SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  33
Télécharger pour lire hors ligne
แผนพฒนาเศรษฐกจและสงคมแหงชาต ฉบบท 1 11
      แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-11

      สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                                     ฐ




         นายอาคม เติิมพิิทยาไพสิิฐ รองเลขาธิิการคณะกรรมการพััฒนาการเศรษฐกิิจและสัังคมแหงชาติิ
                            ไ
         นายธานินทร ผะเอม ที่ปรึกษาดานนโยบายและแผนงาน
         สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

        บรรยายสําหรับหลักสูตรนักบริหารระดับสูง กระทรวงอุตสาหกรรม รุนที่ 10
        ณ โรงแรมรอยั ล ปรินเซส หลานหลวง กรุงเทพฯ วันศุกรที่ 7 สิงหาคม 2552 เวลา 09.00 – 12.00 น.
                          ๊

07 August 2009                                                                             Copyright NESDB   1
สวนที่ 1 บทบาท หนาที่ ของ สศช.

            สวนที่ 2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-10

            สวนที่ 3 จากแผนฯ 10 สูแผนฯ 11




07 August 2009                                 Copyright NESDB        2
1)      จัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เพื่อใชเปนกรอบและแนวทางในการพัฒนาประเทศในแตละชวงระยะเวลา 5 ป
          ดังนี้
       • สํารวจ ศึกษา และวิเคราะหสภาวะเศรษฐกิจและสังคม เพื่อใชในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและการเสนอแนะนโยบาย
         มาตรการทางเศรษฐกิจและสังคมในการพัฒนาประเทศ
       • วิิเคราะห ประเมินแผนงานและโครงการพััฒนาของสวนราชการและรัฐวิิสาหกิิจใ เปนไป
                     ป ิ             โ                                ั         ให ไปตามวััตถุประสงคเปาหมาย และแนวทางการพัฒนา
                                                                                                                              ั
         ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
       • ติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ รวมทั้งแผนงานโครงการพัฒนาของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจ
       • การประสานการพัฒนาเพื่อใหเกิดมีการแปลงแผนพัฒนาฯ ไปสูการปฏิบติ รวมทั้งการเผยแพรประชาสัมพันธเพื่อการพัฒนาไปสูประชาชนทุก
                                                                         ั                                             
         กลุมอาชีพไดเกิดความรูความเขาใจ ตลอดจนเสริมสรางใหเกิดการเขามามีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ
                               

  2)      ปฏิบติหนาที่ตามพ.ร.บ. วาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินงานในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 โดยทําหนาที่กํากับ ดูแล
               ั
          และตดตามผลการดาเนนงานใหเปนไปตามระเบยบและกฎหมายในการพฒนาบทบาทของภาคเอกชนทจะเขามาสนบสนุน
          และติดตามผลการดําเนินงานใหเปนไปตามระเบียบและกฎหมายในการพัฒนาบทบาทของภาคเอกชนที่จะเขามาสนับสนน
          กิจการของรัฐ ซึ่งเปนโครงการที่มีการลงทุนหรือมีทรัพยสินตั้งแตหนึ่งพันลานบาทขึ้นไป
  3) ปฏิบัติหนาที่ตามระเบียบวาดวยงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ.2522 ซึ่งมีหนาที่สําคัญฯดังนี้
       • พิจารณางบลงทุนประจําปของรัฐวิสาหกิจเพื่อเสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรี และกระทรวงเจาสังกัดของรัฐวิสาหกิจในประเด็นการบริหาร
         จัดการรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนความเหมาะสมและความเปนไปไดของโครงการลงทุนของแตละรัฐวิสาหกิจ
       • กําหนดหลักเกณฑและวิธีการเพื่อใหรัฐวิสาหกิจแตละแหงถือปฏิบัติ โดยคํานึงถึงความคลองตัวในการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจนั้นๆเปน
         สําคัญ
  4) ปฏิบัติงานตามหนาที่เฉพาะกิจที่ไดรับมอบหมาย หรือสั่งการจากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีโดยตรงโดยสํานักงานฯทํา
     หนาที่เปนฝายเลขานุุการของคณะกรรมการพิเศษชุุดตางๆซึ่งมีนายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีเปนประธาน อาทิ
     คณะกรรมการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออก คณะกรรมการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต คณะกรรมการรวม
     ภาครัฐบาลและเอกชนเพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ คณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ เปนตน
07 August 2009                                                  Copyright NESDB                                                           3
สวนที่ 1 บทบาท หนาที่ ของ สศช.

            สวนที่ 2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-10

            สวนที่ 3 จากแผนฯ 10 สูแผนฯ 11




07 August 2009                                 Copyright NESDB        4
ยุคทองของการวางแผน                       ยุคผััน
                                                           ผวน
                                                         ทางการ
                                                          เมือง             ยุคประชาธิปไตย
                       แผนฯ 1                                                                                  ยุคเปลี่ยนผานสูู
                                                                                                                 ุ
                       2504-09
                       2504 09
                                                                                                              กระบวนทัศนใหม
                                     แผนฯ 2
                                     2510-14
                                                                                                             ยดคนเปนศูนยกลางเนน
                                                                                                             ยึดคนเปนศนยกลางเนน
                                               แผนฯ 3                                                             การมีสวนรวม
                                               2515-19                                                      ใชเศรษฐกิจเปนเครื่องมือ
                                                                                                                    พัฒนาคน
           เนนการเติบโตทางเศรษฐกิจดวย
                               ฐ                          แผนฯ 4
             การพัฒนาโครงสรางพืนฐาน
                                ้                         2520-24

                                                                           แผนฯ 5
                                                                           2525-29                         ยึดปฏิบัติตามปรัชญาของ
                                                                                                              เศรษฐกิจพอเพียงมุงสูู
                                                                                                                  ฐ               ุ
                                                                                                           สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน
                                                                                     แผนฯ 6
                                                เนนการพัฒนา                         2530-34
                                                   เศรษฐกิจ                                      แผนฯ 7
                                                 ควบคูกับการ
                                                       ู                                         2535-39
                                                 พัฒนาสังคม                                                  แผนฯ 8
                                                                                                             2540-44
                                                                                                                         แผนฯ 9
                                                                                                                         2545-49
                                                                          เนนเสถียรภาพเศรษฐกิจ มุง
                                                                              พัฒนาภูมิภาค ชนบท                               แผนฯ 10
                                                                                                                              2550-54
07 August 2009                                                  Copyright NESDB                                                          5
แผนฯ 1 (2504 - 2509) ยุคทองของการวางแผนเศรษฐกิจ

                                        1. วางแผนจากสวนกลางแบบ “จากบนลงลาง” ใชแนวคิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Development with
                                           growth) โดยเนนการพัฒนาโครงสรางพืนฐาน (คมนาคมขนสง โทรคมนาคม เขื่อนเพือชลประทานและ
                                                                               ้                                  ่
                                           ไฟฟา รวมทั้งสาธารณูปการ-Project-oriented approach)
                                        2. มุงยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชน (รายได)
                                        3. ปรบปรุงการบรหารงานทุกดานใหมประสทธภาพ
                                        3 ปรับปรงการบริหารงานทกดานใหมีประสิทธิภาพ

                                        สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 1
                                        1. เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยูกับภาคเกษตร ขาว ยางพารา ไมสัก ดีบุก
                                        2. เศรษฐกิจขยายตัว 8 % ตอป (เปาหมาย 5%) และดําเนินโครงการเขื่อนเจาพระยา และกอสรางเขื่อนภูมิพล
                                        3. อตราเพมของประชากรสูงขน ประมาณรอยละ ตอป
                                        3 อัตราเพิ่มของประชากรสงขึน ประมาณรอยละ 3 ตอป
                                                                  ้

      2493 จัดตั้งสภาเศรษฐกิจแหงชาติ เสนอคําแนะนําแกรัฐบาลดานเศรษฐกิจของประเทศ (จอมพล ป.พิบูลสงคราม)
      2502 เปลี่ยนชื่อสภาเศรษฐกิจแหงชาติ เปนสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติเปนหนวยงานถาวร จัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ หรือ
       ผังเศรษฐกิจแหงชาติ และพิจารณาโครงการเสนอรัฐบาล
      2504 รััฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรััชต ประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรก (การริเริมจััดทําแผนฯ มีีขึ้นตัั้งแต ป 2500)
                                          ป     ใ        ั             ั            ่

                                       แผนฯ 2 (2510 - 2514) ยุคทองของการพัฒนา

                                       1. แนวคิดการวางแผนพัฒนารายสาขา (Sectoral development planning) และขยายขอบเขตแผนครอบคลุม
                                            การพัฒนารัฐวิสาหกิจและองคการบริหารสวนทองถิน
                                                                                         ่
                                       2. ลงทุนในโครงสรางพื้นฐานตอเนื่องจากแผนฯ 1
                                       3. พัฒนาชนบทเพื่อเสริมสรางความมั่นคง และกระจายผลการพัฒนา (รอยละ 75-80 ของงบพัฒนาเปนการลงทุน
                                            ในภูมิภาค
                                       4. สงเสริมเอกชนใหมีบทบาทรวมในการพัฒนาประเทศ

                                       สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 2
                                       1. ปญหาความแตกตางดานรายได มีชองวางรายไดเพิ่มขึ้น
                                       2. เศรษฐกิจขยายตัวรอยละ 7.2 ตอป เศรษฐกิจถดถอยหลังจากขยายตัวมาเปน 10 ป
                                       3. ประชาชนไดรบประโยชนจากโครงสรางพืนฐานไมเทาเทียมกันและอยูในวงจํากัด
                                                       ั                      ้
                                       4. การเพิ่มจํานวนของประชากรในอัตราสงสงผลตอความเปนอยของประชากรโดยรวม
                                       4  การเพมจานวนของประชากรในอตราสูงสงผลตอความเปนอยู

     กอสรางทางหลวงแผนดิน 1,700 กม. และทางหลวงจังหวัด 2,100 กม.

07 August 2009                                                 Copyright NESDB                                                                6
แผนฯ 3 (2515-2519) : การพัฒนาสังคมควบคเศรษฐกิจ
                                                (2515 2519) การพฒนาสงคมควบคู ศรษฐกจ

                                         1.   กําเนิดของการวางแผนพัฒนาสังคมและวัตถุประสงคการพัฒนาที่หลากหลาย (Growth + Social
                                              fairness + Income distribution)
                                         2.   กระจายการพัฒนาสูภูมิภาค เรงรัดพัฒนาภาคและชนบท
                                         3.   เนนการเพิ่มผลผลิตการเกษตร เพิ่มรายไดประชาชนใน ชนบท เพื่อลดความตางของรายได
                                         4.   สรางความเทาเทียมในการใชประโยชนจากบริการของรัฐ โดยเฉพาะดานการศึกษาและสาธารณสุข

                                         สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 3
                                         1. ปญหาการกระจายรายได และความไมเทาเทียมในการเขาถึงบริการรัฐมีความรุนแรง
                                         2. เศรษฐกิจขยายตัว 6.5 % ราคาน้ํามันเพิ่มขึ้น 4 เทา (วิกฤติน้ํามันครั้งแรก) และอัตราเงินเฟอสูงถึง 15.5%
                                            ในป 16 สงผลใหเศรษฐกิจซบเซาชวงหลังของแผนฯ 3
                                         3. การเมืองมีความผันผวนเปลี่ยนแปลงรัฐบาลบอยครั้ง ศก.โลกตกต่ํา น้ํามันแพง
                                         4. ราคาสินคาเกษตรตกต่ํา
                                         5. การวางงานเพิ่มขึ้น

  2515 เปลี่ยนชื่อ สภาพฒนาการเศรษฐกจแหงชาต เปนสนง คณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกจและสงคมแหงชาต จัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
       เปลยนชอ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ เปนสนง.คณะกรรมการพฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จดทาแผนพฒนาเศรษฐกจและสงคมแหงชาต

                                         แผนฯ 4 (2520 – 2524) : เรงฟนฟูเศรษฐกิจและสังคม

                                         1. พัฒนาตอเนื่องจากแผนฯ 3 โดยยึดถือความมั่นคงปลอดภัยของชาติเปนพื้นฐานของการพัฒนา แนวคิดการ
                                              พฒนาระหวางสาขารวมกน (Inter sectoral
                                              พัฒนาระหวางสาขารวมกัน (Inter-sectoral planning)
                                         2. เรงฟนฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศใหมั่นคง เชน การผลิตสินคาเพือทดแทนการนําเขา ปรับปรุง
                                                                                                                  ่
                                              นโยบายการควบคุมราคาสินคาและเรงรัดการสงออก
                                         3. เนนเสริมสรางสวัสดิภาพทางสังคมแกคนในชาติมากกวาเนนการขยายตัวทางเศรษฐกิจเปนหลัก

                                         สภาว เศรษฐกจแล สงคมในชวงแผนฯ
                                         สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 4
                                         1. ยุคการเมืองรุนแรง พรรคคอมมิวนิสตขยายตัว
                                         2. การพัฒนาดานประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตรต่ํา
                                         2. เศรษฐกิจขยายตัวรอยละ 7.4 เงินเฟอสูงถึงรอยละ 11.7 และขาดดุลการคา
                                         3. ทรัพยากรธรรมชาติเสือมโทรม
                                                                ่
                                         4. การใหบริการทางสังคมไมเพียงพอและไมทั่วถึง
                                         5. ไทยยกระดับกลายเปนประเทศกําลังพัฒนาที่มีรายไดปานกลาง จากประเทศรายไดต่ํา

   สัดสวนภาคอุตสาหกรรมขยายตัวทําใหมีสัดสวนมากกวาภาคการเกษตรเปนครั้งแรกและขยายตัวอยางตอเนื่อง

07 August 2009                                                   Copyright NESDB                                                                     7
แผนฯ 5 (2525 - 2529) : การแกไขปญหาและปรับสการพัฒนายคใหม
                                                                  การแกไขปญหาและปรบสู ารพฒนายุคใหม

                                           1. วางแผนโดยยึดหลักภูมิภาคและพื้นที่ กําหนดพื้นที่เปาหมายเพื่อแกปญหาความยากจน เปาหมายเพื่อความ
                                              มั่นคง และพืนที่รองรับอุตสาหกรรม ESB
                                                          ้
                                           2. เนนการปรับโครงสรางเศรษฐกิจมากกวาการมุงขยายอัตราความเจริญทางเศรษฐกิจ
                                           3. พฒนาเศรษฐกจและสงคมบนความสมดุล
                                           3 พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนความสมดล
                                           4. พัฒนาการแปลงแผนไปสูภาคปฏิบัติ
                                           5. เพิ่มบทบาทและระดมความรวมมือจากภาคเอกชน

                                           สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 5
                                           1. แผนพฒนาชนบท เพื่อแกไขปญหายากจนในชนบท
                                           1 แผนพัฒนาชนบท เพอแกไขปญหายากจนในชนบท
                                           2. แผนพัฒนาเชิงรุก เชน การพัฒนาพื้นที่ ESB การริเริ่ม กรอ.
                                           3. แผนพัฒนาเพื่อความมั่นคง เชน หมูบานอาสาและพัฒนาปองกันตนเอง
                                           4. เศรษฐกิจขยายตัวต่ําเทียบกับชวงแผนฯ ที่ผานมา เพียงรอยละ 5.4 ตอป
                                           5. รัฐบาลสามารถกระจายบริการสังคมไดกวางขวางมากขึ้น เชน โรงพยาบาลประจําอําเภอ

    สศช. กับแผนงานพัฒนาพื้นที่ ESB และพื้นที่เมืองหลัก เปนการพัฒนาประเทศแนวใหมยึดพื้นที่


                                         แผนฯ 6 (2530 – 2534) : การจัดทําแผนสูระดับกระทรวง


                                         1.   กําหนดขอบเขตและวิธีการใชแผนฯ ที่ชัดเจน มีทั้งระยะสั้น กลาง ยาว และแผนปฏิบัติระดับกระทรวง
                                         2.   เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาประเทศทั้งดานทรัพยากรมนุษย พัฒนาวิทยาศาสตรและการบริหารจัดการ
                                         3.   ปรับปรุงระบบการผลิตและการตลาด
                                         4.   ยกระดับคุณภาพปจจัยพื้นฐานเพื่อลดตนทุน

                                           สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 6
                                           1. หนี้ตางประเทศลดลง ทุนสํารองเพิ่มขึ้น
                                           2. เศรษฐกิจฟนตัว และขยายตัวรอยละ 10.9 ตอป (สูงสุดในรอบ 25 ปที่ผานมา)
                                           3. การจางงานภาคอุตสาหกรรม/บริการเพิ่มขึ้น
                                           4.
                                           4 ปญหาความเหลืื่อมลํ้ํารายไดระหวางกลุมครััวเรือน และชนบทกับเมืองมากขึ้น
                                                                      ไ                      ื           ั   ื       ึ




07 August 2009                                                    Copyright NESDB                                                               8
การพฒนาทยงยน
                                            การพัฒนาที่ยั่งยืน

                                            1. เริ่มแนวคิด “การพัฒนาที่ยั่งยืน”
                                            2. มุงสูเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ รักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กระจายการพัฒนาสูภูมิภาคและ
                                                  ชนบท และพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ
                                            3. พฒนาเศรษฐกจสู ศรษฐกจดานหนาในภูมภาค และยกระดับส ะดบนานาชาต
                                            3 พัฒนาเศรษฐกิจสเศรษฐกิจดานหนาในภมิภาค และยกระดบสูระดับนานาชาติ

                                            สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 7
                                            1. รายไดตอหัวเพิ่มถึง 28 เทาจากแผนฯ 1 เปน 77,000 บาท
                                            2. เศรษฐกิจขยายตัวรอยละ 8.1 ตอป เงินเฟอเฉลี่ย 4.8 %
                                            3. ทนสํารองสงถึง USD 38 700 ลาน
                                            3  ทุนสารองสูงถง         38,700 ลาน

            “เศรษฐกิจดี สังคมมีปญหา การพัฒนาไมยั่งยืน”
                                                                  ป 2539 ในชวงปลายแผนฯ 7 ประเทศไทยกาวเขาสูวิกฤตเศรษฐกิจ


                                        สภาวะแวดลอม
                                        สภาวะแวดลอม                         แผนฯ 1 - แผนฯ 7
                                                                              (2504 - 2539)                               ผล


      ทบทวน
                                        •    การเมือง/
                                             ปกครองรวม                          โดยราชการ
                                                                               เพอประชาชน
                                                                               เพื่อประชาชน                          • เศรษฐกิจดี
                                                                                                                       เศรษฐกจด

      ผลการ                             •
                                             ศูนยอานาจ
                                                   ํ
                                             เศรษฐกิจ
                                                                                                                     • สังคมมี

      พัฒนา
                                                                                                                        ปญหา
                                             นําสังคม                          บริหารแบบควบคุม
                                                                                สั่งการ เปน Top-                    • การพัฒนา
                                        •    ใชทรัพยากร
       แผนฯ                                  แรงงาน
                                                                                down มีกรอบใน
                                                                                        มกรอบใน
                                                                                    การวางแผน                           ไมย่งยืน
                                                                                                                             ั


        1-7
                                                                                                                         ปรั
                                                                                                                         ป ับ
                                                        ปรับตัว/พรอมรับการเปลียนแปลง
                                                                               ่                                    กระบวนทรรศน
                                                                                                                   ใหมในการพัฒนา


07 August 2009                                                   Copyright NESDB                                                            9
“คน” เปนศนยกลางการพัฒนา
                            คน เปนศูนยกลางการพฒนา

                           1.   เนนคนเปนศูนยกลางการพัฒนา และใชการพัฒนาเศรษฐกิจเปนเครื่องมือ
                           2.   ปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดทําแผนใหมเปนแบบ “จากลางขึ้นบน” บูรณาการแบบองครวม ไมพัฒนาแยก
                                สวน
                           3.   ภาคประชาชนมีสวนรวมพัฒนา
                           4.   แปลงแผนสูปฏิบัติ โดยยึดหลักการพื้นที่ ภารกิจ และการมีสวนรวม

                          สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 8
                          1. วิกฤตเศรษฐกิจป 2540
                          2. ปญหาสถาบันการเงิน
                          3. หนึ้ตางประเทศและหนึสาธารณะเพิ่มขึ้น
                                                  ้
                          4. มีเครือขายการพัฒนารวมกับภาครัฐ

                 มุงเนนการพัฒนาแบบองครวม เปนการวางรากฐานการมีสวนรวมของประชาชน




                                                                                     เกิดวิกฤต

                            สภาวะแวดลอม
                            สภาวะแวดลอม                            แผนฯ 8                         ปรบแผนฯ
                                                                                                   ปรับแผนฯ 8


    การปรับ             • เผชิญกระแส
                          โลกาภิวัตนที่รุนแรง
                                                         • โดยประชาชน
                                                           เพื่อประชาชน
                                                                                              • ปรับกรอบเศรษฐกิจ
                                                                                                มหภาค
                        • เศรษฐกิจ                       • คน-ศููนยกลางการพัฒนา              • ลดผลกระทบตอคน
   แผนฯ 8                 สงสััญญาณ
                          มีปญหา
                                                         • เศรษฐกิจเปนเครื่องมือในการ
                                                           พัฒนาคน
                                                                                                สัังคม
                                                                                              • ปรับโครงสราง
   (40-44)              • การพัฒนากระจุกตัว
                          ไมกระจาย
                                                         • วิธีการพัฒนา-เนนองครวมและ
                                                           บูรณาการ
                                                                                                เศรษฐกิจ
                                                                                              • ปรับระบบบริหาร
                        • มีปญหาสังคม คุณภาพ                                                   จัดการ
                          ชวต ทรัพยากรธรรมชาติ
                          ชีวิต ทรพยากรธรรมชาต           • บริหารแบบชี้นํา
                                                           บรหารแบบชนา
                          เสื่อมโทรม                       สรางการมีสวนรวม
                                                           เปน Bottom-up


07 August 2009                                Copyright NESDB                                                             10
อัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

                                           1.   ยึดคนเปนศูนยกลางการพัฒนาตอเนื่องจากแผนฯ 8
                                           2.   มุงการพัฒนาที่สมดุลคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม
                                           3.   เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน
                                           4.   บริหารจัดการที่ดี ในทุกระดับ
                                           สภาวะเศรษฐกจและสงคมในชวงแผนฯ 9
                                           ส       ศ     ิ       สั     ใ ช
                                           1. นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช
                                           2. คุณภาพชีวิตดีขึ้น ทั้งดานสุขภาพ ยาเสพติด และการกระจายรายได

                                     สรางกระบวนการมีสวนรวมของภาคีการพัฒนาทุกระดับอยางกวางขวาง

                                                     เหตุการณรัฐประหาร 19 กันยายน 2549



                                                         3 สังคมที่พึงประสงค
                                                           สงคมทพงประสงค
                                                                   สังคม                 สังคม
                                           สังคม               แหงภูมิปญญา           สมานฉันท
                                          คุณภาพ                การเรียนรู            เอื้ออาทร
                                                          4 วัตถุประสงคหลัก
                         ฟนฟูเศรษฐกิจ            วางรากฐาน                 การบริหาร
                                                    การพัฒนา                  จัดการที่ดี              แกไขปญหา
                         ใหมีเสถียรภาพ             ประเทศให
                                                    ประเทศให                                          ความยากจน
                              มั่นคง              เขมแข็ง ยั่งยืน           ในทุกระดับ

                                                      7 ยุทธศาสตรการพัฒนา
                                2                3               4                                 6                 7
                                                                                               เพิ่มสมรรถนะ ขีด

                  1บรหาร
                   บริหาร
                 จัดการที่ดี
                                  คน
                                 สังคม
                                                 ชนบท
                                                 เมือง
                                                                ทรพยากร
                                                                ทรัพยากร
                                                               สิ่งแวดลอม        5 บรหาร
                                                                                    บริหาร
                                                                                  เศรษฐกิจ
                                                                                   สวนรวม
                                                                                                ความสามารถใน
                                                                                                    การแขงขัน
                                                                                                                     ความ
                                                                                                                    เขมแข็ง
                                                                                                                      ว&ท

                                          การบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อการแปลงแผนสูการปฏิบัติ
07 August 2009                                                  Copyright NESDB                                                11
การปฏบตตามปรชญาของเศรษฐกจพอเพยงเพอ
                                      การปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ
                                        สรางสมดุลและมีความอยูเย็นเปนสุขรวมกัน
                                 1.   ยึดกระบวนทรรศนการพัฒนาตอเนื่อง จากแผนฯ 8 และ แผนฯ 9
                                 2.   ประกอบดวย 5 ยุทธศาสตรการพัฒนา
                                  ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและ            ยุทธศาสตรการพัฒนาบนฐานความ
                                    สังคมไทยสูสงคมแหงภูมิปญญาและการ
                                               ั                              หลากหลายทางชีวภาพ และสรางความมั่นคง
                                    เรียนรู                                   ของฐานทรัพยากรและคุณภาพ สวล.

                                  ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของชุมชน   ยุทธศาสตรการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการ
                                    และสงคมเปนฐานทมนคงของประเทศ
                                    และสังคมเปนฐานที่มั่นคงของประเทศ          บรหารจดการประเทศ
                                                                               บริหารจัดการประเทศ
                                  ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจให
                                    สมดุลและยั่งยืน


   สภาวะเศรษฐกจและสงคมในชวงแผนฯ
   สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 10
   1.       การเตรียมพื้นทีใหม (SSB) เพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรม
                           ่
   2.       การเมือง เศรษฐกิจผันผวน สังคมแตกความสามัคคี
   3.       สภาพเศรษฐกิจเขาสภาวะถดถอย จากทั้งปจจัยภายในและภายนอก
                       ฐ         ู
   4.       การนําทุน 3 ดานมาพิจารณา (ทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุนทรัพยากรธรรมชาติ)


     Subprime & Global financial crisis
     2551 การประทวงทางการเมือง และการปดสนามบินสุวรรณภูมิ
     เม.ย. 2552 เหตุการณความวุนวายทางการเมือง

07 August 2009                                  Copyright NESDB                                                         12
สวนที่ 1 บทบาท หนาที่ ของ สศช.

            สวนที่ 2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-10

            สวนที่ 3 จากแผนฯ 10 สูแผนฯ 11




07 August 2009                                 Copyright NESDB        13
2547                                     2 ปแรกของแผนฯ 10 (50 - 51)

                           เชื่อมโยงเพิ่มขึ้นตอเนื่อง เชน ASEAN +3, ASEAN +6 เปนตน
  ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก สัดสวนการสงออกไทยในโลก เพิมขึนเปน 1.12% (ชวงแผนฯ 9 = 1.08%)
                   ฐ                                          ่ ้
                            • ผลิตภัณฑเทคโนโลยีใหมเพิ่มขึ้นอยางเนื่อง
                            • มีการจดสิทธิบัตรเพิ่มมากขึ้นในประเทศไทย เชน สิทธิของยีนความหอมในขาว
           เทคโนโลย
           เทคโนโลยี
                                   สัดสวนผูสูงอายุ (60ป+)
                                                      60ป+)
                                                                      * ยังคงมีโรคระบาดใหมเกิดขึ้น เชน ไขหวัดใหญสาย
                                  2548                2552
                                                                       พนธุ หม
                                                                       พันธใหม 2009 (AH1N1)
             สัังคม               10.4                 11.5
                            แรงงานตางดาวในประเทศไทยยังคงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และผูหลบหนีเขาเมือง
    การเคลื่อนยายคนเสรี
                            เชน โรฮิงญา
                            • สิ่งแวดลอม ภาวะอากาศแปรปรวน น้ําทวม การกัดเซาะชายฝง
                            • ราคาน้้ํามันยังคงผันผวน ทําสถิติสงสุดที่ 147 $/bbl (กลางป 51)
                                                               ู
   ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม   • การผลิตพลังงานทางเลือกจากพืช
07 August 2009                                      Copyright NESDB                                                       14
แผนฯ10
                   แผนฯ10 สรางความสมดุลระหวาง 3 ทุน เพือสรางความคุมกัน
                                                         ่

                                                  เศรษฐกิิจ




                                                                            ทรัพยากร
                             สังคม
                                                                            ธรรมชาต
                                                                            ธรรมชาติ



  วิสัยทัศนฯ 2570: แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของโลกใน 20 ป ขางหนา
              2570:
      1. การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจในภููมิภาค
                             ฐ                                     5. ประชากรสูงอายุุ
                                                                               ู
      2. เศรษฐกิจโลกจะเปลี่ยนศูนยกลางอํานาจมาอยูที               6. ปญหาดานพลังงาน
         ประเทศแถบเอเชียมากขึ้น
      3
      3. การเปลี่ยน ล าน
              ล นแปลงด นการเงินโลกล                                       ภ ุ ม ภ ล
                                                                   7. ปญหาภัยคกคามจากภาวะโลกรอน
      4. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีกับการดํารงชีวิตของมนุษย

07 August 2009                                   Copyright NESDB                                    15
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง



                                    วิสัยทัศนฯ 2570




                 แผนฯ 10
07 August 2009                 Copyright NESDB         16
การวิเคราะหทุนของประเทศ                                                    การวิเคราะหทุนของประเทศ
                  ในชวงแผนฯ 10                                                          ในระยะตอไป (แผนฯ 11)

    สร า งความสมดุ ล ระหว า งทุ น 3         ทุน คื อ ทุ น                   ความเชื่อมโยงระหวางทุนทั้ง 6  ทุน คือ ทุนธรรมชาติ ทุน
    เศรษฐกิจ ทุนสัง คม และทุนทรัพยากรธรรมชาติ/                                กายภาพ ทุนสังคม ทุนมนุษย ทุนการเงิน และทุนวัฒนธรรม
    สิ่งแวดลอม เพื่อมุงสูสังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน
                                                                                                                  Financial Capital (FC)




                                                                          Tangible
       ทุนสังคม                           ุ    ฐ
                                         ทนเศรษฐกิจ                                     Natural Capital
                                                                                                  p            Physical Capital
                                                                                                                 y        p
                                                                                            (NC)                    (PC)




                                                                          e
                                                                    Feature
                                                                                                         Cultural
                                                                                                         Capital
                                                                                                          (CC)
                  ทุนทรัพยากรธรรมชาติ/
                        สงแวดลอม
                        สิ่งแวดลอม                                       Intangible

                                                                                        Social Capital           Human Capital
                                                                                            (SC)                    (HC)
                                                                                   Broad-based                            Specific
                                                                                                          Scope


07 August 2009                                                Copyright NESDB                                                              17
ประเด็นระดมความคิดเห็นสูแผนฯ 11
                                                              การประชุมประจําปของ สศช. เมื่อวันที่ 10 กรกฏาคม 2552
                                               การสรางกระบวนการมสวนรวมเพอนาไปสูการกาหนดกรอบการพฒนาประเทศ
                                                  ส            ส 
                                                                ี        ื่ ํ ไปส   ํ                   ั ป ศ



   1                                                                วกฤตการเงนโลกไดสงผลตอการปรบเปลยน
                                                                    วิกฤติการเงินโลกไดสงผลตอการปรับเปลี่ยน
                                                                                        
             ภูมทศนใหม จึงจําเปนตองกําหนดแนวทางในการเปลี่ยนวิกฤติใหเปนโอกาส ดวยการกําหนดยุทธศาสตรใน
                ิ ั
             การขยายตัวทางเศรษฐกิจใหสอดคลองกับการเปลียนแปลง
                                                         ่

   2                                                       สงเสริมการปรับโครงสรางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการ
             ผลิตและบริการใหมีการสรางมูลคาเพิ่มที่สูงขึ้น และการแกไขปญหาเชิงโครงสรางของประเทศ ใน
             ขณะเดยวกนจะเปนการสรางธุรกจใหมทใชศกยภาพแฝงซงมอยู นสงคมไทย
             ขณะเดียวกันจะเปนการสรางธรกิจใหมทใชศกยภาพแฝงซึ่งมีอยในสังคมไทย
                                                 ี่ ั

   3                                                  รูวิกฤติ สรางโอกาสการพัฒนาเพือปองกัน เตือนภัย และ
                                                                                     ่
             บรรเทาภยตอผลกระทบทจะเกดขน เนนการเปนปจจัยสนับสนนตอการพัฒนาในอนาคตส เศรษฐกจสเขยว
             บรรเทาภัยตอผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เนนการเปนปจจยสนบสนุนตอการพฒนาในอนาคตสู ‘เศรษฐกิจสีเขียว’


   4                                             เนนการสรางผลิตภาพและคุณภาพทั้งในเชิงความรู ความคิด
             สรางสรรค และมีคุณธรรมนํา ซึงรวมถึงการสรางจิตสํานึกสาธารณะใหเกิดขึ้นอยางยังยืน
                                          ่                                                ่


   5                                         เปนแนวปฏิบติในการอยูรวมกนในสงคมอยางสงบสุข ปลอดภยและมนคง
                                              ป    ป ิ ั ิ             ั ใ ั             ป
             เนนสรางความเขมแข็งของโครงสราง กลไกและกระบวนการบริหารจัดการของทุกภาคสวนของสังคม
07 August 2009                                     Copyright NESDB
                                                                                                ั    ่ั

                                                                                                                  18
1. ความทาทายและโอกาสของเศรษฐกิจไทย


                                                                 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของโลกใน 20 ป ขางหนา
   แผนพฒนาฯ ฉบบท่ 10
   แผนพัฒนาฯ ฉบับที                                                1 การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจในภมิภาค
                                                                   1. การรวมตวกนทางเศรษฐกจในภูมภาค
1. การพัฒนาคุณภาพคน                                                2. เศรษฐกิจโลกจะเปลี่ยนศูนยกลางอํานาจมาอยูที
2. การสรางเขมแข็งของ                                                ประเทศแถบเอเชียมากขึ้น
   ชุมชน                                                           3. การเปลีี่ยนแปลงดานการเงินโลก
                                                                          ป       ป             ิ โ
3. การปรับโครงสราง                                                4. ประชากรสูงอายุ
   เศรษฐกิจ                                                        5. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีกับการดํารงชีวิตของ
4. การพัฒนาบนฐานความ                                                  มนุษย
   หลากหลายทางชีวภาพ                                               6. ปญหาดานพลังงาน
5. การเสริมสราง                                                   7. ปญหาภัยคุกคามจากภาวะโลกรอน
   ธรรมาภิบาล
          ิ
                                      1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลกในระยะปานกลางมีแนวโนมที่จะอยูในระดับต่ํา
                                      2. การปรับตัวของตลาดการเงินในลักษณะ Multiple financial nodes และระบบการกํากับดูแล
                                         สถาบันการเงินเขมงวดมากขึ้น
                                      3. การขาดแคลนนาและพนทการเกษตร
                                      3 การขาดแคลนน้ําและพื้นที่การเกษตร
                                      4. การวางงานและสังคมผูสูงอายุ
                                      5. ภาวะโลกรอน
วิกฤตเศรษฐกิจโลก                      6. ความกาวหนาทางเทคโนโลยี                             ความเสี่ยงใหมหลัง
                                      7. แนวคิด Sustainable capitalism and CSR
                                                                    ู
                                      8. การคาและความรวมมือในภมิภาคเพิ่มมากขึน
                                                                               ้                 ฤ        ฐ
                                                                                              วิกฤตเศรษฐกิจโลก
                                      9. ภูมภาคเอเชียเพิ่มบทบาทบนเวทีการเมืองโลก
                                            ิ
 2550            2552   2554   2556          2558         2560         2562        2564        2566         2568          2570
07 August 2009                                       Copyright NESDB                                                             19
วิกฤติจากการ
                                       วิกฤติราคาน้ํามัน
                    เปลี่ยนแปลง
                                          และพลังงาน
                 ภูมิอากาศของโลก                                             ความไมสมดุล
                                                                                        ุ   วกฤตเศรษฐกจ
                                                                                            วิกฤติเศรษฐกิจ
                               ความเสี่ยง                                    ของเศรษฐกิจ     สหรัฐอเมริกา
                                                                                 โลก
                 วิิกฤติิความมัั่งคง    วิกฤติทางดาน
                  ทางดานอาหาร              สังคม




                                                ภมิทศนใหมของโลก
                                                ภูมทัศนใหมของโลก
    1. การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจหลังวิกฤตการณจะลดลง
                            ฐ          ฤ
    2. Multi Polar World
    3. บริบทใหมของภาคการเงิน (Regulatory Reform)
    4. ปญหาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิิจ (เงิินเฟอ คาเงิน USD อััตราดอกเบี้ย และหนีี้สาธารณะ)
                  ี                          ฟ  ิ                       ี          าธารณะ)

07 August 2009                                             Copyright NESDB                                   20
ระยะสน
ระยะสั้น : รักษาอัตราการขยายตัวและลดความเสียงจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลก
                                           ่             น       ฐ

ระยะยาว : ปรับตัวใหสอดคลองกับกระแสการเปลี่ยนแปลง
                                            • ขยายตลาดและสรางความรวมมืือในภูมิภาค
                                                                         ใ
   เศรษฐกิจ/การเงินโลก
                                            • พัฒนาและปรับโครงสรางภาคการผลิต
                                            • สรางความไดเปรียบดานฐานการผลิตภาคการเกษตร
                                                                    ฐ
   อาหาร พลังงานและสิ่งแวดลอมโลก           • พัฒนามูลคาเพิ่มของสินคาเกษตร และอาหาร
                                            • การพัฒนาพลังงานทดแทน
   การเปลีี่ยนแปลงสภาพภูมอากาศ
       ป       ป          ิ
                                            • Green Job / Green Growth / Green Economy
   ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคม
                                            • ขยายภาคธรกิจบริการดแลผสงอายุ
                                              ขยายภาคธุรกจบรการดูแลผู งอายู
   สังคมผูสงอายุ
            ู
                                              การแพทยและสุขภาพ และ Long stay tourisms
                                            • สงเสริมความรวมมืทางการผลิต / การคา / การลงทุน
   ความรวมมือประเทศเพื่อนบาน / ภูมภาค
              ื ป        ื            ิ     • พััฒนาสัังคมและสิ่งแวดลอม
                                                                ิ
                                            • สรางความรวมมือเพื่อลดความเสี่ยงทางการเงิน
07 August 2009                              Copyright NESDB                                      21
วิกฤตเศรษฐกิจสงผลตอการขับเคลือนเศรษฐกิจดวยการสงออกและแรงงานราคาถูก
                                                          ่
                                                                        เปนไปอยางยากลําบากมากขึ้น


                  ผลกระทบจากวกฤตเศรษฐกจในระยะสนในชวงปลายป
                  ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจในระยะสันในชวงปลายป 2551 ตอเนื่องจนถึงปจจบัน
                                                 ้                  ตอเนองจนถงปจจุบ
                                                                                  การผลิต
        ภาพรวมผลกระทบของวิกฤตเศรษฐกิจโลกและไทย
                                                                                                หดตว
                                                                                                หดตัว
          การขยายตัวทาง      การสงออก       การใหสินเชื่อ           ภาคอุตสาหกรรม             รุนแรง
             เศรษฐกิจ
                                                                                                หดตัว
                                                                      ภาคบริการ
                  ความสามารถใน       การจางงาน
                    การแขงขน
                    การแขงขัน
                                                                      ภาคเกษตรกรรม             ชะลอตัว


                             วิกฤตเศรษฐกิจโลกกอใหเกิดผลกระทบในเชิงลบที่กระจายวงกวาง
                     สะทอนถึงความเชื่อมโยงและการพึ่งพิงกับภาคเศรษฐกิจตางประเทศอยางชัดเจน
             อยางไรก็็ดี ภาคเกษตรยัังคงเปนฐานเศรษฐกิิจสําคััญและไดรับผลกระทบนอยกวาภาคการผลิตอื่น
                  ไ                                                ไ                           ิ ื
            การแกไขขอจํากัดจากภายนอกนี้คือ ไทยตองมุงหาแนวทางการพัฒนาใหมๆ (New Source of Growth)
07 August 2009                                     Copyright NESDB                                       22
บริบทการเปลี่ยนแปลงที่สงผลตอการเรงปรับโครงสรางการผลิตของประเทศ
                                               และพัฒนาเศรษฐกิจยุคใหม (Knowledge economy & Creative Economy)
                                                 ปจจยภายนอก
                                                 ปจจัยภายนอก
        ภาวะเศรษฐกิจโลกที่กําลังซื้อหดตัว สงผลใหปริมาณการผลิตของภาคอุตสาหกรรมการ
                                                                                                                    ทางเลือกใหม:
        ผลิตในประเทศลดลง                                                                                          เศรษฐกิจยุคใหม
        ความผัันผวนของราคานํ้ํามัันทีี่เปนอุปสรรคของการประมาณการผลิิตใ
                                                        ป             ในภาคการผลิิต                                (New Economy)
                                                                                                                   (N E           )
        และการขาดแคลนเทคโนโลยีเพื่อการผลิตพลังงานทดแทน
                                                                                                            - เศรษฐกิจสรางสรรค (Creative
                                ปจจัยภายใน                                      การกีดกันทางการคา           economy) สินคาและบริการที่ใช
                                                                                                                          สนคาและบรการทใช
         การปรั บ ระดั บ และบั ง คั บ ใช ม าตรฐานสิ่ ง แวดล อ ม                ในรู ป ของมาตรฐาน
                                                                                                              ความคิดสรางสรรคเปนตัว
         ภายในประเทศใหมีความปลอดภัยมากขึ้น                                      สิ่ ง แวดล อ มระหว า ง
                                                                                 ป ร ะ เ ท ศ ทํ า ใ ห        ขับเคลื่อน (Creativity driven
         ป ญ หาด า นพื้ น ที่ ตั้ ง หรื อ แหล ง ที่ ตั้ ง อุุ ต สาหกรรม และ   ผู
                                                                                 ผ ป ร ะ ก อ บ ก า ร         growth)
         โครงสร า งพื้ น ฐานที่ ไ ม เ พี ย งพอ รวมถึ ง ข อ จํ า กั ด ด า น   ภายในประเทศตองใช         - การปรับโครงสรางภาค
         กฎหมาย
                                                                                 เวลาในการปรับตัวอัน          เศรษฐกิจจริง ที่มุงเนนการเพิ่ม
         การพึ่งพาชิ้นสวนและอุปกรณจากตางประเทศ และการ                         เนื่ อ งมาจากต น ทุ น       คุณคา/สรางมูลคาเพิ่ม และแกไข
         ขาดการสงเสรม/พฒนาศกยภาพทางเทคโนโลย
         ขาดการส ง เสริ ม /พั ฒ นาศั ก ยภาพทางเทคโนโลยี                         ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ
                                                                                             ล
         ภายในประเทศ                                                             โครงสร า งการผลิ ต ที่      ปญหาเชิงโครงสราง โดย Quality-
                                                                                 ตองใชตนทุนที่สูงขึ้น      driven growth: เพิ่มผลผลิต สราง
         การขยายบทบาทและการเข า มามี ส ว นร ว มของภาค
         ประชาชนมากขึ้น                                                                                       Investment climate และใชS&T,
                                                                                                              Knowledge

     เศรษฐกิจไทยมีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกสูง และการพัฒนา                                    การเพิ่มขีดความสามารถ
     อุตสาหกรรมเดิมที่สําคัญ มีขอจํากัดตางๆที่ทาใหตองใชเวลาในการปรับตัวตอบริบทการ
                                                 ํ                                                                ในการแขงขัน
     เปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคตที่จะกระทบตอการพัฒนามากขึ้น
                                                                                                                  ของประเทศไทย
07 August 2009                                                                   Copyright NESDB                                                 23
2. การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคควบคูกับเศรษฐกิจฐานความรู

                                                New Economy
    6 Capitals (6Ks) of
               (6                                              capitall intensiveness
                                                                  it i t i                                                       แผน 11
        the Nation
                                  Creative Economy                                                                            (2555 – 2559)
                                                                                                                                      2559)
                                  Creative-driven Industries

      Natural       Physical      Knowledge Based Economy
      Capital        Capital      ICT-driven Industries
       (NC) Cultural (PC)                                                                                แผน 6            แผน 7-8             แผน 9-10
               Capital            R&D-driven Industries                                               (2530-2534)       (2539-2544)          (2545-2551)
       Social   (CC) Human
       Capital         Capital                                                                      - Computer &      - Computer &         - Computer &




                                                                                         No 1 exp
        (SC)            (HC)                                                                          Component         Component            Component
                                                                                                                      - IC                 - IC




                                                                                          o.
                                                 Old Economy                                                          - Automobile
                                                                  capital intenseness               - Rice            - Textile            - Jewelry




                                                                                        Top 5 exp
                                                                                                    - Textile         - Processed
                                  Differentiated Assembly
                                                                                                    - Processed         food
                                  -driven Industries



                                                                                          p
                                                                                                      food
                                                                                                    - Jewelry
     Financial Capital (FC)       Non-differentiated Scale
                                                                                                      นอย                                             มาก
                                  -driven Industries                                                                Value Creation Level


                                  Factor-driven Industries

07 August 2009                                               Copyright NESDB                                                                                 24
“เศรษฐกิจสรางสรรค”
     ฐ                      คือ แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใชองคความรูู (Knowledge) การศึกษา
                                                        ฐ         ฐ                          (          g)
(Education) การสรางสรรคงาน (Creativity) และการใชทรัพยสินทางปญญา (Intellectual property) ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทาง
วัฒนธรรม (Culture) การสั่งสมความรูของสังคม (Wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม (Technology and Innovation)

     ขอบเขตของเศรษฐกิจ                              มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ (Heritage or Cultural/biodiversity-based Heritage)
                                                                                            Cultural/biodiversity-
                                                      งานฝมือและหัตถกรรม
    สรางสรรคในประเทศไทย                             อาหารไทย
                                                      การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม/ความหลากหลายทางชีวภาพ
                                                       การทองเทยวเชงวฒนธรรม/ความหลากหลายทางชวภาพ
  ส ศ ช . ไ ด จัั ด ป ร ะ เ ภ ท เ ศ ร ษ ฐ กิิ จ
                                                      การแพทยแผนไทย
  ส ร า ง ส ร ร ค โ ด ย ยึ ด รู ป แ บ บ ข อ ง
  UNCTAD               เปนกรอบ และปรั บ            ศิลปะ (Arts)
                                                      ศิลปะการแสดง
  เพมเตมตามรู ป แบบของ UNESCO
      ่ิ ิ                                            ทัศนศิลป
  ทั้ง นี้เ ปนการกําหนดกรอบโดยกวาง
  เพื่ อ ประโยชน ใ นการวั ด ขนาดทาง                สื่อ (Media)
  เศรษฐกจของอุตสาหกรรมและบรการ
  เศรษฐกิจของอตสาหกรรมและบริการ                       ภาพยนตรและวีดีทัศน
                                                       ภาพยนตรและวดทศน           การพิมพ
                                                      การกระจายเสียง            ดนตรี
  สร า งสรรค ข องไทย และสะท อ นถึ ง
  ความสําคั ญต อระบบเศรษฐกิ จ ไทย                  งานสรางสรรคและออกแบบ (Functional Creation)
  โดยแบงเปน กลุ หลักและ
  โดยแบงเปน 4 กลมหลกและ 15                         การออกแบบ                 แฟชั่น
                                                                                  แฟชน
                                                      สถาปตยกรรม               การโฆษณา
  สาขายอย
                                                      ซอฟตแวร

07 August 2009                                                        Copyright NESDB                                               25
Economic
                                             พัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคควบคูไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรู                        Capital
                                                                                                                                  (EC)
            แนวนโยบาย

                                             กําหนดนโยบายเศรษฐกิจสรางสรรคของประเทศใหชัดเจนและบูรณาการการ
                                              ดําเนินงานของหนวยงาน                                                     Social        Natural
                                             ปรับโครงสรางการผลิตและบริการของประเทศอยางตอเนื่อง ใหมงสูการเปน
                                                                                                          ุ            Capital       Capital
                                              เศรษฐกิจสรางสรรคและเศรษฐกิจที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Creative and      (SC)          (NC)
                                              Green Economy)

                                             พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและสภาพแวดลอมภายในประเทศ โดยเฉพาะ
   ขับเคลื่อน ปจจัยสนับสนุน และสภาพแ อม




                                              โครงสรางพื้นฐานดานการสื่อสารและคมนาคม การสงเสริมการลงทุนดานการ
                                    แวดล




                                              วิจัยและพัฒนา การจัดหาแหลงเงินทุน การพัฒนาการศึกษาใหสอดคลองกับ
                                                                                                                         Natural        Physical
                                              ความตองการของตลาด การพัฒนาการตลาดใหทันตอคูแขงขันและการ                Capital          Capital
                                              เปลี่ยนแปลงของโลก                                                          (NC)                (PC)
                                             ใหคุณคาตอทรัพยสินทางปญญาจากความคิดสรางสรรค โดยมีกฎหมาย                      Cultural
                                                                                                                                 Capital
                                              และกฎระเบียบที่ชวยในการคุมครองทรัพยสินทางปญญ รวมถึงการใช
                                                    ฎ                    ุ                  ญญา
                                                                                                                         S i l (CC) Human
                                                                                                                         Social
                                              ทรัพยสนทางปญญาหรือความคิดเพื่อเขาถึงแหลงเงินทุน
                                                      ิ                                                                  Capital          Capital
                                             ขับเคลื่อนและสรางโอกาสใหกับผูประกอบการ และพัฒนาบุคลากรวิชาชีพ           (SC)               (HC)
                                              เชิงสรางสรรคใหตรงกับความตองการของตลาด
                                                                                                                        Financial Capital (FC)
                   ย




                                             พัฒนาสถาบันและบูรณาการบทบาทของสถาบันที่เกี่ยวของ ใหเชื่อมโยงเปน
                                              เครือขายเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรค
      กลไก
         ก




                                             ศึึกษาวิิจัยและพัฒนาเชิิงลึึกใ
                                                               ั           ในสาขาเศรษฐกิิจสรางสรรคและทุนวััฒนธรรม
                                             ติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคของไทยอยางเปนระบบและตอเนื่อง

07 August 2009                                                                      Copyright NESDB                                                 26
Plan1 11
Plan1 11
Plan1 11
Plan1 11
Plan1 11
Plan1 11
Plan1 11

Contenu connexe

Tendances

สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandPattie Pattie
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์0884045430
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 
แผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการแผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการjax jaxguitar
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณAreeluk Ngankoh
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่marena06008
 

Tendances (15)

สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
๑.๖ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ศธ.จักราวุธ คำทวี
 
งานสำคัญ
งานสำคัญงานสำคัญ
งานสำคัญ
 
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง ประจำปีงบประ...
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
แผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการแผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการ
 
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคมศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
ศูนย์เรียนรู้ฯ สมเด็จพิทยาคม
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณ
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 

En vedette

MWG Big Data & Media - Mervyn Brookson (UM)
MWG Big Data & Media - Mervyn Brookson (UM)MWG Big Data & Media - Mervyn Brookson (UM)
MWG Big Data & Media - Mervyn Brookson (UM)MWG verbindt media
 
Presentatie Martin Hehrne MWG Themamiddag 'het meten van videocontent'
Presentatie Martin Hehrne MWG Themamiddag 'het meten van videocontent'Presentatie Martin Hehrne MWG Themamiddag 'het meten van videocontent'
Presentatie Martin Hehrne MWG Themamiddag 'het meten van videocontent'MWG verbindt media
 
MWG Game Changers - Jeroen van Eck (Joe Public)
MWG Game Changers - Jeroen van Eck (Joe Public)MWG Game Changers - Jeroen van Eck (Joe Public)
MWG Game Changers - Jeroen van Eck (Joe Public)MWG verbindt media
 
ApresentaçãO Ecoufsc
ApresentaçãO EcoufscApresentaçãO Ecoufsc
ApresentaçãO Ecoufscrafaelmatos
 
Modelling approaches to address crop-residue tradeoffs in mixed crop-livestoc...
Modelling approaches to address crop-residue tradeoffs in mixed crop-livestoc...Modelling approaches to address crop-residue tradeoffs in mixed crop-livestoc...
Modelling approaches to address crop-residue tradeoffs in mixed crop-livestoc...ILRI
 
Crop-livestock intensification in Southern Africa: Drivers, opportunities and...
Crop-livestock intensification in Southern Africa: Drivers, opportunities and...Crop-livestock intensification in Southern Africa: Drivers, opportunities and...
Crop-livestock intensification in Southern Africa: Drivers, opportunities and...Sabine Homann - Kee Tui
 

En vedette (7)

302 lebenslauf weihnachtsbaum
302 lebenslauf weihnachtsbaum302 lebenslauf weihnachtsbaum
302 lebenslauf weihnachtsbaum
 
MWG Big Data & Media - Mervyn Brookson (UM)
MWG Big Data & Media - Mervyn Brookson (UM)MWG Big Data & Media - Mervyn Brookson (UM)
MWG Big Data & Media - Mervyn Brookson (UM)
 
Presentatie Martin Hehrne MWG Themamiddag 'het meten van videocontent'
Presentatie Martin Hehrne MWG Themamiddag 'het meten van videocontent'Presentatie Martin Hehrne MWG Themamiddag 'het meten van videocontent'
Presentatie Martin Hehrne MWG Themamiddag 'het meten van videocontent'
 
MWG Game Changers - Jeroen van Eck (Joe Public)
MWG Game Changers - Jeroen van Eck (Joe Public)MWG Game Changers - Jeroen van Eck (Joe Public)
MWG Game Changers - Jeroen van Eck (Joe Public)
 
ApresentaçãO Ecoufsc
ApresentaçãO EcoufscApresentaçãO Ecoufsc
ApresentaçãO Ecoufsc
 
Modelling approaches to address crop-residue tradeoffs in mixed crop-livestoc...
Modelling approaches to address crop-residue tradeoffs in mixed crop-livestoc...Modelling approaches to address crop-residue tradeoffs in mixed crop-livestoc...
Modelling approaches to address crop-residue tradeoffs in mixed crop-livestoc...
 
Crop-livestock intensification in Southern Africa: Drivers, opportunities and...
Crop-livestock intensification in Southern Africa: Drivers, opportunities and...Crop-livestock intensification in Southern Africa: Drivers, opportunities and...
Crop-livestock intensification in Southern Africa: Drivers, opportunities and...
 

Similaire à Plan1 11

สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯPannatut Pakphichai
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54auy48
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development planechanok
 
2553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-25552553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-2555ps-most
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2Nus Venus
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57Temmie Wongwas
 
2.คำนำ สารบัญ
2.คำนำ  สารบัญ2.คำนำ  สารบัญ
2.คำนำ สารบัญJunior Bush
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการAffiya Aming
 

Similaire à Plan1 11 (20)

สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯสรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
สรุปสาระสำคัญของแผนพัฒนาฯ
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
 
Arc pr plan2011
Arc pr plan2011Arc pr plan2011
Arc pr plan2011
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
 
2553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-25552553 7-government-action-plan2552-2555
2553 7-government-action-plan2552-2555
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
 
การบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่น
การบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่นการบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่น
การบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่น
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
เอกสารเตร ยมสอบ พ ฒนากร 57
 
2.คำนำ สารบัญ
2.คำนำ  สารบัญ2.คำนำ  สารบัญ
2.คำนำ สารบัญ
 
NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 

Plus de Nithimar Or

Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Nithimar Or
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Nithimar Or
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Nithimar Or
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospitalNithimar Or
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health PonetongNithimar Or
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistryNithimar Or
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ CopyNithimar Or
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55Nithimar Or
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานNithimar Or
 
Oral health24 25nov@chiangmai
Oral health24 25nov@chiangmaiOral health24 25nov@chiangmai
Oral health24 25nov@chiangmaiNithimar Or
 

Plus de Nithimar Or (20)

Ummoua1
Ummoua1Ummoua1
Ummoua1
 
Ummoua2
Ummoua2Ummoua2
Ummoua2
 
Ummoua3
Ummoua3Ummoua3
Ummoua3
 
Ll101
Ll101Ll101
Ll101
 
Ummoa101
Ummoa101Ummoa101
Ummoa101
 
Ponetong hospital3
Ponetong hospital3Ponetong hospital3
Ponetong hospital3
 
Ponetong hospital2
Ponetong hospital2Ponetong hospital2
Ponetong hospital2
 
Ponetong hospital1
Ponetong hospital1Ponetong hospital1
Ponetong hospital1
 
Salapoom hospital
Salapoom hospitalSalapoom hospital
Salapoom hospital
 
Pochai
PochaiPochai
Pochai
 
Il payathai
Il payathaiIl payathai
Il payathai
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
 
Communication และ km jan55
 Communication และ km jan55 Communication และ km jan55
Communication และ km jan55
 
Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54Oha@chiangmai54
Oha@chiangmai54
 
Cross sectional
Cross sectionalCross sectional
Cross sectional
 
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงานรายละเอียดการนำเสนอผลงาน
รายละเอียดการนำเสนอผลงาน
 
Plan11
Plan11Plan11
Plan11
 
Oral health24 25nov@chiangmai
Oral health24 25nov@chiangmaiOral health24 25nov@chiangmai
Oral health24 25nov@chiangmai
 

Plan1 11

  • 1. แผนพฒนาเศรษฐกจและสงคมแหงชาต ฉบบท 1 11 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-11 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฐ นายอาคม เติิมพิิทยาไพสิิฐ รองเลขาธิิการคณะกรรมการพััฒนาการเศรษฐกิิจและสัังคมแหงชาติิ ไ นายธานินทร ผะเอม ที่ปรึกษาดานนโยบายและแผนงาน สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ บรรยายสําหรับหลักสูตรนักบริหารระดับสูง กระทรวงอุตสาหกรรม รุนที่ 10 ณ โรงแรมรอยั ล ปรินเซส หลานหลวง กรุงเทพฯ วันศุกรที่ 7 สิงหาคม 2552 เวลา 09.00 – 12.00 น. ๊ 07 August 2009 Copyright NESDB 1
  • 2. สวนที่ 1 บทบาท หนาที่ ของ สศช. สวนที่ 2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-10 สวนที่ 3 จากแผนฯ 10 สูแผนฯ 11 07 August 2009 Copyright NESDB 2
  • 3. 1) จัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เพื่อใชเปนกรอบและแนวทางในการพัฒนาประเทศในแตละชวงระยะเวลา 5 ป ดังนี้ • สํารวจ ศึกษา และวิเคราะหสภาวะเศรษฐกิจและสังคม เพื่อใชในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและการเสนอแนะนโยบาย มาตรการทางเศรษฐกิจและสังคมในการพัฒนาประเทศ • วิิเคราะห ประเมินแผนงานและโครงการพััฒนาของสวนราชการและรัฐวิิสาหกิิจใ เปนไป ป ิ โ ั ให ไปตามวััตถุประสงคเปาหมาย และแนวทางการพัฒนา ั ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ • ติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ รวมทั้งแผนงานโครงการพัฒนาของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจ • การประสานการพัฒนาเพื่อใหเกิดมีการแปลงแผนพัฒนาฯ ไปสูการปฏิบติ รวมทั้งการเผยแพรประชาสัมพันธเพื่อการพัฒนาไปสูประชาชนทุก  ั  กลุมอาชีพไดเกิดความรูความเขาใจ ตลอดจนเสริมสรางใหเกิดการเขามามีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ   2) ปฏิบติหนาที่ตามพ.ร.บ. วาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินงานในกิจการของรัฐ พ.ศ.2535 โดยทําหนาที่กํากับ ดูแล ั และตดตามผลการดาเนนงานใหเปนไปตามระเบยบและกฎหมายในการพฒนาบทบาทของภาคเอกชนทจะเขามาสนบสนุน และติดตามผลการดําเนินงานใหเปนไปตามระเบียบและกฎหมายในการพัฒนาบทบาทของภาคเอกชนที่จะเขามาสนับสนน กิจการของรัฐ ซึ่งเปนโครงการที่มีการลงทุนหรือมีทรัพยสินตั้งแตหนึ่งพันลานบาทขึ้นไป 3) ปฏิบัติหนาที่ตามระเบียบวาดวยงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ.2522 ซึ่งมีหนาที่สําคัญฯดังนี้ • พิจารณางบลงทุนประจําปของรัฐวิสาหกิจเพื่อเสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรี และกระทรวงเจาสังกัดของรัฐวิสาหกิจในประเด็นการบริหาร จัดการรัฐวิสาหกิจ ตลอดจนความเหมาะสมและความเปนไปไดของโครงการลงทุนของแตละรัฐวิสาหกิจ • กําหนดหลักเกณฑและวิธีการเพื่อใหรัฐวิสาหกิจแตละแหงถือปฏิบัติ โดยคํานึงถึงความคลองตัวในการดําเนินงานของรัฐวิสาหกิจนั้นๆเปน สําคัญ 4) ปฏิบัติงานตามหนาที่เฉพาะกิจที่ไดรับมอบหมาย หรือสั่งการจากคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีโดยตรงโดยสํานักงานฯทํา หนาที่เปนฝายเลขานุุการของคณะกรรมการพิเศษชุุดตางๆซึ่งมีนายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีเปนประธาน อาทิ คณะกรรมการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออก คณะกรรมการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใต คณะกรรมการรวม ภาครัฐบาลและเอกชนเพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ คณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ เปนตน 07 August 2009 Copyright NESDB 3
  • 4. สวนที่ 1 บทบาท หนาที่ ของ สศช. สวนที่ 2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-10 สวนที่ 3 จากแผนฯ 10 สูแผนฯ 11 07 August 2009 Copyright NESDB 4
  • 5. ยุคทองของการวางแผน ยุคผััน ผวน ทางการ เมือง ยุคประชาธิปไตย แผนฯ 1 ยุคเปลี่ยนผานสูู ุ 2504-09 2504 09 กระบวนทัศนใหม แผนฯ 2 2510-14 ยดคนเปนศูนยกลางเนน ยึดคนเปนศนยกลางเนน แผนฯ 3 การมีสวนรวม 2515-19 ใชเศรษฐกิจเปนเครื่องมือ พัฒนาคน เนนการเติบโตทางเศรษฐกิจดวย ฐ แผนฯ 4 การพัฒนาโครงสรางพืนฐาน ้ 2520-24 แผนฯ 5 2525-29 ยึดปฏิบัติตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมุงสูู ฐ ุ สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน แผนฯ 6 เนนการพัฒนา 2530-34 เศรษฐกิจ แผนฯ 7 ควบคูกับการ ู 2535-39 พัฒนาสังคม แผนฯ 8 2540-44 แผนฯ 9 2545-49 เนนเสถียรภาพเศรษฐกิจ มุง พัฒนาภูมิภาค ชนบท แผนฯ 10 2550-54 07 August 2009 Copyright NESDB 5
  • 6. แผนฯ 1 (2504 - 2509) ยุคทองของการวางแผนเศรษฐกิจ 1. วางแผนจากสวนกลางแบบ “จากบนลงลาง” ใชแนวคิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Development with growth) โดยเนนการพัฒนาโครงสรางพืนฐาน (คมนาคมขนสง โทรคมนาคม เขื่อนเพือชลประทานและ ้ ่ ไฟฟา รวมทั้งสาธารณูปการ-Project-oriented approach) 2. มุงยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชน (รายได) 3. ปรบปรุงการบรหารงานทุกดานใหมประสทธภาพ 3 ปรับปรงการบริหารงานทกดานใหมีประสิทธิภาพ สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 1 1. เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยูกับภาคเกษตร ขาว ยางพารา ไมสัก ดีบุก 2. เศรษฐกิจขยายตัว 8 % ตอป (เปาหมาย 5%) และดําเนินโครงการเขื่อนเจาพระยา และกอสรางเขื่อนภูมิพล 3. อตราเพมของประชากรสูงขน ประมาณรอยละ ตอป 3 อัตราเพิ่มของประชากรสงขึน ประมาณรอยละ 3 ตอป ้  2493 จัดตั้งสภาเศรษฐกิจแหงชาติ เสนอคําแนะนําแกรัฐบาลดานเศรษฐกิจของประเทศ (จอมพล ป.พิบูลสงคราม)  2502 เปลี่ยนชื่อสภาเศรษฐกิจแหงชาติ เปนสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติเปนหนวยงานถาวร จัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ หรือ ผังเศรษฐกิจแหงชาติ และพิจารณาโครงการเสนอรัฐบาล  2504 รััฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรััชต ประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับแรก (การริเริมจััดทําแผนฯ มีีขึ้นตัั้งแต ป 2500) ป ใ ั ั ่ แผนฯ 2 (2510 - 2514) ยุคทองของการพัฒนา 1. แนวคิดการวางแผนพัฒนารายสาขา (Sectoral development planning) และขยายขอบเขตแผนครอบคลุม การพัฒนารัฐวิสาหกิจและองคการบริหารสวนทองถิน ่ 2. ลงทุนในโครงสรางพื้นฐานตอเนื่องจากแผนฯ 1 3. พัฒนาชนบทเพื่อเสริมสรางความมั่นคง และกระจายผลการพัฒนา (รอยละ 75-80 ของงบพัฒนาเปนการลงทุน ในภูมิภาค 4. สงเสริมเอกชนใหมีบทบาทรวมในการพัฒนาประเทศ สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 2 1. ปญหาความแตกตางดานรายได มีชองวางรายไดเพิ่มขึ้น 2. เศรษฐกิจขยายตัวรอยละ 7.2 ตอป เศรษฐกิจถดถอยหลังจากขยายตัวมาเปน 10 ป 3. ประชาชนไดรบประโยชนจากโครงสรางพืนฐานไมเทาเทียมกันและอยูในวงจํากัด ั ้ 4. การเพิ่มจํานวนของประชากรในอัตราสงสงผลตอความเปนอยของประชากรโดยรวม 4 การเพมจานวนของประชากรในอตราสูงสงผลตอความเปนอยู กอสรางทางหลวงแผนดิน 1,700 กม. และทางหลวงจังหวัด 2,100 กม. 07 August 2009 Copyright NESDB 6
  • 7. แผนฯ 3 (2515-2519) : การพัฒนาสังคมควบคเศรษฐกิจ (2515 2519) การพฒนาสงคมควบคู ศรษฐกจ 1. กําเนิดของการวางแผนพัฒนาสังคมและวัตถุประสงคการพัฒนาที่หลากหลาย (Growth + Social fairness + Income distribution) 2. กระจายการพัฒนาสูภูมิภาค เรงรัดพัฒนาภาคและชนบท 3. เนนการเพิ่มผลผลิตการเกษตร เพิ่มรายไดประชาชนใน ชนบท เพื่อลดความตางของรายได 4. สรางความเทาเทียมในการใชประโยชนจากบริการของรัฐ โดยเฉพาะดานการศึกษาและสาธารณสุข สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 3 1. ปญหาการกระจายรายได และความไมเทาเทียมในการเขาถึงบริการรัฐมีความรุนแรง 2. เศรษฐกิจขยายตัว 6.5 % ราคาน้ํามันเพิ่มขึ้น 4 เทา (วิกฤติน้ํามันครั้งแรก) และอัตราเงินเฟอสูงถึง 15.5% ในป 16 สงผลใหเศรษฐกิจซบเซาชวงหลังของแผนฯ 3 3. การเมืองมีความผันผวนเปลี่ยนแปลงรัฐบาลบอยครั้ง ศก.โลกตกต่ํา น้ํามันแพง 4. ราคาสินคาเกษตรตกต่ํา 5. การวางงานเพิ่มขึ้น 2515 เปลี่ยนชื่อ สภาพฒนาการเศรษฐกจแหงชาต เปนสนง คณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกจและสงคมแหงชาต จัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปลยนชอ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ เปนสนง.คณะกรรมการพฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จดทาแผนพฒนาเศรษฐกจและสงคมแหงชาต แผนฯ 4 (2520 – 2524) : เรงฟนฟูเศรษฐกิจและสังคม 1. พัฒนาตอเนื่องจากแผนฯ 3 โดยยึดถือความมั่นคงปลอดภัยของชาติเปนพื้นฐานของการพัฒนา แนวคิดการ พฒนาระหวางสาขารวมกน (Inter sectoral พัฒนาระหวางสาขารวมกัน (Inter-sectoral planning) 2. เรงฟนฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศใหมั่นคง เชน การผลิตสินคาเพือทดแทนการนําเขา ปรับปรุง ่ นโยบายการควบคุมราคาสินคาและเรงรัดการสงออก 3. เนนเสริมสรางสวัสดิภาพทางสังคมแกคนในชาติมากกวาเนนการขยายตัวทางเศรษฐกิจเปนหลัก สภาว เศรษฐกจแล สงคมในชวงแผนฯ สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 4 1. ยุคการเมืองรุนแรง พรรคคอมมิวนิสตขยายตัว 2. การพัฒนาดานประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตรต่ํา 2. เศรษฐกิจขยายตัวรอยละ 7.4 เงินเฟอสูงถึงรอยละ 11.7 และขาดดุลการคา 3. ทรัพยากรธรรมชาติเสือมโทรม ่ 4. การใหบริการทางสังคมไมเพียงพอและไมทั่วถึง 5. ไทยยกระดับกลายเปนประเทศกําลังพัฒนาที่มีรายไดปานกลาง จากประเทศรายไดต่ํา สัดสวนภาคอุตสาหกรรมขยายตัวทําใหมีสัดสวนมากกวาภาคการเกษตรเปนครั้งแรกและขยายตัวอยางตอเนื่อง 07 August 2009 Copyright NESDB 7
  • 8. แผนฯ 5 (2525 - 2529) : การแกไขปญหาและปรับสการพัฒนายคใหม การแกไขปญหาและปรบสู ารพฒนายุคใหม 1. วางแผนโดยยึดหลักภูมิภาคและพื้นที่ กําหนดพื้นที่เปาหมายเพื่อแกปญหาความยากจน เปาหมายเพื่อความ มั่นคง และพืนที่รองรับอุตสาหกรรม ESB ้ 2. เนนการปรับโครงสรางเศรษฐกิจมากกวาการมุงขยายอัตราความเจริญทางเศรษฐกิจ 3. พฒนาเศรษฐกจและสงคมบนความสมดุล 3 พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนความสมดล 4. พัฒนาการแปลงแผนไปสูภาคปฏิบัติ 5. เพิ่มบทบาทและระดมความรวมมือจากภาคเอกชน สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 5 1. แผนพฒนาชนบท เพื่อแกไขปญหายากจนในชนบท 1 แผนพัฒนาชนบท เพอแกไขปญหายากจนในชนบท 2. แผนพัฒนาเชิงรุก เชน การพัฒนาพื้นที่ ESB การริเริ่ม กรอ. 3. แผนพัฒนาเพื่อความมั่นคง เชน หมูบานอาสาและพัฒนาปองกันตนเอง 4. เศรษฐกิจขยายตัวต่ําเทียบกับชวงแผนฯ ที่ผานมา เพียงรอยละ 5.4 ตอป 5. รัฐบาลสามารถกระจายบริการสังคมไดกวางขวางมากขึ้น เชน โรงพยาบาลประจําอําเภอ สศช. กับแผนงานพัฒนาพื้นที่ ESB และพื้นที่เมืองหลัก เปนการพัฒนาประเทศแนวใหมยึดพื้นที่ แผนฯ 6 (2530 – 2534) : การจัดทําแผนสูระดับกระทรวง 1. กําหนดขอบเขตและวิธีการใชแผนฯ ที่ชัดเจน มีทั้งระยะสั้น กลาง ยาว และแผนปฏิบัติระดับกระทรวง 2. เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาประเทศทั้งดานทรัพยากรมนุษย พัฒนาวิทยาศาสตรและการบริหารจัดการ 3. ปรับปรุงระบบการผลิตและการตลาด 4. ยกระดับคุณภาพปจจัยพื้นฐานเพื่อลดตนทุน สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 6 1. หนี้ตางประเทศลดลง ทุนสํารองเพิ่มขึ้น 2. เศรษฐกิจฟนตัว และขยายตัวรอยละ 10.9 ตอป (สูงสุดในรอบ 25 ปที่ผานมา) 3. การจางงานภาคอุตสาหกรรม/บริการเพิ่มขึ้น 4. 4 ปญหาความเหลืื่อมลํ้ํารายไดระหวางกลุมครััวเรือน และชนบทกับเมืองมากขึ้น ไ  ื ั ื ึ 07 August 2009 Copyright NESDB 8
  • 9. การพฒนาทยงยน การพัฒนาที่ยั่งยืน 1. เริ่มแนวคิด “การพัฒนาที่ยั่งยืน” 2. มุงสูเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ รักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กระจายการพัฒนาสูภูมิภาคและ ชนบท และพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ 3. พฒนาเศรษฐกจสู ศรษฐกจดานหนาในภูมภาค และยกระดับส ะดบนานาชาต 3 พัฒนาเศรษฐกิจสเศรษฐกิจดานหนาในภมิภาค และยกระดบสูระดับนานาชาติ สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 7 1. รายไดตอหัวเพิ่มถึง 28 เทาจากแผนฯ 1 เปน 77,000 บาท 2. เศรษฐกิจขยายตัวรอยละ 8.1 ตอป เงินเฟอเฉลี่ย 4.8 % 3. ทนสํารองสงถึง USD 38 700 ลาน 3 ทุนสารองสูงถง 38,700 ลาน “เศรษฐกิจดี สังคมมีปญหา การพัฒนาไมยั่งยืน”  ป 2539 ในชวงปลายแผนฯ 7 ประเทศไทยกาวเขาสูวิกฤตเศรษฐกิจ สภาวะแวดลอม สภาวะแวดลอม แผนฯ 1 - แผนฯ 7 (2504 - 2539) ผล ทบทวน • การเมือง/ ปกครองรวม โดยราชการ เพอประชาชน เพื่อประชาชน • เศรษฐกิจดี เศรษฐกจด ผลการ • ศูนยอานาจ ํ เศรษฐกิจ • สังคมมี พัฒนา ปญหา นําสังคม บริหารแบบควบคุม สั่งการ เปน Top- • การพัฒนา • ใชทรัพยากร แผนฯ แรงงาน down มีกรอบใน มกรอบใน การวางแผน ไมย่งยืน ั 1-7 ปรั ป ับ ปรับตัว/พรอมรับการเปลียนแปลง ่ กระบวนทรรศน ใหมในการพัฒนา 07 August 2009 Copyright NESDB 9
  • 10. “คน” เปนศนยกลางการพัฒนา คน เปนศูนยกลางการพฒนา 1. เนนคนเปนศูนยกลางการพัฒนา และใชการพัฒนาเศรษฐกิจเปนเครื่องมือ 2. ปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดทําแผนใหมเปนแบบ “จากลางขึ้นบน” บูรณาการแบบองครวม ไมพัฒนาแยก สวน 3. ภาคประชาชนมีสวนรวมพัฒนา 4. แปลงแผนสูปฏิบัติ โดยยึดหลักการพื้นที่ ภารกิจ และการมีสวนรวม สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 8 1. วิกฤตเศรษฐกิจป 2540 2. ปญหาสถาบันการเงิน 3. หนึ้ตางประเทศและหนึสาธารณะเพิ่มขึ้น ้ 4. มีเครือขายการพัฒนารวมกับภาครัฐ มุงเนนการพัฒนาแบบองครวม เปนการวางรากฐานการมีสวนรวมของประชาชน เกิดวิกฤต สภาวะแวดลอม สภาวะแวดลอม แผนฯ 8 ปรบแผนฯ ปรับแผนฯ 8 การปรับ • เผชิญกระแส โลกาภิวัตนที่รุนแรง • โดยประชาชน เพื่อประชาชน • ปรับกรอบเศรษฐกิจ มหภาค • เศรษฐกิจ • คน-ศููนยกลางการพัฒนา • ลดผลกระทบตอคน แผนฯ 8 สงสััญญาณ มีปญหา • เศรษฐกิจเปนเครื่องมือในการ พัฒนาคน สัังคม • ปรับโครงสราง (40-44) • การพัฒนากระจุกตัว ไมกระจาย • วิธีการพัฒนา-เนนองครวมและ บูรณาการ เศรษฐกิจ • ปรับระบบบริหาร • มีปญหาสังคม คุณภาพ จัดการ ชวต ทรัพยากรธรรมชาติ ชีวิต ทรพยากรธรรมชาต • บริหารแบบชี้นํา บรหารแบบชนา เสื่อมโทรม สรางการมีสวนรวม เปน Bottom-up 07 August 2009 Copyright NESDB 10
  • 11. อัญเชิญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ยึดคนเปนศูนยกลางการพัฒนาตอเนื่องจากแผนฯ 8 2. มุงการพัฒนาที่สมดุลคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม 3. เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน 4. บริหารจัดการที่ดี ในทุกระดับ สภาวะเศรษฐกจและสงคมในชวงแผนฯ 9 ส ศ ิ สั ใ ช 1. นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช 2. คุณภาพชีวิตดีขึ้น ทั้งดานสุขภาพ ยาเสพติด และการกระจายรายได สรางกระบวนการมีสวนรวมของภาคีการพัฒนาทุกระดับอยางกวางขวาง เหตุการณรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 3 สังคมที่พึงประสงค สงคมทพงประสงค สังคม สังคม สังคม แหงภูมิปญญา สมานฉันท คุณภาพ การเรียนรู เอื้ออาทร 4 วัตถุประสงคหลัก ฟนฟูเศรษฐกิจ วางรากฐาน การบริหาร การพัฒนา จัดการที่ดี แกไขปญหา ใหมีเสถียรภาพ ประเทศให ประเทศให ความยากจน มั่นคง เขมแข็ง ยั่งยืน ในทุกระดับ 7 ยุทธศาสตรการพัฒนา 2 3 4 6 7 เพิ่มสมรรถนะ ขีด 1บรหาร บริหาร จัดการที่ดี คน สังคม ชนบท เมือง ทรพยากร ทรัพยากร สิ่งแวดลอม 5 บรหาร บริหาร เศรษฐกิจ สวนรวม ความสามารถใน การแขงขัน ความ เขมแข็ง ว&ท การบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อการแปลงแผนสูการปฏิบัติ 07 August 2009 Copyright NESDB 11
  • 12. การปฏบตตามปรชญาของเศรษฐกจพอเพยงเพอ การปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ สรางสมดุลและมีความอยูเย็นเปนสุขรวมกัน 1. ยึดกระบวนทรรศนการพัฒนาตอเนื่อง จากแผนฯ 8 และ แผนฯ 9 2. ประกอบดวย 5 ยุทธศาสตรการพัฒนา ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและ ยุทธศาสตรการพัฒนาบนฐานความ สังคมไทยสูสงคมแหงภูมิปญญาและการ  ั หลากหลายทางชีวภาพ และสรางความมั่นคง เรียนรู ของฐานทรัพยากรและคุณภาพ สวล. ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของชุมชน ยุทธศาสตรการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการ และสงคมเปนฐานทมนคงของประเทศ และสังคมเปนฐานที่มั่นคงของประเทศ บรหารจดการประเทศ บริหารจัดการประเทศ ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจให สมดุลและยั่งยืน สภาวะเศรษฐกจและสงคมในชวงแผนฯ สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในชวงแผนฯ 10 1. การเตรียมพื้นทีใหม (SSB) เพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรม ่ 2. การเมือง เศรษฐกิจผันผวน สังคมแตกความสามัคคี 3. สภาพเศรษฐกิจเขาสภาวะถดถอย จากทั้งปจจัยภายในและภายนอก ฐ ู 4. การนําทุน 3 ดานมาพิจารณา (ทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุนทรัพยากรธรรมชาติ) Subprime & Global financial crisis 2551 การประทวงทางการเมือง และการปดสนามบินสุวรรณภูมิ เม.ย. 2552 เหตุการณความวุนวายทางการเมือง 07 August 2009 Copyright NESDB 12
  • 13. สวนที่ 1 บทบาท หนาที่ ของ สศช. สวนที่ 2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-10 สวนที่ 3 จากแผนฯ 10 สูแผนฯ 11 07 August 2009 Copyright NESDB 13
  • 14. 2547 2 ปแรกของแผนฯ 10 (50 - 51) เชื่อมโยงเพิ่มขึ้นตอเนื่อง เชน ASEAN +3, ASEAN +6 เปนตน ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก สัดสวนการสงออกไทยในโลก เพิมขึนเปน 1.12% (ชวงแผนฯ 9 = 1.08%) ฐ ่ ้ • ผลิตภัณฑเทคโนโลยีใหมเพิ่มขึ้นอยางเนื่อง • มีการจดสิทธิบัตรเพิ่มมากขึ้นในประเทศไทย เชน สิทธิของยีนความหอมในขาว เทคโนโลย เทคโนโลยี สัดสวนผูสูงอายุ (60ป+) 60ป+) * ยังคงมีโรคระบาดใหมเกิดขึ้น เชน ไขหวัดใหญสาย 2548 2552 พนธุ หม พันธใหม 2009 (AH1N1) สัังคม 10.4 11.5 แรงงานตางดาวในประเทศไทยยังคงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และผูหลบหนีเขาเมือง การเคลื่อนยายคนเสรี เชน โรฮิงญา • สิ่งแวดลอม ภาวะอากาศแปรปรวน น้ําทวม การกัดเซาะชายฝง • ราคาน้้ํามันยังคงผันผวน ทําสถิติสงสุดที่ 147 $/bbl (กลางป 51) ู ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม • การผลิตพลังงานทางเลือกจากพืช 07 August 2009 Copyright NESDB 14
  • 15. แผนฯ10 แผนฯ10 สรางความสมดุลระหวาง 3 ทุน เพือสรางความคุมกัน ่ เศรษฐกิิจ ทรัพยากร สังคม ธรรมชาต ธรรมชาติ วิสัยทัศนฯ 2570: แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของโลกใน 20 ป ขางหนา 2570: 1. การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจในภููมิภาค ฐ 5. ประชากรสูงอายุุ ู 2. เศรษฐกิจโลกจะเปลี่ยนศูนยกลางอํานาจมาอยูที 6. ปญหาดานพลังงาน ประเทศแถบเอเชียมากขึ้น 3 3. การเปลี่ยน ล าน ล นแปลงด นการเงินโลกล ภ ุ ม ภ ล 7. ปญหาภัยคกคามจากภาวะโลกรอน 4. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีกับการดํารงชีวิตของมนุษย 07 August 2009 Copyright NESDB 15
  • 16. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิสัยทัศนฯ 2570 แผนฯ 10 07 August 2009 Copyright NESDB 16
  • 17. การวิเคราะหทุนของประเทศ การวิเคราะหทุนของประเทศ ในชวงแผนฯ 10 ในระยะตอไป (แผนฯ 11) สร า งความสมดุ ล ระหว า งทุ น 3 ทุน คื อ ทุ น ความเชื่อมโยงระหวางทุนทั้ง 6 ทุน คือ ทุนธรรมชาติ ทุน เศรษฐกิจ ทุนสัง คม และทุนทรัพยากรธรรมชาติ/ กายภาพ ทุนสังคม ทุนมนุษย ทุนการเงิน และทุนวัฒนธรรม สิ่งแวดลอม เพื่อมุงสูสังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน Financial Capital (FC) Tangible ทุนสังคม ุ ฐ ทนเศรษฐกิจ Natural Capital p Physical Capital y p (NC) (PC) e Feature Cultural Capital (CC) ทุนทรัพยากรธรรมชาติ/ สงแวดลอม สิ่งแวดลอม Intangible Social Capital Human Capital (SC) (HC) Broad-based Specific Scope 07 August 2009 Copyright NESDB 17
  • 18. ประเด็นระดมความคิดเห็นสูแผนฯ 11 การประชุมประจําปของ สศช. เมื่อวันที่ 10 กรกฏาคม 2552 การสรางกระบวนการมสวนรวมเพอนาไปสูการกาหนดกรอบการพฒนาประเทศ ส ส  ี ื่ ํ ไปส ํ ั ป ศ 1 วกฤตการเงนโลกไดสงผลตอการปรบเปลยน วิกฤติการเงินโลกไดสงผลตอการปรับเปลี่ยน  ภูมทศนใหม จึงจําเปนตองกําหนดแนวทางในการเปลี่ยนวิกฤติใหเปนโอกาส ดวยการกําหนดยุทธศาสตรใน ิ ั การขยายตัวทางเศรษฐกิจใหสอดคลองกับการเปลียนแปลง ่ 2 สงเสริมการปรับโครงสรางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการ ผลิตและบริการใหมีการสรางมูลคาเพิ่มที่สูงขึ้น และการแกไขปญหาเชิงโครงสรางของประเทศ ใน ขณะเดยวกนจะเปนการสรางธุรกจใหมทใชศกยภาพแฝงซงมอยู นสงคมไทย ขณะเดียวกันจะเปนการสรางธรกิจใหมทใชศกยภาพแฝงซึ่งมีอยในสังคมไทย ี่ ั 3 รูวิกฤติ สรางโอกาสการพัฒนาเพือปองกัน เตือนภัย และ ่ บรรเทาภยตอผลกระทบทจะเกดขน เนนการเปนปจจัยสนับสนนตอการพัฒนาในอนาคตส เศรษฐกจสเขยว บรรเทาภัยตอผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เนนการเปนปจจยสนบสนุนตอการพฒนาในอนาคตสู ‘เศรษฐกิจสีเขียว’ 4 เนนการสรางผลิตภาพและคุณภาพทั้งในเชิงความรู ความคิด สรางสรรค และมีคุณธรรมนํา ซึงรวมถึงการสรางจิตสํานึกสาธารณะใหเกิดขึ้นอยางยังยืน ่ ่ 5 เปนแนวปฏิบติในการอยูรวมกนในสงคมอยางสงบสุข ปลอดภยและมนคง ป ป ิ ั ิ ั ใ ั  ป เนนสรางความเขมแข็งของโครงสราง กลไกและกระบวนการบริหารจัดการของทุกภาคสวนของสังคม 07 August 2009 Copyright NESDB ั ่ั 18
  • 19. 1. ความทาทายและโอกาสของเศรษฐกิจไทย แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของโลกใน 20 ป ขางหนา แผนพฒนาฯ ฉบบท่ 10 แผนพัฒนาฯ ฉบับที 1 การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจในภมิภาค 1. การรวมตวกนทางเศรษฐกจในภูมภาค 1. การพัฒนาคุณภาพคน 2. เศรษฐกิจโลกจะเปลี่ยนศูนยกลางอํานาจมาอยูที 2. การสรางเขมแข็งของ ประเทศแถบเอเชียมากขึ้น ชุมชน 3. การเปลีี่ยนแปลงดานการเงินโลก ป ป ิ โ 3. การปรับโครงสราง 4. ประชากรสูงอายุ เศรษฐกิจ 5. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีกับการดํารงชีวิตของ 4. การพัฒนาบนฐานความ มนุษย หลากหลายทางชีวภาพ 6. ปญหาดานพลังงาน 5. การเสริมสราง 7. ปญหาภัยคุกคามจากภาวะโลกรอน ธรรมาภิบาล ิ 1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลกในระยะปานกลางมีแนวโนมที่จะอยูในระดับต่ํา 2. การปรับตัวของตลาดการเงินในลักษณะ Multiple financial nodes และระบบการกํากับดูแล สถาบันการเงินเขมงวดมากขึ้น 3. การขาดแคลนนาและพนทการเกษตร 3 การขาดแคลนน้ําและพื้นที่การเกษตร 4. การวางงานและสังคมผูสูงอายุ 5. ภาวะโลกรอน วิกฤตเศรษฐกิจโลก 6. ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ความเสี่ยงใหมหลัง 7. แนวคิด Sustainable capitalism and CSR ู 8. การคาและความรวมมือในภมิภาคเพิ่มมากขึน ้ ฤ ฐ วิกฤตเศรษฐกิจโลก 9. ภูมภาคเอเชียเพิ่มบทบาทบนเวทีการเมืองโลก ิ 2550 2552 2554 2556 2558 2560 2562 2564 2566 2568 2570 07 August 2009 Copyright NESDB 19
  • 20. วิกฤติจากการ วิกฤติราคาน้ํามัน เปลี่ยนแปลง และพลังงาน ภูมิอากาศของโลก ความไมสมดุล ุ วกฤตเศรษฐกจ วิกฤติเศรษฐกิจ ความเสี่ยง ของเศรษฐกิจ สหรัฐอเมริกา โลก วิิกฤติิความมัั่งคง วิกฤติทางดาน ทางดานอาหาร สังคม ภมิทศนใหมของโลก ภูมทัศนใหมของโลก 1. การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจหลังวิกฤตการณจะลดลง ฐ ฤ 2. Multi Polar World 3. บริบทใหมของภาคการเงิน (Regulatory Reform) 4. ปญหาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิิจ (เงิินเฟอ คาเงิน USD อััตราดอกเบี้ย และหนีี้สาธารณะ) ี ฟ  ิ ี าธารณะ) 07 August 2009 Copyright NESDB 20
  • 21. ระยะสน ระยะสั้น : รักษาอัตราการขยายตัวและลดความเสียงจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ่ น ฐ ระยะยาว : ปรับตัวใหสอดคลองกับกระแสการเปลี่ยนแปลง • ขยายตลาดและสรางความรวมมืือในภูมิภาค  ใ เศรษฐกิจ/การเงินโลก • พัฒนาและปรับโครงสรางภาคการผลิต • สรางความไดเปรียบดานฐานการผลิตภาคการเกษตร ฐ อาหาร พลังงานและสิ่งแวดลอมโลก • พัฒนามูลคาเพิ่มของสินคาเกษตร และอาหาร • การพัฒนาพลังงานทดแทน การเปลีี่ยนแปลงสภาพภูมอากาศ ป ป ิ • Green Job / Green Growth / Green Economy ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคม • ขยายภาคธรกิจบริการดแลผสงอายุ ขยายภาคธุรกจบรการดูแลผู งอายู สังคมผูสงอายุ ู การแพทยและสุขภาพ และ Long stay tourisms • สงเสริมความรวมมืทางการผลิต / การคา / การลงทุน ความรวมมือประเทศเพื่อนบาน / ภูมภาค ื ป ื ิ • พััฒนาสัังคมและสิ่งแวดลอม ิ • สรางความรวมมือเพื่อลดความเสี่ยงทางการเงิน 07 August 2009 Copyright NESDB 21
  • 22. วิกฤตเศรษฐกิจสงผลตอการขับเคลือนเศรษฐกิจดวยการสงออกและแรงงานราคาถูก ่ เปนไปอยางยากลําบากมากขึ้น ผลกระทบจากวกฤตเศรษฐกจในระยะสนในชวงปลายป ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจในระยะสันในชวงปลายป 2551 ตอเนื่องจนถึงปจจบัน ้ ตอเนองจนถงปจจุบ การผลิต ภาพรวมผลกระทบของวิกฤตเศรษฐกิจโลกและไทย หดตว หดตัว การขยายตัวทาง การสงออก การใหสินเชื่อ ภาคอุตสาหกรรม รุนแรง เศรษฐกิจ หดตัว ภาคบริการ ความสามารถใน การจางงาน การแขงขน การแขงขัน ภาคเกษตรกรรม ชะลอตัว วิกฤตเศรษฐกิจโลกกอใหเกิดผลกระทบในเชิงลบที่กระจายวงกวาง สะทอนถึงความเชื่อมโยงและการพึ่งพิงกับภาคเศรษฐกิจตางประเทศอยางชัดเจน อยางไรก็็ดี ภาคเกษตรยัังคงเปนฐานเศรษฐกิิจสําคััญและไดรับผลกระทบนอยกวาภาคการผลิตอื่น ไ ไ   ิ ื การแกไขขอจํากัดจากภายนอกนี้คือ ไทยตองมุงหาแนวทางการพัฒนาใหมๆ (New Source of Growth) 07 August 2009 Copyright NESDB 22
  • 23. บริบทการเปลี่ยนแปลงที่สงผลตอการเรงปรับโครงสรางการผลิตของประเทศ และพัฒนาเศรษฐกิจยุคใหม (Knowledge economy & Creative Economy) ปจจยภายนอก ปจจัยภายนอก ภาวะเศรษฐกิจโลกที่กําลังซื้อหดตัว สงผลใหปริมาณการผลิตของภาคอุตสาหกรรมการ ทางเลือกใหม: ผลิตในประเทศลดลง เศรษฐกิจยุคใหม ความผัันผวนของราคานํ้ํามัันทีี่เปนอุปสรรคของการประมาณการผลิิตใ ป ในภาคการผลิิต (New Economy) (N E ) และการขาดแคลนเทคโนโลยีเพื่อการผลิตพลังงานทดแทน - เศรษฐกิจสรางสรรค (Creative ปจจัยภายใน การกีดกันทางการคา economy) สินคาและบริการที่ใช สนคาและบรการทใช การปรั บ ระดั บ และบั ง คั บ ใช ม าตรฐานสิ่ ง แวดล อ ม ในรู ป ของมาตรฐาน ความคิดสรางสรรคเปนตัว ภายในประเทศใหมีความปลอดภัยมากขึ้น สิ่ ง แวดล อ มระหว า ง ป ร ะ เ ท ศ ทํ า ใ ห ขับเคลื่อน (Creativity driven ป ญ หาด า นพื้ น ที่ ตั้ ง หรื อ แหล ง ที่ ตั้ ง อุุ ต สาหกรรม และ ผู ผ ป ร ะ ก อ บ ก า ร growth) โครงสร า งพื้ น ฐานที่ ไ ม เ พี ย งพอ รวมถึ ง ข อ จํ า กั ด ด า น ภายในประเทศตองใช - การปรับโครงสรางภาค กฎหมาย เวลาในการปรับตัวอัน เศรษฐกิจจริง ที่มุงเนนการเพิ่ม การพึ่งพาชิ้นสวนและอุปกรณจากตางประเทศ และการ เนื่ อ งมาจากต น ทุ น คุณคา/สรางมูลคาเพิ่ม และแกไข ขาดการสงเสรม/พฒนาศกยภาพทางเทคโนโลย ขาดการส ง เสริ ม /พั ฒ นาศั ก ยภาพทางเทคโนโลยี ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ล ภายในประเทศ โครงสร า งการผลิ ต ที่ ปญหาเชิงโครงสราง โดย Quality- ตองใชตนทุนที่สูงขึ้น driven growth: เพิ่มผลผลิต สราง การขยายบทบาทและการเข า มามี ส ว นร ว มของภาค ประชาชนมากขึ้น Investment climate และใชS&T, Knowledge เศรษฐกิจไทยมีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกสูง และการพัฒนา การเพิ่มขีดความสามารถ อุตสาหกรรมเดิมที่สําคัญ มีขอจํากัดตางๆที่ทาใหตองใชเวลาในการปรับตัวตอบริบทการ ํ  ในการแขงขัน เปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคตที่จะกระทบตอการพัฒนามากขึ้น ของประเทศไทย 07 August 2009 Copyright NESDB 23
  • 24. 2. การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคควบคูกับเศรษฐกิจฐานความรู New Economy 6 Capitals (6Ks) of (6 capitall intensiveness it i t i แผน 11 the Nation Creative Economy (2555 – 2559) 2559) Creative-driven Industries Natural Physical Knowledge Based Economy Capital Capital ICT-driven Industries (NC) Cultural (PC) แผน 6 แผน 7-8 แผน 9-10 Capital R&D-driven Industries (2530-2534) (2539-2544) (2545-2551) Social (CC) Human Capital Capital - Computer & - Computer & - Computer & No 1 exp (SC) (HC) Component Component Component - IC - IC o. Old Economy - Automobile capital intenseness - Rice - Textile - Jewelry Top 5 exp - Textile - Processed Differentiated Assembly - Processed food -driven Industries p food - Jewelry Financial Capital (FC) Non-differentiated Scale นอย มาก -driven Industries Value Creation Level Factor-driven Industries 07 August 2009 Copyright NESDB 24
  • 25. “เศรษฐกิจสรางสรรค” ฐ คือ แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใชองคความรูู (Knowledge) การศึกษา ฐ ฐ ( g) (Education) การสรางสรรคงาน (Creativity) และการใชทรัพยสินทางปญญา (Intellectual property) ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทาง วัฒนธรรม (Culture) การสั่งสมความรูของสังคม (Wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม (Technology and Innovation) ขอบเขตของเศรษฐกิจ มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ (Heritage or Cultural/biodiversity-based Heritage) Cultural/biodiversity-  งานฝมือและหัตถกรรม สรางสรรคในประเทศไทย  อาหารไทย  การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม/ความหลากหลายทางชีวภาพ การทองเทยวเชงวฒนธรรม/ความหลากหลายทางชวภาพ ส ศ ช . ไ ด จัั ด ป ร ะ เ ภ ท เ ศ ร ษ ฐ กิิ จ  การแพทยแผนไทย ส ร า ง ส ร ร ค โ ด ย ยึ ด รู ป แ บ บ ข อ ง UNCTAD เปนกรอบ และปรั บ ศิลปะ (Arts)  ศิลปะการแสดง เพมเตมตามรู ป แบบของ UNESCO ่ิ ิ  ทัศนศิลป ทั้ง นี้เ ปนการกําหนดกรอบโดยกวาง เพื่ อ ประโยชน ใ นการวั ด ขนาดทาง สื่อ (Media) เศรษฐกจของอุตสาหกรรมและบรการ เศรษฐกิจของอตสาหกรรมและบริการ  ภาพยนตรและวีดีทัศน ภาพยนตรและวดทศน การพิมพ  การกระจายเสียง ดนตรี สร า งสรรค ข องไทย และสะท อ นถึ ง ความสําคั ญต อระบบเศรษฐกิ จ ไทย งานสรางสรรคและออกแบบ (Functional Creation) โดยแบงเปน กลุ หลักและ โดยแบงเปน 4 กลมหลกและ 15  การออกแบบ แฟชั่น แฟชน  สถาปตยกรรม การโฆษณา สาขายอย  ซอฟตแวร 07 August 2009 Copyright NESDB 25
  • 26. Economic  พัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคควบคูไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรู Capital (EC) แนวนโยบาย  กําหนดนโยบายเศรษฐกิจสรางสรรคของประเทศใหชัดเจนและบูรณาการการ ดําเนินงานของหนวยงาน Social Natural  ปรับโครงสรางการผลิตและบริการของประเทศอยางตอเนื่อง ใหมงสูการเปน ุ Capital Capital เศรษฐกิจสรางสรรคและเศรษฐกิจที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Creative and (SC) (NC) Green Economy)  พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและสภาพแวดลอมภายในประเทศ โดยเฉพาะ ขับเคลื่อน ปจจัยสนับสนุน และสภาพแ อม โครงสรางพื้นฐานดานการสื่อสารและคมนาคม การสงเสริมการลงทุนดานการ แวดล วิจัยและพัฒนา การจัดหาแหลงเงินทุน การพัฒนาการศึกษาใหสอดคลองกับ Natural Physical ความตองการของตลาด การพัฒนาการตลาดใหทันตอคูแขงขันและการ Capital Capital เปลี่ยนแปลงของโลก (NC) (PC)  ใหคุณคาตอทรัพยสินทางปญญาจากความคิดสรางสรรค โดยมีกฎหมาย Cultural Capital และกฎระเบียบที่ชวยในการคุมครองทรัพยสินทางปญญ รวมถึงการใช ฎ ุ ญญา S i l (CC) Human Social ทรัพยสนทางปญญาหรือความคิดเพื่อเขาถึงแหลงเงินทุน ิ Capital Capital  ขับเคลื่อนและสรางโอกาสใหกับผูประกอบการ และพัฒนาบุคลากรวิชาชีพ (SC) (HC) เชิงสรางสรรคใหตรงกับความตองการของตลาด Financial Capital (FC) ย  พัฒนาสถาบันและบูรณาการบทบาทของสถาบันที่เกี่ยวของ ใหเชื่อมโยงเปน เครือขายเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรค กลไก ก  ศึึกษาวิิจัยและพัฒนาเชิิงลึึกใ ั ในสาขาเศรษฐกิิจสรางสรรคและทุนวััฒนธรรม  ติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคของไทยอยางเปนระบบและตอเนื่อง 07 August 2009 Copyright NESDB 26