์
                                                           ้                                ั
เครื่ องหมายการค้า ให้การคุมครองในหลักการรู ปแบบที่แตกต่างกันไป
                            ้
           โดยทัว ๆ ไป คนไทยส่ วนมากจะคุ นเคยกับคําว่า "ลิ ขสิ ทธิ์ " ซึ่ งใช้เรี ยกทรัพย์สินทางปั ญญาทุก
                ่                              ้
ประเภท โดยที่ ถู ก ต้อ งแล้ว ทรั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญาแบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภท ที่ เ รี ย กว่ า ทรั พ ย์สิ น ทาง
อุ ต สาหกรรม (Industrial property) และลิ ข สิ ท ธิ์ (Copyright) ทรั พ ย์สิ น ทางอุ ต สาหกรรมไม่ ใ ช่
สังหาริ มทรัพย์และอสังหาริ มทรัพย์ที่ใช้ในการผลิตสิ นค้าหรื อผลิ ตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม แท้ที่จริ งแล้ว
ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมนี้ เป็ นความคิดสร้างสรรค์ของมนุ ษย์ที่เกี่ ยวกับสิ นค้าอุตสาหกรรม ความคิด
สร้างสรรค์น้ ีจะเป็ นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม ซึ่งอาจจะเป็ น
กระบวนการ หรื อ เทคนิ ค ในการผลิ ตที่ ไ ด้ป รั บปรุ ง หรื อ คิด ค้นขึ้ น ใหม่ หรื อ ที่เ กี่ ยวกับตัว สิ น ค้า หรื อ
ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นองค์ประกอบ และรู ปร่ างสวยงามของตัวผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ ยงรวมถึงเครื่ องหมายการค้า
                                                                                  ั
                            ่
หรื อยีหอ ชื่อ และถิ่นที่อยูทางการค้า ที่รวมถึงแหล่งกําเนิดสินค้าและการป้ องกันการแข่งขันทางการค้าที่ไม่
       ่ ้
เป็ นธรรม ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม สามารถแบ่งออก ได้ดงนี้      ั
              สิทธิบตร (Patent)
                     ั
              เครื่ องหมายการค้า (Trademark)
              แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout-Designs of Integrated Circuit)
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย

More Related Content

What's hot

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2Aunop Nop
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายratchadaphun
 

What's hot (20)

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
โครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลายโครงงานอาชีพม.ปลาย
โครงงานอาชีพม.ปลาย
 

Similar to วิจัยนักธุรกิจน้อย

นำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อย
นำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อยนำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อย
นำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อยratchadaphun
 
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญา
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญานักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญา
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญาinnoobecgoth
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชSaranpattara Jace
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิดNirut Uthatip
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน Orange Wongwaiwit
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

Similar to วิจัยนักธุรกิจน้อย (20)

นำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อย
นำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อยนำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อย
นำเสนองานวิจัยนักธุรกิจน้อย
 
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญา
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญานักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญา
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญา
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิชผลการเรียนรู้ยุววาณิช
ผลการเรียนรู้ยุววาณิช
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
 

วิจัยนักธุรกิจน้อย

  • 1. 1 รายงานวจย ิั รูปแบบการสร้างนักธุรกจน้อยมีคุณธรรม ิ สร้ างทรัพย์ สินทางปัญญาสู่ เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ในโรงเรียนนําร่ อง โรงเรียน ชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี ในโครงการวจย ิั รูปแบบการสร้างนักธุรกจน้อยมีคุณธรรม ิ สร้างทรัพย์สินทางปัญญาสู่ เศรษฐกจสร้างสรรค์ ิ ภายใต้โครงการ นักธุรกจน้อย มีคุณธรรม นําสู่ เศรษฐกจสร้างสรรค์ ิ ิ สํานักพฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนฐาน ื้ หน่วยงานที่ปรึกษา : มหาวิทยาลยเกษตรศาสตร์ ั
  • 2. 2 รายงานวจัย ิ รูปแบบการสร้างนักธุรกจน้อยมีคุณธรรม ิ สร้างทรัพย์สินทางปัญญาสู่ เศรษฐกจสร้างสรรค์ ในโรงเรียนนําร่อง ิ โรงเรียน ชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี ชื่อ-สกุล ผู้วิจัย 1. นางรัชดาพรรณ์ วัชพัฒน์ 2. นายสมชาย ครึกครื้น โรงเรียน ชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี สํ านักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 ้ ่ ที่ปรึกษา นางสาววันเพ็ญ สุ จิปุตโต สํ านักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา นายปราโมทย์ ธรรมรัตน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในโครงการวิจัย รูปแบบการสร้างนักธุรกจน้อยมคุณธรรม ิ ี สร้ างทรัพย์ สินทางปัญญาสู่ เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ภายใต้โครงการ นักธุรกจน้อย มคุณธรรม นําส่ ู เศรษฐกจสร้างสรรค์ ิ ี ิ สํานักพฒนานวตกรรมการจดการศึกษา ั ั ั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ ันพนฐาน ื้ หน่ วยงานทีปรึกษา : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ่
  • 3. 3 บทคัดย่ อ โครงการวิจยรู ปแบบการสร้างนัก ธุ รกิ จน้อ ยมี คุณธรรม สร้างทรัพย์สิ นทางปั ญญาสู่ เศรษฐกิ จ ั สร้างสรรค์ มีวตถุประสงค์ดงนี้ 1. เพือพัฒนาครู และนักเรี ยน ให้มีความรู ้ ความเข้าใจและสามารถจัดการ ั ั ่ เรี ยนรู ้ให้นักเรี ยนมีคุณลักษณะเป็ นนักธุรกิจน้อยที่มีคุณธรรม มีแรงบันดาลใจสู่ ความสําเร็ จ มีทกษะและ ั ประสบการณ์ ในการพัฒนาตนเองสู่ ความสําเร็ จในชี วิต และสร้างสรรค์สังคม 2. เพื่ อ พัฒ นาครู และ นั ก เรี ย น ให้ มี ค วามรู ้ ความเข้า ใจและสามารถจัด การเรี ย นรู ้ ใ ห้ นั ก เรี ย นมี ประสบการณ์ ด้านอาชีพ รู ้จกการค้าขาย รู ้จกการบริ หารงาน การบริ หารจัดการธุ รกิจ 3. เพื่อ พัฒนาครู และนักเรี ยนให้มีความรู ้ ั ั ความเข้าใจและสามารถจัดการเรี ยนรู ้ให้นักเรี ยนมี ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และการคิด ประดิษฐ์ สามารถต่อยอดยกระดับผลงาน ชิ้นงานด้านอาชีพ ของนักเรี ยนให้หลากหลายและคุณภาพสู งขึ้น และหรื อสามารถสร้างสรรค์ผลงานที่เป็ นทรัพย์สินทางปั ญญาได้ 4. เพื่อ พัฒ นาครู และนัก เรี ย นให้มี ความรู ้ ความเข้า ใจเรื่ อ งทรัพ ย์สิ น ทางปั ญ ญา มี ค วามตระหนัก ในทรัพย์สินทางปั ญญา มี ประสบการบริ หารจัดการทรัพย์สินทางปั ญญาเบื้องต้น สามารถนําทรัพย์สินทางปั ญญาของโรงเรี ยน ไปจด แจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์และหรื อยืนจดสิทธิบตรหรื ออนุสิทธิบตรผลงานการประดิษฐ์ของนักเรี ยนได้ ่ ั ั ประชากรที่ทาการศึกษา เป็ นผูบริ หาร คณะครู และผูแทนนักเรี ยน จํานวน 70 คน ของโรงเรี ยน ํ ้ ้ ชะอําคุณหญิงเนื่องบุรี จังหวัดเพชรบุรี สังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 วิธีการดําเนินการวิจยรู ปแบบการพัฒนาครู และนักเรี ยนด้วยกิจกรรมในหลักสู ตร 3 หลักสู ตร คือ ั 1. การพัฒนาชีวิตสู่ ความสําเร็ จ 2. การสร้างประสบการณ์ ทางธุรกิจ 3. การคิดสร้างสรรค์ทรัพย์สินทาง ปั ญญา แบบบันทึกการปฏิบติกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบติการและแบบบันทึกการเรี ยนรู ้ หลังจากการ ั ั ประชุมเชิงปฏิบติการ ั ผลการวิจย มีดงนี้ ั ั ครู และนักเรี ยน ได้เรี ยนรู ้และ ได้ประโยชน์ ดังนี้ นัก เรี ยน มี ความรู ้ค วามเข้า ใจเกี่ ย วกับ คุ ณลัก ษณะที่ ดี ในการเป็ นนักธุ ร กิ จ วิธี พฒ นาตนเองสู่ ั ความสําเร็จ รู ้จกการวางเป้ าหมายในชีวตเพือที่จะประสบความสําเร็จและคิดค้นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ทําให้รู้ว่า ั ิ ่ ความฝันของแต่ละคนมีค่าเท่ากัน แล้วแต่ว่าเราจะทําฝันให้เป็ นจริ งหรื อไม่ ทําให้เรามีความคิดเห็นที่ต่าง จากเดิมขึ้นมาเยอะ ได้แรงบันดาลใจ มีประสบการณ์ดานอาชีพ รู ้จกการค้าขาย รู ้ถึงการบริ หารงาน การ ้ ั บริ หารจัดการธุรกิจ การคิดประดิษฐ์ และทรัพย์สินทางปั ญญา และการที่ได้เห็นสิ่ งที่คนอื่นฝันว่าอะไร ทํา ่ ให้รู้วาที่แท้จริ งแล้ว เราไม่ได้ฝันไกลเกินไปแต่อย่างใด
  • 4. 4 ครู ได้ฝึกการคิดเชิงบวก เป็ นนายตัวเอง รู ้จกคิดให้ไกลและไปให้ถึงฝันให้ได้ สามารถนําไป ั ประยุกต์ใช้ในอนาคตและสามารถนําไปบอกต่อกับครอบครัวให้ไปพัฒนาต่อยอดได้ และได้รับประโยชน์ มาก เพราะได้รู้จกคําว่า นักธุรกิจน้อย มีคุณธรรม นําสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ซึ่งแปลว่า สร้างนักเรี ยนให้เป็ น ั คนดี ที่ประสบความสําเร็จอย่างสูงและสร้างชาติ ครู นักเรี ยน มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางสร้างสรรค์ นักเรี ยนมีการปรับปรุ งตนเองดีข้ ึ น ครู มีความรู ้ความสามารถที่จะสอนนักเรี ยนให้เป็ นคนดี มีคุณธรรม รู ้จกพัฒนาตนเอง รู ้จกค้าขาย รู ้จกทําธุรกิจ ั ั ั เป็ นนักธุรกิจน้อยที่ดี ประสบความสําเร็จในการเรี ยน การงาน และโอกาสทางอาชีพในอนาคต มีศกยภาพ ั เติบโตเป็ นนักธุรกิจที่ประสบความสําเร็จในชีวต มีการปลูกฝังคุณธรรมและจริ ยธรรมในการทําธุรกิจ เพื่อ ิ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพที่ดีต่อไปในอนาคต ครู นักเรี ยน ได้มีประสบการณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาความสามารถในการสร้างสรรค์ และด้า นการประดิ ษ ฐ์ และได้มี ป ระสบการณ์ แ ละการพัฒ นาขี ด ความสามารถด้า นการงานอาชี พ มีประสบการณ์การบริ หารจัดการการค้าขาย การจัดจําหน่าย ครู นักเรี ยน ได้มีประสบการณ์ ด้านทรัพย์สินทางปั ญญา มี ความรู ้ความเข้าใจในทรัพย์สินทาง ปั ญญา ตระหนักในทรัพย์สินทางปั ญญา สามารถสร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปั ญญา ทั้งงานลิขสิ ทธิ์ และอนุ สิทธิบตร ั
  • 5. 5 กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจยรู ปแบบการสร้างนักธุ รกิ จน้อ ยมี คุณธรรม สร้างทรัพย์สินทางปั ญญาสู่ เศรษฐกิ จ ั สร้างสรรค์ ภายใต้ โครงการนักธุรกิจน้อยมีคุณธรรม นําสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของโรงเรี ยนชะอําคุณหญิง เนื่องบุรี ประสบผลสําเร็จได้ดวยดี เนื่องจากได้รับความร่ วมมือจากทุกฝ่ ายทั้งระดับหน่วยงานต้นสังกัดและ ้ คณะบุคคล คณะผูวจย ขอขอบพระคุณท่านผูอานวยการสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ท่านรอง ้ิั ้ํ ผูอ ํานวยการสํา นัก พัฒนานวัต กรรมการจัด การศึก ษา สํา นักงานคณะกรรมการการศึ กษาขั้น พื้นฐาน ้ ท่านผูอานวยการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10 ศึกษานิ เทศก์ประจําโรงเรี ยน และขอขอบคุ ณ ้ ํ ผูบริ หาร คณะครู แกนนํา และผูแทนนักเรี ยน ของโรงเรี ยนชะอําคุณหญิงเนื่ อ งบุรี ที่ ให้ความร่ วมมือเป็ น ้ ้ อย่างดี ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ปราโมทย์ ธรรมรัตน์ อาจารย์มาลี โตสกุล ผูเ้ ชี่ยวชาญสมคิด รื่ น ภาควุฒิ และคณะ จากสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ได้ให้องค์ ความรู ้ ประสบการณ์ดานการพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ ด้านการพัฒนาความรู ้ ความสามารถเกี่ยวกับ ้ ิ ธุรกิจ การค้าขาย การตลาด และด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ คิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และทรัพย์สินทาง ปั ญญา ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็ นประโยชน์ในชีวตประจําวันและชีวตในอนาคตของครู และนักเรี ยนได้อย่างดียง ิ ิ ิ่ ขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูง คณะผูวจย ้ิั มีนาคม 2555
  • 6. 6 สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง บทที่ 1 บทนํา 1 ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา 1 วัตถุประสงค์ของการวิจย ั 2 ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจย ั 2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั 3 บทที่ 3 วิธีการดําเนินวิจย ั 12 ประชากรที่ศึกษา 12 วิธีการดําเนินการวิจย ั 12 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล ้ 14 บทที่ 5 สรุ ป อภิปราย และข้อเสนอแนะ 17 เอกสารอ้างอิง 18 ภาคผนวก 20
  • 7. 7 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา ในการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (2552 – 2561) ประเด็นสําคัญหนึ่ งของระบบการศึกษา และเรี ยนรู ้ที่ตอ งปฏิรูปอย่างเร่ งด่ วน คือ การพัฒนาคุ ณภาพคนไทยยุคใหม่ ให้มีนิสัยใฝ่ เรี ยนรู ้ ตั้งแต่ ้ ปฐมวัยสามารถเรี ยนรู ้ด้วยตนเองและแสวงหาความรู ้อ ย่างต่อ เนื่ อ งตลอดชี วิต มี ความสามารถในการ สื่ อสาร สามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย มีศีลธรรม คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม มีจิตสํานึกและภูมิใจในความเป็ นไทย คํานึ งถึงประโยชน์ส่วนรวม มีทกษะ ั ความรู ้พ้นฐานที่จาเป็ น มีสมรรถนะ ความรู ้ ความสามารถ สามารถทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ โดย ื ํ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ให้ความสําคัญกับเรื่ องดังกล่าวและถือเป็ นภารกิจของ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐานโดยจัดให้มีโครงการรองรับมากมายดังเช่นโครงการปลูกฝัง ้ คุณธรรม โครงการหารายได้ระหว่างเรี ยน เพื่อฝึ กให้นักเรี ยนอดทน พากเพียร พึ่งตนเอง อีกทั้งยังเปิ ดสายอาชี พ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพือส่งเสริ มให้นกเรี ยนที่ไม่มีโอกาสศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาสามารถ ่ ั นําทักษะความรู ้พ้นฐานด้านอาชีพไปประกอบอาชีพหาเลี้ยงตนเองได้ และในงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ื ระดับชาติของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐานทุกปี ได้เปิ ดเวทีแสดงศักยภาพทางวิชาชีพของ ้ นักเรี ยนอย่างต่อเนื่องโดยมอบหมายให้สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาดําเนิ นการ ในการดังกล่าว ํ สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาพิจารณาเห็นว่ากิจกรรมสําคัญที่ควรดําเนิ นการเพื่อสนองนโยบาย ข้างต้นคือการส่ งเสริ มให้นักเรี ยนผลิตผลงานอย่างสร้างสรรค์และมีคุณภาพ โดยปลู กฝั งคุ ณธรรมและ จริ ยธรรมให้นักเรี ยนควบคู่กนเพื่อ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพหรื อการทําธุ รกิจที่ดีต่อไปในอนาคต ั เพื่อส่ งเสริ มความสําเร็ จในชี วิตของนักเรี ยน ทั้งยังเกิดประโยชน์แก่ผูบริ โภค สิ่ งแวดล้อมและส่ งผลให้ ้ สังคมพัฒนาความอยูดีกินดีและมีความสงบสุ ข เพราะหากการประกอบอาชีพใดขาดคุณธรรมจริ ยธรรม ่ แล้ว แม้ว่าธุรกิ จจะประสบความสําเร็ จแต่คงไม่สามารถประสบความสําเร็ จในระยะยาวได้ โดยใช้ชื่อ โครงการว่า “นักธุรกิจน้อย มีคุณธรรม นําสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์” โดยใช้กระบวนการพัฒนาครู เพื่อลงสู่ นักเรี ยนในการจัดการเรี ยนการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โครงงานอาชีพและ ชุมนุมส่งเสริ มอาชีพต่าง ๆ การพัฒนานักธุ รกิจน้อ ยให้มีคุณธรรม นําสู่ เศรษฐกิ จสร้างสรรค์ ต้อ งให้นักเรี ยนได้รู้จกพัฒนา ั ตนเองสู่ ความสําเร็ จในชีวิต มี แรงบันดาลใจ มีการโปรแกรมสมองปลู กฝั งความดี มีเป้ าหมายชี วิต และ เป้ าหมายด้านการงานอาชี พและการทํางาน รู ้จกบริ หารตนเอง รู ้จกบริ หารงาน บริ หารคน บริ หารธุรกิ จ ั ั มีประสบการณ์ทางธุรกิจ โดยเริ่ มจากผลิตและค้าขาย ผลงาน ผลิตภัณฑ์จากมันสมองของนักเรี ยน
  • 8. 8 ด้วยเหตุน้ ีทางสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานได้คดเลือกโรงเรี ยนชะอําคุณหญิงเนื่ องบุรี เป็ นโรงเรี ยนนําร่ องในการพัฒนานักเรี ยนให้มีขีด ั ความสามารถใน การสร้างสรรค์งานอันมีลิขสิทธิ์ และความสามารถในการคิดประดิษฐ์ สร้างทรัพย์สิน ทางปั ญญา สู่ การใช้ประโยชน์เชิงพาณิ ชย์ และเป็ นโรงเรี ยนต้นแบบกระบวนการจัดการศึกษาที่ประสบ ความสําเร็จเพือขยายผลสู่โรงเรี ยนต่างๆ ต่อไป ่ 1.1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อ พัฒ นาครู และนัก เรี ย น ให้มี ค วามรู ้ ความเข้า ใจและสามารถจัด การเรี ย นรู ้ ใ ห้นัก เรี ย นมี คุณลักษณะเป็ นนักธุรกิจน้อยที่มีคุณธรรม มีแรงบันดาลใจสู่ความสําเร็ จ มีทกษะและประสบการณ์ใน ั การพัฒนาตนเองสู่ความสําเร็จในชีวต และสร้างสรรค์สงคม ิ ั 2) เพื่ อ พัฒ นาครู และนั ก เรี ย น ให้ มี ค วามรู ้ ความเข้า ใจและสามารถจัด การเรี ย นรู ้ ใ ห้ นั ก เรี ย น มี ประสบการณ์ ด้านอาชีพ รู ้จกการค้าขาย รู ้จกการบริ หารงาน การบริ หารจัดการธุรกิจ ั ั 3) เพื่ อ พัฒ นาครู และนั ก เรี ย นให้มี ค วามรู ้ ความเข้า ใจและสามารถจัด การเรี ย นรู ้ ใ ห้ นัก เรี ย นมี ความสามารถในการสร้ างสรรค์ผ ลิ ต ภัณ ฑ์และการคิด ประดิ ษ ฐ์ สามารถต่ อ ยอดยกระดับผลงาน ชิ้นงานด้านอาชีพ ของนักเรี ยนให้หลากหลายและคุณภาพสูงขึ้น และหรื อสามารถสร้างสรรค์ผลงานที่ เป็ นทรัพย์สินทางปั ญญาได้ 4) เพื่อ พัฒนาครู และนักเรี ยนให้มีความรู ้ ความเข้าใจเรื่ อ งทรัพย์สิ น ทางปั ญ ญา มี ค วามตระหนัก ในทรัพย์สินทางปั ญญา มีประสบการบริ หารจัดการทรัพย์สินทางปั ญญาเบื้องต้น สามารถนําทรัพย์สิน ทางปั ญญาของโรงเรี ยน ไปจดแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์และหรื อยืนจดสิ ทธิบตรหรื ออนุ สิทธิบตรผลงานการ ่ ั ั ประดิษฐ์ของนักเรี ยนได้ 1.2 ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการวิจัย 1) ครู นักเรี ยน มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางสร้างสรรค์ นักเรี ยนมีการปรับปรุ งตนเองดีข้ ึ น ครู มี ความรู ้ความสามารถที่จะสอนนักเรี ยนให้เป็ นคนดี มีคุณธรรม รู ้จกพัฒนาตนเอง รู ้จกค้าขาย รู ้จกทํา ั ั ั ธุรกิจ เป็ นนักธุรกิจน้อยที่ดี ประสบความสําเร็จในการเรี ยน การงาน และโอกาสทางอาชีพในอนาคต มี ศักยภาพเติบโตเป็ นนักธุรกิจที่ประสบความสําเร็จในชีวต ิ 2) ครู นักเรี ยน ได้มีประสบการณ์การพัฒนาตนเอง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาความสามารถใน การสร้างสรรค์ และด้า นการประดิ ษ ฐ์ และได้มี ป ระสบการณ์ แ ละการพัฒ นาขี ด ความสามารถ ด้า นการงานอาชี พ มีประสบการณ์การบริ หารจัดการการค้าขาย การจัดจําหน่าย
  • 9. 9 3) ครู นักเรี ยน ได้มีประสบการณ์ดานทรัพย์สินทางปั ญญา มีความรู ้ความเข้าใจในทรัพย์สินทางปั ญญา ้ ตระหนัก ในทรั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญา สามารถสร้ า งสรรค์ท รั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญา ทั้ง งานลิ ข สิ ท ธิ์ และ สิทธิบตร/อนุสิทธิบตร ั ั
  • 10. 10 บทที่ 2 เอกสารและงานวจยทเี่ กยวข้อง ิ ั ี่ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา ํ ใน ข้อ 1 ซึ่งเป็ นข้อที่มีความสําคัญมากที่สุด ไว้ดงนี้ ั “ข้ อ 1. การจัดการศึกษาต้ องเป็ นไปเพือพัฒนาคนไทยให้ เป็ นมนุษย์ ทสมบูรณ์ ่ ี่ ทั้งร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริ ยธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่ างมีความสุ ข” เมื่ อ กลับมาวิเ คราะห์ หลักสู ต รการจัดการเรี ยนการสอนในทุกระดับ ตั้ง แต่ระดับการศึ กษาขั้น พืนฐาน ระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา ส่วนใหญ่เน้นการให้ความรู ้แก่ผเู ้ รี ยนเป็ นหลัก ้ เนื้อหาหลักสูตรรายวิชา ที่จะพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์สมบูรณ์ดานจิตใจ คุณธรรม จริ ยธรรมใน ้ การดํารงชีวต สามารถอยูร่วมกับผูอื่นได้อย่างมีความสุ ข มีอยูในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ิ ่ ้ ่ แต่ ย ง ไม่ ส ามารถสร้ างคนอี กจํา นวนมากให้เ ป็ นดี มี คุ ณ ธรรม มี ภู มิ ต ้านทานต่อ สิ่ ง ไม่ ดี ท้ ัง หลายได้ดี ั เท่าที่ควร ที่สาคัญคือ ยังขาดกระบวนการที่ดี ที่จะทําให้ผเู ้ รี ยนได้รู้จกพัฒนาชีวิตตนเองสู่ ความสําเร็ จในชีวิต ํ ั หลักสูตรการจัดการเรี ยนการสอนไม่เข้มข้นเพียงพอทําให้ผเู ้ รี ยน เกิดพลังใจที่เข้มแข็งเพียงพอที่จะต่อต้าน กับความขี้เกียจ สิ่งยัวยุ และอบายมุขต่างๆ ที่ถาโถมเข้ามาอย่างรุ นแรง ผูเ้ รี ยนจึงมีความเสี่ยงสู ง ที่จะดําเนิ น ่ ชีวิตผลิ ตพลาด และไม่มีการตั้งเป้ าหมายชี วิต ทําให้เยาวชนและผูคนส่ วนใหญ่ ใช้ชีวิตไปวันๆ โดยไร้ ้ จุดหมาย และถูกสื่ อโฆษณาทางการค้าชักจูงชวนเชื่อได้ง่าย ทําให้สังคมไม่เข้มแข็ง ทําให้หลายๆรัฐบาล พยายามปฏิรูปการศึกษา แต่ยงไม่ประสบความสําเร็จเท่าที่ควร ั กระบวนการพัฒ นาชี วิตสู่ ความสํา เร็ จ เป็ นทางออกสํา คัญ ในการวางรากฐานการพัฒนาคน วางรากฐานพัฒนาเยาวชนสู่ ความสําเร็ จในชีวิตโดยผนวกเข้าไปในการจัดการเรี ยนการสอนในโรงเรี ยน และเป็ นการวางรากฐานการพัฒนาสังคมเมื่อ นํามาประยุกต์ใช้ก ับชุมชน และมีศกยภาพขยายผลสู่ สังคม ั ผ่านสื่อสร้างสรรค์ที่กระตุนให้คนไทย เกิดความมุ่งมันพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ และวางแผนดําเนินชีวตที่ดี ้ ่ ิ ิ (ร่ าง) ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ของสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ฉบับ ่ เดือนพฤษภาคม 2552 ได้สรุ ปปั ญหาการปฏิรูปการศึกษาที่ผานมา ว่าสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ ดําเนินการติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาตั้งแต่ปี 2542 เป็ นต้นมา พบปั ญหาที่ตองเร่ งปรับปรุ ง ้ แก้ไข พัฒนา และสานต่อ สรุ ป ในด้านการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน/สถานศึกษา พบปั ญหาสําคัญได้แก่ มี
  • 11. 11 สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ยงไม่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ประเมินของ สมศ. ถึงร้อยละ 25 ในร่ างดังกล่าวได้ ั ่ ระบุวา อาจพิจารณาปั ญหาสําคัญของระบบการศึกษาและเรี ยนรู ้ที่ตองปฏิรูปอย่างเร่ งด่วนได้สามประการ ้ หลักด้วยกัน ดังนี้ 1. การพัฒ นาคนไทยยุค ใหม่ ที่มีนิสัย ใฝ่ เรี ยนรู ้ ตั้งแต่ป ฐมวัย สามารถเรี ยนรู ้ด้ว ยตนเองและ แสวงหาความรู ้อย่างต่อเนื่ องตลอดชี วิต มีความสามารถในการสื่ อสาร สามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริ เริ่ มอย่างสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คํานึ งถึงประโยชน์ส่วนรวม สามารถทํา งานเป็ นกลุ่ ม ได้อ ย่า งกัล ยาณมิ ต ร มี ศี ล ธรรม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ค่ า นิ ย ม มี จิตสํานึกและความภูมิใจในความเป็ นไทย และสามารถก้าวทันโลก เป็ นกําลังคนที่มีคุณภาพ มี ทักษะความรู ้พ้ืนฐานที่จาเป็ น มีสมรรถนะ ความรู ้ความสามารถ สามารถทํางานได้อ ย่างมี ํ ประสิทธิภาพ รวมทั้งมีโอกาสเรี ยนรู ้อย่างเท่าเทียมและเสมอภาคฯ 2. พัฒนาครู ยคใหม่ ที่เป็ นผูเ้ อื้ออํานวยให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ฯ ุ 3. พัฒนาการบริ หารจัดการใหม่ ที่มุ่งเน้นการกระจายอํานาจสู่ สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งการมีส่วนร่ วมของเอกชนและทุกภาคส่วน จะเห็นได้ว่า ในการพัฒนาคนไทยยุคใหม่ เราต้องการคนไทยยุคใหม่ที่ ที่มีนิสัยใฝ่ เรี ยนรู ้ ตั้งแต่ ปฐมวัย สามารถเรี ย นรู ้ด้ว ยตนเองและแสวงหาความรู ้ อ ย่า งต่อ เนื่ อ งตลอดชี วิต มี ศี ล ธรรม คุ ณธรรม จริ ยธรรม ซึ่ งคุณสมบัติเหล่านี้ จะเกิดขึ้นในตัวผูเ้ รี ยนได้ ผูเ้ รี ยนจะต้องรู ้จกพัฒนาตนเองสู่ ความสําเร็ จใน ั ชีวต การเรี ยนการสอนวิชาการ 8 กลุ่มสาระที่จดการเรี ยนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานปั จจุบน ไม่ ิ ั ั เพียงพอที่จะสร้างคุ ณลักษณะคนไทยยุคใหม่ ตามที่ตองการได้ เราจําเป็ นต้อ งให้คนไทยได้รู้จกพัฒนา ้ ั ตนเองสู่ความสําเร็จในชีวติ ปราโมช สีหรักษ์ (2552) ได้ศึกษาวิจยเรื่ อง การจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม เพื่อ ั พัฒนาทักษะ โดยมีวตถุ ประสงค์คือ เพื่อ พัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้เชิ งประสบการณ์ โดยใช้กิจกรรม เพื่อ ั พัฒ นาทัก ษะกระบวนการทํา งานเป็ นที ม และผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นของนัก เรี ย น และเพื่ อ ศึ ก ษา ประสิ ทธิผลของการจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้กิ จกรรม โดยข้อมู ลที่ผศึกษาเก็บรวบรวมมี 2 ู้ ส่วน ส่วนแรก คือ ข้อมูลเชิงปริ มาณประกอบด้วย 1) แบบประเมินทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมโดย นักเรี ยนประเมิ น ตนเอง 2) แบบประเมิ น ทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีม ของแต่ล ะทีมประเมิ นโดย สมาชิกทีม 3) แบบประเมินทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมของแต่ละทีมประเมินโดยผูศึกษา 4) แบบ ้ ประเนินคุณภาพผลงานประเมินโดยทีมตนเอง ประเมินทีมอื่น และผูศึกษา ส่ วนที่ 2 เป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพ ้ ซึ่งได้มาจากข้อมูลการเขียนตอบคําถามในกิจกรรมการเรี ยนการสอน และข้อมูลจากบันทึกการเรี ยนรู ้ การ เก็บข้อมูลด้านทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมจะเก็บข้อมูลเป็ น 4 ระยะของการทดลอง การเก็บข้อมูลใน แต่ละระยะจะเก็บข้อมูลทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมหลังจากจบการเรี ยนการสอนในหน่ วยการเรี ยนรู ้
  • 12. 12 จากกิจกรรมลูกโป่ ง วัสดุอุปกรณ์งานไม้ไผ่ ถาดไม้ไผ่ และเก้าอี้ไม้ไผ่ตามลําดับ และการเก็บข้อมูลจากการ ประเมินคุณภาพผลงานจากการทําถาดไม้ไผ่ และเก้าอี้ไม้ไผ่ ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพจะเก็บในทุกหน่ วยการ เรี ยนรู ้ ผูศึกษานําข้อมูลมาวิเคราะห์ดวยโปรแกรม SPSS for Windows Version 11 และนําข้อมูลเชิง ้ ้ คุณภาพมาวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์น้ี ผูศึกษานําไปประเมินประสิทธิผลของการ ้ เรี ยนการสอน โดยแบ่งเป็ น 2 ตอน คือ 1) ผลการทดลองใช้ก ารจัดการเรี ยนรู ้เชิ งประสบการณ์ โดยใช้ กิจกรรม และ 2) ผลการประเมินประสิทธิผลของการจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม ผลสรุ ปจากการวิจยมีดงนี้ 1.การจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะ ั ั กระบวนการทํางานเป็ นทีม และผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนที่พฒนาขึ้น ประกอบด้วยการดําเนิ นการ 2 ส่ วน ั คือ ส่วนที่ 1 เป็ นการเตรี ยมการและวางแผนการสอนของครู โดยเตรี ยมเนื้ อหา ทักษะกระบวนการ และการ จัดทีมนักเรี ยน ส่ วนที่ 2 เป็ นขั้นตอนการจัดการเรี ยนการสอน ประกอบด้วย 3 ขั้นหลัก คือ 1) ขั้นกําหนด แนวทางการเรี ยนรู ้ 2) ขั้นดําเนิ นการเรี ยนรู ้ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ และสรุ ปบทเรี ยน และ 3) การประเมินผล การเรี ยนรู ้ ทั้งนี้ครู มีบทบาทเป็ นผูอานวยความสะดวกในการเรี ยนรู ้ การทํางาน และฝึ กทักษะการบวนการ ้ํ ทํางานเป็ นทีมให้แก่นักเรี ยน 2.จากการตรวจสอบประสิ ทธิผลของจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้ กิจกรรมดังกล่าวด้วยการทดลองใช้ ปรากฏว่านักเรี ยนที่เรี ยนด้วยการจัดการเรี ยนรู ้เชิ งประสบการณ์โดยใช้ กิจกรรมมีทกษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมสู งขึ้ นและมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสู งกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ั อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงสรุ ปได้วาการจัดการเรี ยนรู ้เชิงประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม ั ่ ดังกล่าวนี้ สามารถนําไปใช้เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทํางานเป็ นทีมและผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของ นักเรี ยนได้ จารุ วรรณ ฤทธิเพชร (2552) ได้ศึกษาวิจยเรื่ อง กระบวนการและปั จจัยสําคัญแห่ งความสําเร็ จของ ั การจัดการความรู ้ของโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐานในกรุ งเทพมหานครและ ้ ปริ มณฑล:การศึกษาเชิงคุณภาพและเชิงปริ มาณ โดยมีวตถุประสงค์ในการวิจย คือ เพื่อศึกษากระบวนการ ั ั จัดการความรู ้ของโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในกรุ งเทพมหานครและ ปริ มณฑล และเพือศึกษาปั จจัยสําคัญแห่ งความสําเร็ จของการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยนสังกัดสํานักงาน ่ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล ทําการเก็บรวบรวมข้อ มูล เชิ ง คุณภาพและเชิงปริ มาณ นํามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติภาคบรรยาย เพื่ออธิบายลักษณะของกลุ่มตัวอย่างและ ลักษณะของตัวแปรที่ใช้ในการวิจย โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS การวิเคราะห์ค วามสัมพัน ธ์ ั ระหว่างตัวแปร โดยการวิเคราะห์ค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (pearson’s product-moment correlation coefficient) เพื่อใช้เป็ นข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์โมเดลปั จจัยสําคัญแห่ งความสําเร็ จของ การจัดการความรู ้ของโรงเรี ยน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS for Window และการวิเคราะห์ปัจจัย สําคัญแห่งความสําเร็จของการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยนด้วยโปรแกรมลิสเรล
  • 13. 13 ผลสรุ ปจากการวิจยมีดงนี้ 1. กระบวนการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยน มี 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ ั ั 1 การกําหนดเป้ าหมายสิ่ งที่ตองเรี ยนรู ้ มี 4 ขั้นตอนย่อ ย คือ 1) โรงเรี ยนจัดประชุมผูบริ หารและหัวหน้า ้ ้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้เพือวางแผนงานการทํางาน 2) โรงเรี ยนจัดประชุมครู ท้งโรงเรี ยนเพื่อกําหนดวิสัยทัศน์ ่ ั การจัดการความรู ้ของโรงเรี ยนร่ วมกัน 3) กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้จดประชุมเพื่อกําหนดวิสัยทัศน์การจัดการ ั ความรู ้ของ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับวิสยทัศน์การจัดการความรู ้ของโรงเรี ยน 4) กลุ่มสาระการ ั เรี ยนรู ้นาเสนอโครงการและแนวทางในการนําการจัดการความรู ้ไปพัฒนาการเรี ยนการสอน ขั้นตอนที่ 2 ํ การแสวงหาความรู ้ มี 3 ขั้นตอนย่อย คือ 1) โรงเรี ยนสนับสนุ นให้ครู มีการแสวงหาความรู ้ 2) โรงเรี ยน จัดเตรี ยมเทคโนโลยีและแหล่ งความรู ้สาหรับการแสวงหาความรู ้ 3) ครู มีการแสวงหาความรู ้จากแหล่ ง ํ ความรู ้ต่างๆ อย่างอิสระ ขั้นตอนที่ 3 การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ มี 3 ขั้นตอนย่อย คือ 1) โรงเรี ยนสนับสนุ นให้ ครู มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ 2) โรงเรี ยนจัดเตรี ยมเทคโนโลยีและสถานที่สาหรับการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ 3) ํ ครู มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้อย่างเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ ขั้นตอนที่ 4 การสร้างความรู ้ มี 4 ขั้นตอน ย่อย คือ 1) โรงเรี ยนสนับสนุ นให้ครู สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน 2) ครู นาความรู ้จากํ ประสบการณ์เดิมผนวกกับความรู ้ใหม่เพือสร้างนวัตกรรม 3) ครู นานวัตกรรมไปทดลองใช้ในการจัดการ ่ ํ เรี ยนการสอน 4) ครู พฒนานวัตกรรมให้มีความสมบูรณ์ ขั้นตอนที่ 5 การจัดเก็บความรู ้ มี 5 ขั้นตอนย่อย ั คือ 1) โรงเรี ยนสนับสนุ นให้ครู จดเก็บความรู ้ในรู ปแบบของบล็อก 2) โรงเรี ยนจัดการประชุมปฏิบติการ ั ั เพือให้ความรู ้เกี่ยวกับการจัดเก็บความรู ้ในรู ปของบล็อกแก่ครู ในโรงเรี ยน 3) โรงเรี ยนจัดเตรี ยมเทคโนโลยี ่ และสถานที่สาหรับการจัดเก็บความรู ้ 4) ครู นาความรู ้ไปจัดเก็บในรู ปแบบต่างๆ 5) โรงเรี ยนมีการติดตาม ํ ํ และประเมิ นผลการจัดเก็บความรู ้ ขั้นตอนที่ 6 การใช้ป ระโยชน์จ ากความรู ้ มี 4 ขั้นตอนย่อ ย คื อ 1) โรงเรี ย นสนับ สนุ น ให้ค รู ใ ช้ป ระโยชน์ จ ากความรู ้ ใ นการจัดการเรี ย นการสอน 2) ครู นํา ความรู ้ แ ละ นวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอน 3) ครู ปรับปรุ งความรู ้และนวัตกรรมอยู่ เสมอ 4) ครู นาความรู ้และนวัตกรรมไปเผยแพร่ /แลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้/จัดเก็บ นอกจากนี้ ปั จจัยสําคัญแห่ ง ํ ความสําเร็จของการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยน ได้แก่ การสนับสนุนของผูบริ หาร ความเข้มแข็งของทีมงาน ้ การจัดการความรู ้ การมี สิ่งกระตุนเพื่อสร้างแรงจูงใจ การช่วยเหลือของหน่ วยงานภายนอก การวางแผน ้ งานและกิจกรรมการจัดการความรู ้ การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ โรงเรี ยนมีบรรยากาศและสถานที่เอื้ อ ต่อ การ จัดการความรู ้ และมีงบประมาณที่เพียงพอ 2. โมเดลเชิงสาเหตุของความสําเร็ จของการจัดการความรู ้ของ โรงเรี ย นสังกัด สํา นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้น ฐานในกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑลโดย ภาพรวมมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2=26.32, df=65, p = 1.00, GFI = 0.99, AGFI = 0.97) โดยตัวแปรวัฒนธรรมโรงเรี ยน และตัวแปรการติดตามและประเมินผลการจัดการความรู ้ของ โรงเรี ยนมี อิทธิพลรวมสู งสุ ดต่อการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยน ตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความ แปรปรวนของความสําเร็จของการจัดการความรู ้ของโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พืนฐานในกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑลได้ร้อยละ 88 ้
  • 14. 14 Ma, You-keung (2005) ได้ศึกษา ทัศนคติของนักเรี ยนเกี่ยวกับความสําเร็ จและความสัมพันธ์กบ ั การวางแผนอาชีพในโรงเรี ยน, Greg brigman และ Linda Webb 2007 ได้ศึกษาเรื่ อง ทักษะที่นักเรี ยน ประสบความสําเร็จ: ผลกระทบความสําเร็จผ่านกลุ่มทํางานขนาดใหญ่และขนาดเล็ก, Anne M. Liljenstrand and Delbert M. Nebeker 2008 ได้ศึกษาเรื่ อ ง การฝึ กบริ การ: การมองบริ การ ลู กค้า และการปฏิบติ , ั Margaret M. Hopkins, Deborah A. O’Neli, Angela Passarelli และ Diana Bilimoria 2008 ศึกษาเรื่ อง การ พัฒนากลยุทธ์การปฏิบติการเป็ นผูนาของผูหญิงสําหรับผูหญิงและองค์กร, Brad Harrington และ Jamie J. ั ้ ํ ้ ้ Ladge 2009 ศึกษาเรื่ อง พลวัตปั จจุบนและเส้นทางอนาคตสําหรับองค์กร, John J. Sosik, Veronica M. ั Godshalk และ Francis J. Yammarino 2004 ศึกษาเรื่ อง การเป็ นผูนาปฏิรูปการเรี ยนรู ้เป้ าหมายปฐมนิ เทศ ้ ํ และคาดหวังเพือความสําเร็จในอาชีพที่ปรึ กษาป้ องกันความสัมพันธ์: มีหลายระดับการวิเคราะห์ที่ได้ส่วน ่ สัด และมีหนังสือที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาตนเองสู่ความสําเร็ จในชีวิตจํานวนมาก ได้แก่ งานวิจยและ ั หนังสือซึ่งถอดแบบวิธีการกระบวนการประสบความสําเร็จในชีวต ของผูประสบความสําเร็ จในชีวิตระดับ ิ ้ โลกจํานวนมาก ผูอ่านจะได้รู้จกนําความสําเร็จของผูอื่นเป็ นบทเรี ยน ไม่ตองลองผิดลองถูก ไม่ตองล้มเหลว ้ ั ้ ้ ้ ในการดําเนิ นชี วิต หนังสื อเหล่ านี้ สามารถสร้างแรงบันดาลใจ สร้างพลังใจสู่ ความสําเร็ จได้ดีมากๆ ควร ถอดเข้าสู่บทเรี ยนในการจัดการศึกษา และเผยแพร่ สร้างแรงบันดาลใจแก่คนไทย ตัวอย่างเช่น สื่ อวีดีโอ ที่ สามารถเข้าถึ งได้ทาง www.yoytube.com โดยใช้คาสื บค้นว่า “สู่ ความสําเร็ จ” “ปลุกยักษ์” “คิดบวก” ํ “The power of change” เป็ นต้น ในด้านการปลูกฝังความคิดความเชื่อ หนังสื อ The Secret มีชื่อเสี ยงไปทัว ่ โลก เป็ นหลักจิตวิทยาที่ยอมรับกันแล้วทัวโลกว่าเราสามารถปลูกฝังความคิดความเชื่อแก่น โดยการพูดกับ ่ ตัวเองซํ้าๆ บ่ อ ยๆ เป็ นประจํา จนให้ผูคนคิดและเชื่ อ ว่า ตนเองเป็ นอย่างนั้นจริ ง ๆ ผูคนก็จ ะปฏิ บติ ตาม ้ ้ ั ความคิดความเชื่ อ นั้น แต่สิ่งเหล่ านี้ ยงไม่ เข้าสู่ หลักสู ตรการเรี ยนการสอนในโรงเรี ยนทัวไป ดังนั้นเรา ั ่ สามารถนํามาใช้หลักการนี้ ในการปลูกฝังความดี คุณธรรม จริ ยธรรม การพัฒนาคุณลักษณะนิ สัยที่ทาให้ ํ ชีวตประสบความสําเร็จได้ หากนํามาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน และใช้ในการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ ิ เอกชน และประชาชนทัวไป ่ เอกสารต่อไปนี้ (โดยหน่วยสร้างสํานึกและพัฒนาประโยชน์จากเอกสารสิ ทธิบตรเพื่อการวิจยและ ั ั พัฒนา สํานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจย ได้ร่วมกับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุ โลก เขต 1 และ ั หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง) ได้ถอดสาระสําคัญหลักการพัฒนาตนเอง การพัฒนาคนสู่ ความสําเร็ จในชีวิตจาก เอกสารงานวิ จ ัย และหนัง สื อ พัฒ นาตนเองต่ า งๆ ข้า งต้น ซึ่ งจัด ทํา เป็ นหลัก สู ต ร การพัฒ นาชี วิ ต สู่ ความสําเร็ จ เป็ นองค์ความรู ้พ ร้อ มใช้ที่ควรผลัดดันขับเคลื่ อ นการปรับ โครงสร้างเศรษฐกิ จและสังคม เอกสารพร้อมใช้ดงกล่าวได้แก่ ั
  • 15. 15 1. หลักสูตรท้องถิ่น รายวิชา การพัฒนาชีวตสู่ ความสําเร็ จ และคู่มือการจัดการเรี ยนรู ้ “การพัฒนา ิ ชีวิตสู่ ความสําเร็ จ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ฉบับทดลอง ซึ่ งสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พิษณุโลก เขต 1 ได้ประกาศใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน ซึ่งสามารถจัดสอนเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม หรื อในชัวโมงพัฒนาศักยภาพผูเ้ รี ยน หรื อสอดแทรกในรายวิชาอื่นๆ ่ 2. คําอธิบายรายวิชาการพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ ระดับชั้นประถมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษา ิ 3. ผลการเรี ยนรู ้และสาระการเรี ยนรู ้ การพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ ระดับชั้นประถมศึกษา ระดับชั้น ิ มัธยมศึกษา 4. คู่มือการจัดกิจกรรรมการเรี ยนรู ้ การพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ ระดับการศึกษาขั้นพืนฐาน ิ ้ 5. คู่มือ ครู การพัฒนาศักยภาพนักเรี ยน ด้วยศาสตร์ แห่ งความสําเร็ จ เปลี่ยนวิธีคิด เปลี่ยนชีวิตสู่ ความสําเร็ จ เป็ นองค์ความรู ้ เป็ นเอกสารพร้อมใช้ ที่ได้ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนา ชีวตนักเรี ยนสู่ความสําเร็จ ได้ประสบความสําเร็จในการพัฒนาชีวตนักเรี ยน ิ ิ กระบวนการ “การพัฒนาชี วิตสู่ ความสําเร็ จ” (ดังรายการเอกสารข้างต้น) มีแนวคิดหลักคือ มุ่ ง ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน เกิดแรงบันดาลใจ มีพลังในตนเอง สามารถพัฒนาชีวต ตามที่ตนคิด ตนชอบอย่างแท้จริ ง ิ มีการตั้งเป้ าหมายชีวต จัดทําแผนชีวต มุ่งมันปฏิบติตามแผนชีวิต สู่ ความสําเร็ จ ด้านการเรี ยน ด้านสุ ขภาพ ิ ิ ่ ั กายใจ ด้านครอบครัว ด้านการทํางานและอาชีพเป้ าหมาย ให้เป็ นคนดี คนเก่ง มีความสุ ข และสร้างสรรค์ สังคม สาระของการพัฒนาชีวตสู่ความสําเร็จ ประกอบด้วย 7 สาระ คือ ิ 1. คุณค่าและความสําเร็จในชีวต ิ 2. การสร้างแรงบันดาลใจสู่ความสําเร็จ 3. การกําหนดเป้ าหมายชีวตสู่ความสําเร็จ ิ 4. การจัดทําแผนชีวตสู่ความสําเร็จ ิ 5. การดําเนินตามแผนชีวตและพัฒนาแผนชีวตสู่ความสําเร็จอย่างมีความสุข ิ ิ 6. การสร้างลักษณะนิสยคุณลักษณะแห่งความสําเร็จอย่างยังยืน ั ่ 7. การสร้างทรัพย์สินทางปั ญญาสู่ความสําเร็จ จุ ด เน้น การจัด การเรี ย นรู ้ คื อ การสร้ า งแรงบัน ดาลใจ การจัด เหตุ ก ารณ์ แ วดล้อ ม การสร้ า ง สถานการณ์ แวดล้อ ม การสร้างสิ่ ง แวดล้อ ม ที่ทาให้ผูเ้ รี ยนคิ ดได้ ได้คิด เกิ ด การเปลี่ ยนแปลงความคิ ด ํ สามารถตั้งเป้ าหมายชีวิต และมุ่ งมั่นปฏิบติตนสู่ ความสําเร็ จในชี วิต โดยครู ผูสอน หรื อ วิทยากรพัฒนา ั ้ ตนเอง คอยกํากับดูแลให้ผเู ้ รี ยนปฏิบติตนตามแผนชีวตสู่ความสําเร็จตามความใฝ่ ฝัน คุณค่า ค่านิ ยมที่ดีงาม ั ิ
  • 16. 16 ของตนเอง และขณะเดียวกันก็สร้างนิ สัยที่ดี สร้างคุณลักษณะและคุณธรรมแห่ งความสําเร็ จ ให้เกิดขึ้นใน ตนเอง คุณลักษณะและคุณธรรมแห่งความสําเร็จ ประกอบด้วย กําหนดเป้ าหมายสําคัญที่แน่ นอน มีความ เชื่ อ มั่น ในตนเอง มี นิ สั ย ประหยัด อดออม มี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม และการเป็ นผู ้นํา มี จิ น ตนาการ มี ค วาม กระตือรื อร้น มีการควบคุมตนเอง ขยันขันแข็งอดทน มีบุคลิกภาพที่ดี มีความคิดถูกต้องเที่ยงตรงซื่ อสัตย์ มี จิตใจจดจ่อ มีความสามัคคี ให้ความล้มเหลวเป็ นบทเรี ยนและเรี ยนรู ้จากความสําเร็ จของผูอื่ น มี ความใจ ้ กว้างเอื้อเฟื้ อเผือแผ่ รักเพือนมนุษย์ ใช้กฎทองคําอยากให้เขาทําอะไรให้เราให้เราทําสิ่ งนั้นกับเขาก่อน ไม่มี ่ ่ พฤติกรรมเสี่ยงและลักษณะนิสยที่ไม่ดี ั จะเห็นได้ว่าองค์ความรู ้ในการพัฒนาคน การพัฒนาตนเอง มีอยูดงกล่าวข้างต้น แต่มกใช้ในการ ่ ั ั พัฒนาศักยภาพผูบริ หารระดับสู ง การพัฒนาบุคลากรของบริ ษทใหญ่ การพัฒนาพนักงานขายของบริ ษท ้ ั ั ขายตรงต่างๆ ระบบการจัด การศึ ก ษาของไทย และต่ างประเทศยัง ไม่ สอนให้ผูเ้ รี ยนได้รู้จ ัก พัฒนาตนเองสู่ ความสําเร็ จในชีวิต จึงต้องจัดทําโครงการศึกษาแนวทางการผลักดันและขับเคลื่อนการพัฒนาคนไทยยุค ใหม่สู่ความสําเร็จในชีวต การจัดทําแผน 11 และนโยบายอื่นๆ ของรัฐบาลในเรื่ องที่เกี่ยวกับการพัฒนาคน ิ เพือปฏิรูปการศึกษา การเรี ยนรู ้ตลอดชีวต ลดปั ญหาสังคม ส่งเสริ มการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ่ ิ ที่เข้มแข็งและยังยืน ่ การทําธุรกิจ การค้าขายและ การตลาด ธุรกิจ (Business) หมายถึงความพยายามของผูประกอบการที่จะผลิตหรื อซื้ อขายสิ นค้า (Products) ้ หรื อ บริ การ (Services) เพื่อ ตอบสนองความต้อ งการของสังคม (ลูกค้า) โดยหวังที่จะได้ผลกําไร และ ยอมรับความเสี่ ยงในการขาดทุนหรื อ ไม่ ได้ผลกําไรตามต้องการ โดยมีความรับผิดชอบต่อสังคม และมี จริ ยธรรมทางธุรกิจ ผูประกอบการจึงต้องทุ่มเทเวลา ความพยายามและเงินทุนเพื่อดําเนิ นธุรกิจให้ประสบ ้ ผลสําเร็จ ทั้งด้านประสิทธิผล (Effectiveness) และประสิทธิภาพ (Efficiency) อาจจะแบ่งธุรกิจออกเป็ น 3 ประเภท คือ (1) ธุรกิจการผลิต (Manufacturing Business) หมายถึง ธุรกิจที่มีวตถุประสงค์ในการแปรรู ป ั (Transforming) วัตถุดิบให้เป็ นสินค้า เช่น ธุรกิจการผลิตอาหาร ธุรกิจการทอผ้า ธุรกิจการผลิต รถยนต์ เหล่านี้เป็ นต้น (2) ธุ รกิ จบริ การ (Service Business) หมายถึ ง ธุ รกิ จที่มีวตถุประสงค์ในการให้บริ การลู กค้า เช่ น ั ธุรกิจการเงิน ธนาคาร ร้านค้า ศูนย์การค้า ธุรกิจการบิน ธุรกิจการท่องเที่ยว เหล่านี้เป็ นต้น
  • 17. 17 (3) ธุรกิจการค้า (Trading Business) หมายถึง ธุรกิจที่มีวตถุประสงค์ในการซื้ อ-ขายสิ นค้า หรื อเป็ น ั คนกลางในการซื้อขายสินค้า เช่น ห้างสรรพสินค้า ธุรกิจการค้าปลีก ธุรกิจการค้าส่ง เหล่านี้เป็ นต้น ทรัพย์สินทางปัญญา ทรัพย์สิน คือ วัตถุที่มีรูปร่ างซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ เช่น บ้าน ที่ดิน ลิขสิทธิ์ สิทธิบตร เป็ น ั ต้น ปั ญญา คือ ความรอบรู ้ ความรู ้ทวไปความฉลาดเกิดแต่เรี ยนและความคิด เมื่อรวมทั้ง 2 คําเข้าด้วยกัน ั่ ทรัพย์สินทางปั ญญา จึงหมายถึงความรู ้ที่เกิดจากการคิดค้นจนทําให้เกิดมีค่าขึ้นได้ หรื อจะกล่าวอีกนัยหนึ่ ง ว่า ทรัพย์สินทางปั ญญาได้แก่การที่ผใดหรื อคณะบุคคลใดร่ วมกันประดิษฐ์คิดค้น ออกแบบ สร้างสรรค์ จน ู้ เกิ ด ผลขึ้น มา และผลงานนั้นมี คุณ ค่าสามารถใช้ป ระโยชน์ ไ ด้ท้ ง งานเกษตรกรรม อุ ต สาหกรรม และ ั พาณิ ชยกรรม ปั จจุบนทรัพย์สินทางปั ญญานับว่าเป็ นสิ่งสําคัญยิง และควรค่าต่อการที่จะได้รับความคุมครองตาม ั ่ ้ กฎหมาย ด้วยเหตุผลที่วา การประดิษฐ์คิดค้น กรรมวิธีต่างๆ นั้น จุดกําเนิดของการได้มานั้นมาจากความคิด ่ มาจากมันสมองผนวกกับระยะเวลาที่ทุ่มเทให้กบการศึกษาวิจยเพื่อให้ได้มาซึ่ งผลงานนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ ั ั ทรงคุณค่าเป็ นที่ภูมิใจของผูประดิษฐ์ ดังนั้นด้วยเหตุ นี้เองผลงานดังกล่าวจึงควรค่าแก่การคุมครอง จากเหตุ ้ ้ ที่กล่ าวมาจึงได้มีการบัญญัติเป็ นกฎหมายเพื่อ ให้การคุ มครอง โดยมี พระราชบัญญัติสิทธิ บตร ลิ ขสิ ทธิ์ ้ ั เครื่ องหมายการค้า ให้การคุมครองในหลักการรู ปแบบที่แตกต่างกันไป ้ โดยทัว ๆ ไป คนไทยส่ วนมากจะคุ นเคยกับคําว่า "ลิ ขสิ ทธิ์ " ซึ่ งใช้เรี ยกทรัพย์สินทางปั ญญาทุก ่ ้ ประเภท โดยที่ ถู ก ต้อ งแล้ว ทรั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญาแบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภท ที่ เ รี ย กว่ า ทรั พ ย์สิ น ทาง อุ ต สาหกรรม (Industrial property) และลิ ข สิ ท ธิ์ (Copyright) ทรั พ ย์สิ น ทางอุ ต สาหกรรมไม่ ใ ช่ สังหาริ มทรัพย์และอสังหาริ มทรัพย์ที่ใช้ในการผลิตสิ นค้าหรื อผลิ ตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม แท้ที่จริ งแล้ว ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมนี้ เป็ นความคิดสร้างสรรค์ของมนุ ษย์ที่เกี่ ยวกับสิ นค้าอุตสาหกรรม ความคิด สร้างสรรค์น้ ีจะเป็ นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม ซึ่งอาจจะเป็ น กระบวนการ หรื อ เทคนิ ค ในการผลิ ตที่ ไ ด้ป รั บปรุ ง หรื อ คิด ค้นขึ้ น ใหม่ หรื อ ที่เ กี่ ยวกับตัว สิ น ค้า หรื อ ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นองค์ประกอบ และรู ปร่ างสวยงามของตัวผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ ยงรวมถึงเครื่ องหมายการค้า ั ่ หรื อยีหอ ชื่อ และถิ่นที่อยูทางการค้า ที่รวมถึงแหล่งกําเนิดสินค้าและการป้ องกันการแข่งขันทางการค้าที่ไม่ ่ ้ เป็ นธรรม ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม สามารถแบ่งออก ได้ดงนี้ ั  สิทธิบตร (Patent) ั  เครื่ องหมายการค้า (Trademark)  แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout-Designs of Integrated Circuit)