SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Medication Error ความคลาดเคลื่อน
ทางยา
ภญ.ดวงแก้ว อังกูรสิทธิ์
กลุ่มงานเภสัชกรรม
โรงพยาบาลสมุทรสาคร
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา
(Dispensing Error)
• คือ ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการ
จ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรม ที่จ่ายยา
ไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำาสั่งใช้ยา
ได้แก่ ผิดชนิดยา รูปแบบยา ความแรง
ยา ขนาดยา วิธีใช้ยา จำานวนยาที่สั่ง
จ่าย จ่ายยาผิดตัวผู้ป่วย จ่ายยาที่เสื่อม
สภาพ หรือหมดอายุ จ่ายยาที่ไม่มีคำาสั่ง
ใช้ เตรียมยาผิด ซึ่ง
ความคลาดเคลื่อนนี้ส่งผล
ให้ผู้ป่วย ได้รับยาที่
ความคลาดเคลื่อนทางยา medication
error : ME
High alert drug
Prescribtion error
Trancribtion error
Dispensing error
Administration error
ประเภทของความคลาดเคลื่อน
ทางยา
= การสั่งใช้ยาของ
แพทย์
= การคัดลอกคำาสั่ง
แพทย์ หรือการป้อน
ข้อมูลใบสั่งยา
= การจัด การตรวจ
สอบความถูกต้อง
และการจ่ายยา
= การใช้ยาของผู้
ป่วย หรือการให้ยา
ของพยาบาล
Pre-dispensing
Dispensing
• จ่ายยาซำ้าซ้อน / ขาดเกิน เช่น omeprazole -
pantoprazole
• ขนาดใช้ยาไม่เหมาะสม เช่น เด็กนำ้าหนัก 10
กิโลกรัมได้ยา para syr 0.5 ช้อนชา
ควรเป็น 1 ช้อนชา
• จ่ายยาที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ เช่น คนไข้แพ้
penicillin ได้ยา
dicloxacillin
• สั่งยาที่ผู้ป่วยมีข้อห้ามใช้ เช่น ผู้ป่วย
• คำาสั่งใช้ยาไม่ชัดเจน เช่น ไม่ระบุวิธีใช้จำานวน
ตัวอย่างความคลาดเคลื่อนใน
การสั่งใช้ยา
ตัวอย่างความคลาดเคลื่อนใน
การป้อนข้อมูลยา• ผิดชื่อผู้ป่วย ระวังการเข้า HN ผิด หรือค้างคน
เดิมอยู่
• ระวังวิธีใช้ที่ตั้งในเครื่อง ต้องเปลี่ยนตามหมอ
สั่ง
• สังเกตวิธีใช้ยาที่พบบ่อย เช่น chloram eye
oint (คำาย่อ EO มักใช้ hs) แต่ eye drop (คำา
ย่อ ED มักใช้ qid)
• สอบถามอาการผู้ป่วยว่าสอดคล้องกับยาที่ไม่
แน่ใจหรือชื่อคล้ายกัน
• ระวังยาที่มีชื่อคล้ายกัน ถ้าไม่ชัดเจนต้อง
• อ่านไม่ออก / ชัดเจน
• ไม่มียาในโรง
พยาบาล
• ไม่ระบุความแรง
• ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา
• มีทั้งยาฉีดและยากิน
 สอบถามแพทย์ทุก
ครั้ง !!!
ME จากการสื่อสาร
ด้วยคำาย่อ
ME จากการสื่อสาร
ด้วยคำาย่อ
CDZ =
Chlordiazepoxide
CDZ =
Chlordiazepoxide
• ผิดชนิด โดยเฉพาะยาที่ชื่อคล้ายกัน ทั้งชื่อการ
ค้า ชื่อสามัญ สูตรเคมี
• ผิดจำานวน เช่น losartan สั่ง 100 tab หยิบกี่
แผง
• ผิดความแรง เช่น TA 0.1 % กับ 0.02 %
• ผิดรูปแบบ เช่น para syr – para drop
• ขาด / เกิน
ตัวอย่างความคลาดเคลื่อนใน
การจัดยา
Sound alike
•การจัดวางยาเรียงตาม
ตัวอักษร A-Z
– เช่น Glibenclamide
–Glipizide
•สลับคำาขึ้นต้นชื่อยา
เช่น
– GPO vir S30 กับ
GPO vir Z250
– GPO vir S30 กับ
Z250 GPO vir
Look alike
• การจัดเรียงยาตาม
กลุ่มแยกชั้นวางยา
–เช่น Bisolvon –
CPM แก้อาการหวัด
• ยาที่มีลักษณะ เม็ด
ยา / แผงยา / กล่อง
ยา คล้ายคลึงกัน
–เช่น prednisolone –
salbutamol สีชมพู
ม่วง
ยาหลายความแรง
– เช่น Diazepam 2 – 5 mg
Artane 2 – 5 mg
Amitryptylline 10 – 25 mg
• เปลี่ยนขนาดตัวอักษรในฉลากยา
– propranolol 10 mg propranolol 40 mg
– Propranolol 10 mg PROPRANOLOL 40 mg
ยาหลายรูปแบบ
• ยารายการเดียวมีทั้งแบบ ยากิน ยาฉีด ยาทา
เช่น Morphine capsule,syrupใช้กิน
injection ใช้ฉีด
• ยารายการเดียวมีหลายแบบ เพื่อความเหมาะ
สมในการใช้
เช่น TA lotion นำ้าใส (ทาศีรษะ)
TA milk นำ้าข้น (ทาผิวหนัง บริเวณกว้าง)
TA cream ครีมข้น (ทาเฉพาะจุด)
ยาที่หนึ่งแผง ไม่เท่ากับ 10 เม็ด
• แผงละ 5 เม็ด เช่น tiotropium
• แผงละ 7 เม็ด เช่น singulair
• แผงละ 14 เม็ด Imdur , diovan , crester
• แผงละ 15 เม็ด เช่น losartan
• แผงละ 20 เม็ด เช่น theodur, senokot , ASA
81
• แผงละ 28 เม็ด เช่น rimstar
• ยาที่มี prepack ยาที่จ่ายเป็นกระปุก หรือกล่อง
*** ระวังการจัดยาผิดจำานวน !!! ***
• ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจ่ายยาของ
ฝ่ายเภสัชกรรม ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุใน
คำาสั่งใช้ยา ได้แก่ผิดชนิดยา รูปแบบยา ความ
แรงของยา ขนาดยา วิธีใช้ยา จำานวนยาที่สั่ง
จ่าย จ่ายผิดตัวผู้ป่วย จ่ายยาที่เสื่อมสภาพหรือ
หมดอายุ จ่ายยาที่ไม่มีคำาสั่งใช้ยา (Unauthorized
drug) เตรียมยาผิด เช่นเจือจาง/ผสมผิด ใช้
ภาชนะบรรจุยาไม่เหมาะสม ฉลากผิด ชื่อยาผิด
หรือชื่อผู้ป่วยผิด เป็นเหตุการณ์หลังจากจ่ายยา
ออกจากฝ่ายเภสัชกรรม
ความคลาดเคลื่อนในการจ่าย
ยา
พบแพทย์สั่งยา
ส่งใบสั่งยา
จัดยาตามสติก
เกอร์
ตรวจสอบครั้งที่
1(P1)
จ่ายยาโดย
เภสัชกร(P2)
ห้องให้คำา
ปรึกษา(P3)
ตรวจสอบหลังจ่าย
ยา(P4)
- เวรดึก ทุกใบสั่งยา
- เวรเช้า สุ่มตรวจทุก
50 ใบ
- คลินิกพิเศษ
- ใบสั่งยาที่มีการแก้ไข
ตรวจสอบได้เฉพาะ
error key*
ผู้ป่วยได้รับยาก
ลับบ้าน
วิธีการจัดการ Dispensing error
ระบบการตรวจสอบใบสั่งยาหลังจ่ายยา (P4)
• ทุกใบสั่งยาของเวรดึก (เภสัชกรอยู่เวรคนเดียว)
• สุ่มตรวจใบสั่งยาของเวรเช้า (ทุก 50 ใบสั่งยา)
ระบบการติดตามและแก้ไขความคลาดเคลื่อน
• แจ้งผู้ปฎิบัติให้ทราบเพื่อดำาเนินการ
• หาทางติดตามคนไข้เพื่อแก้ไขเปลี่ยนแปลงยา
ระบบป้องกันความคลาดเคลื่อนหลังการจ่าย
ยา
• ส่งรายงาน Root cause analysis(Atropine -Pilocarpine)
• ทำา Note เตือนยาที่ผิดซำ้ามากกว่า 1 ครั้ง
(Mestinon-Merislon)
• เฝ้าระวังโดยเฉพาะยากลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง
วิธีการป้องกัน Administration error
• เป็นเรื่องที่ควรให้ความสำาคัญมากที่สุด
• ใช้หลักการบริหารยา 6 R ในการ
วิเคราะห์หาโอกาสของความคลาดเคลื่อน
ทางยา ยกตัวกลุ่มยาที่เข้าใหม่ ในโรง
พยาบาล
• การส่งจ่าย การกระจาย การส่งมอบ และการ
บริหารยาให้ผู้ป่วยผิดคน
1R ความถูกต้องด้านผู้ป่วย (Right
patient)
• การให้ยาผิดชนิด
• การให้ยาที่แพทย์ไม่ได้สั่ง เช่น ยา ที่ผู้ป่วยนำา
ติดตัวมา
• การให้ยาที่ผู้ป่วยเคยมีประวัติการแพ้
• การให้ยาที่หมดอายุ
• การให้ยาเสื่อมคุณภาพ
2R ผู้ป่วยได้รับยาถูกต้องตามที่
แพทย์ต้องการ (Right drug)
ระวังยาชื่อพ้อง !!! Sound alike
• Chloroquine - Hydroxychloroquine
• Hydroxyurea - Hydroxychloroquine
• Levofloxacin - _ _ _ _ _ floxacin
• Volulyte - Volu _ _ _
• Cyclosporin – Cyclos _ _ _ _ _
• Cyclosporin - Cycloserine
• Lanthanum carbonate – L _ th _ _ m
carbonate
• Lanthanum carbonate – Lithium carbonate
เดิมผู้ป่วยแพ้ยาที่ไม่มีในโรง
พยาบาล แต่เมื่อยาเข้าใหม่ผู้
ป่วยก็มีโอกาสเสี่ยงที่จะแพ้ยา
ซำ้า หรือยาที่อยู่ในกลุ่มใกล้
เคียงกัน เดิมผู้ป่วยจำาเป็นต้อง
ใช้ยาที่มี drug
interaction แต่เมื่อมี
ยาเข้าใหม่ผู้ป่วยจะได้
ใช้ยาใหม่ที่ปลอดภัย
• การให้ยาผิดขนาด การคำานวณขนาดยาผิด
• ไม่สามารถใช้ยาที่มี เทคนิคการ บริหารพิเศษ
เช่น ยาพ่น
• ผิดความแรง ผิดความเข้มข้น
• การเจือจางผิด
• การให้ยาซำ้า การให้ยาที่แพทย์สั่งหยุด
• การต่อยาโดยที่แพทย์ไม่ได้สั่ง
• การลืมให้ยา โดยข้ามไปให้ยาเวลาใหม่
3R ผู้ป่วยได้รับยาที่มี ความแรง
ความเข้มข้น ขนาดยาตามความ
เหมาะสม และเป็น ไปตามที่แพทย์
ต้องการ(Right dose)
Merislon
1x3 pc
Max dose 48
mg/day
24
6
???
Betahistine 6 mg
• การให้ยาผิดไปจากเวลาที่
กำาหนด
• การลืมให้ยาและมีการให้เมื่อ
นึกได้
• การหยดให้ยาเร็วกว่าที่
แพทย์กำาหนด
• การหยดให้ยานานกว่าที่
แพทย์กำาหนด
•การให้ยาคลาดเคลื่อน
4R ผู้ป่วยได้รับยาถูกต้องตาม
เวลาที่เหมาะสม (Right time)
ขอใบ DUE ด้วยนะคะ
เมื่อเตรียม
ยาแล้ว
ควรใช้
 Administered before
meal
 Avoid : iron, zinc,
aluminum, magnesium,
,calcium , zinc, sucralfate,
didanosine (ให้ยาห่างไป
2 ชั่วโมง)
• การให้ยาผิดช่องทาง เช่น
IV IM IT ID Sc Oral SL
Inhaler
• การใช้ ยาหยอดตา หยอด
หู ผิดข้าง หรือไม่เป็น ไป
ตามที่แพทย์สั่ง
5R ผู้ป่วยจะได้รับยาถูกวิธี
บริหารยาที่เหมาะสม (Right
route)
 • การผสมยาเข้าดัวยกันโดยไม่เหมาะสม
• การบริหารยาที่เข้ากันไม่ได้เข้าทาง Y
site
• การบริหารยาด้วยเทคนิคที่ไม่ เหมาะสมส่ง
ผลให้เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
• การเดินยาเร็วกว่าที่ควรเป็น เช่น IV push
นานกว่า 5นาที
• การบดยาที่ไม่ควรบด หรือยาที่เข้ากันไม่
ได้ทางกายภาพ
6R ผู้ป่วยจะได้รับการบริหารยา
ด้วยเทคนิคที่เหมาะสม (Right
technique)
Incompatibility :
Sodium bicarb
Y-site
incompatible : Acy
clovir, alprostadil,
Administration : IV
drip only
no IV bolus
hypotension
500 mg IV drip in
60min
750 mg IV drip in
90min
Levofloxacin injection 750 mg / 150 ml
NO FEED
Medication ErrorReporting System
โรงพยาบาลสมุทรสาคร
ผู้พบเหตุ บันทึกเหตุการณ์ในสำาเนาใบสั่งยา ทำาสัญลักษณ์
E แยกตะกร้า
เจ้าหน้าที่ทำารายงาน ส่งใบสั่งยาให้กับเจ้าหน้าที่ลง
ข้อมูลในโปรแกรม
เภสัชกรตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลความคลาดเคลื่อน
ส่งรายงานแก่หัวหน้างานห้องจ่ายยาผู้ป่วย
เภสัชกรวิเคราะห์ข้อมูล ส่งรายงานความคลาดเคลื่อน
ประจำาเดือน
* * * หากมีรายงานที่มีความรุนแรง
ต่อคนไข้ > E
เข้า
โปรแกรม
รูปเม็ดยา
สีชมพูบน
destop
ใส่รหัส
ประจำาตัว
เลือกเมนู
หลัก
เลือก
บันทึก
กดเลือก
ประเภท
ของข้อมูล
เพื่อลงราย
ละเอียด
ข้อมูลความคลาดเคลื่อนทางยาที่ห้อง
ยานอก ประจำาปี2556
ตัวชี้วัด Pre-dispensing error ไม่เกิน 25 ต่อ 1000
ใบสั่งยา
Dispensing error ไม่เกิน 3 ต่อ
1000 ใบสั่งยา
วิเคราะห์ ความเสี่ยง ของระบบยาเพื่อ
ป้องกันความคลาดเคลื่อน
• รายการยามีการเปลี่ยนแปลง
หลายความแรง หลายรูปแบบ
look alike sound alike
• เภสัชกร เจ้าพนักงาน เจ้าหน้าที่ใหม่
 ขาดความรู้ ประสบการณ์
• เจ้าหน้าที่ย้ายหน่วยงาน
 ขาดทักษะความชำานาญในงานประจำาวัน
ข้อมูลได้รับ
การสะท้อน
ไปถึงผู้
ปฎิบัติงาน
เพื่อเพิ่ม
ความ
ระมัดระวัง

More Related Content

What's hot

ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
duangkaew
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
techno UCH
 

What's hot (20)

Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
IESAC
IESACIESAC
IESAC
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)Acutecare(webversion)
Acutecare(webversion)
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 

Viewers also liked

โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
porkhwan
 
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัย
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัยสรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัย
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัย
เชียร์ นะมาตย์
 

Viewers also liked (19)

10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
Had12may2014 2
Had12may2014  2Had12may2014  2
Had12may2014 2
 
Cybersecurity workforce development toolkit
Cybersecurity workforce development toolkit Cybersecurity workforce development toolkit
Cybersecurity workforce development toolkit
 
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.
Knowledge Management (KM) การจัดการความรู้สำหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษา มสด.
 
Beyond Using an iPad - Transforming Pedagogy and Learning Spaces
Beyond Using an iPad - Transforming Pedagogy and Learning SpacesBeyond Using an iPad - Transforming Pedagogy and Learning Spaces
Beyond Using an iPad - Transforming Pedagogy and Learning Spaces
 
Ppe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnelPpe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnel
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
Thaialgorithm Slide
Thaialgorithm SlideThaialgorithm Slide
Thaialgorithm Slide
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพบรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
บรรยายกองทัพอากาศคุณภาพ
 
อบรมข้าราชการ ๕ (การบริหารความเสี่ยง)
อบรมข้าราชการ ๕ (การบริหารความเสี่ยง)อบรมข้าราชการ ๕ (การบริหารความเสี่ยง)
อบรมข้าราชการ ๕ (การบริหารความเสี่ยง)
 
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัย
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัยสรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัย
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัย
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
 
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebookบทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
 

Similar to สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา

ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
adriamycin
 
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacyHow to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
vveerapong
 

Similar to สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา (20)

การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 
I Sterile Dosage form py.pptx
I Sterile Dosage form py.pptxI Sterile Dosage form py.pptx
I Sterile Dosage form py.pptx
 
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacyHow to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
How to-care-for-patients-with-diabetes-in-the-pharmacy
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อยคำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
คำถามเกี่ยวกับยาคุมที่พบบ่อย
 
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
CPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use ThailandCPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use Thailand
 

สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา