SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
Télécharger pour lire hors ligne
ทุกชีวิตมีปญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้
                                                          ฉบับ
  แสงธรรม
     วารสารธรรมะรายเดือนที่เกาแกที่สุดในอเมริกา



  S eng D am                                           วันมาฆบูชา
ปที่ ๓๗ ฉบับที่ ๔๔๒ ประจำาเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕
       Vol.37 No.442 February 2012
                                                       ๒๕๕๕
สื่อสองทาง สวางอ�าไพ
                                                     แสงธรรม
                                                 ทุกชีวิตมีปญหา พระพุทธศาสนามีทางแก
                                               วารสารธรรมะรายเดือนที่เกาแกที่สุดในอเมริกา
  ปที่ 37 ฉบับที่ 442 ประจ�าเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2555 Vol.37 No.442 February, 2012

Objectives :
�To promote Buddhist activities.                                                   สารบัญ
�To foster Thai culture and tradition.
�To inform the public of the temple’s activities.
                                                                                  Contents
�To provide a public relations center for             The Buddha’s Words............................................. 1
    Buddhists living in the United States.             Forest Wat, Wild Monks by Ven. Buddhadasa......... 2
เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.                  The Peace Beyond By Ven. Ajanh Chah........... 6
ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี                         มาฆบูชาร�าลึก ................................................................ 9
กองบรรณาธิการ :                                       บทความพิเศษ : “คูรก-คูบารมี” .................................................. 15
                                                                        ั 
ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี                                อนุโมทนาพิเศษแดผอปถัมภกจกรรมวัดไทยฯ ดี.ซี. .............. 17
                                                                         ู ุ          ิ
พระสมุหณัฐิวุฒิ ปภากโร                               รายรับ-รายจาย วัดไทยฯ ดี.ซี. ................................................ 21
พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ
พระสุริยา เตชวโร                                       ปฏิบัติธรรมประจ�าเดือนกุมภาพันธ........................... 22
พระมหาสราวุธ สราวุโธ                                  เสียงธรรม...จากวัดไทย........................หลวงตาชี 23
พระมหาประดูชัย ภทฺทธมฺโม                             ประมวลภาพกิจกรรมเดือนมกราคม ...................... 29
พระมหาศรีสุพรณ อตฺตทีโป                              เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32
พระมหาค�าตัล พุทฺธงฺกุโร                              ทองแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ป ดร.พระมหาถนัด 39
พระอนันตภิวัฒน พุทฺธรกฺขิโต
                                                      สารธรรมจาก...พระไตรปฎก ..................................... 43
และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.          อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 44
SAENG DHAMMA Magazine                                 Thai Temple’s News...............โดย ดร.แฮนดี้ 45
is published monthly by                               รายนามผูบริจาคเดือนมกราคม Ven.Pradoochai 49
                                                                
Wat Thai Washington, D.C. Temple                      รายนามผูบริจาคออมบุญประจ�าปและเจาภาพภัตตาหารเชา...53
At 13440 Layhill Rd.,
Silver Spring, MD 20906                               รายนามเจาภาพถวายเพล / Lunch.............................54
Tel. (301) 871-8660, 871-8661                         ก�าหนดการเทศนมหาชาติเวสสันดรชาดก............................ 62
Fax : 301-871-5007
E-mail : watthaidc@hotmail.com                                              Photos taken by
Homepage : www.watthaidc.org                                         Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat,
Radio Network : www.watthai.iirt.net                                       Mr. Kevin & Mr. Sam
2,500 Copies                                                                 Bank & Ms. Golf
ถ้อยแถลง
                                                 มาฆบูชาเทศน้อย      ธรรมคุณ
                                      คืนค�่าบ�าเพบุ                บาทเบือง
                                      วารอวาทคอยจุน                   จิตสวางไสวล
                                      เพพรางทางธรรมเยือง           ยางย้ายขยายธรรม
                                                 พันสองร้อยห้าสิบ้วน พระสงฆ
                                      เยพรธรรมพุทธองค              ออกคว้น
                                      หมายมุงกลับคืนคง                ราชคหพร้อมนา
                                      เวุวันเหมือนม้น                ดั่งได้นัดหมาย
                                                 อวาทปาติมกขเน้น น�าสอน
                                      ละชั่วกรวดตะกอน                  กรอนเนือ
                                      ท�าดีขจายขจร                     จบทั่วสกนธ
                                      จิตองุดาดเกือ               กอห้ลกงาม 
       วันมาฆบูชา เปนวันส�าคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนาซ่งเปนที่รูกันวา เปนวันแรกที่พระพุทธเจาไดประกาศหลักธรรมค�าสั่ง
สอนของพระองค คือ “อวาทปาติมกข” ซ่งถือกันวาเปนหลักค�าสอนที่เปนหัวใจส�าคัญของพระพุทธศาสนา ณ พระเวุวัน
มหาวิหาร กรุงราชคฤห มีใจความโดยยอวา . สพพปาปสส อกรณ� การไมท�าบาปทังปวง . กุสลสสูปสมปทา การ
ท�าความดีห้บริบูรณ . สจิตตปริยทปน� การท�าจิตห้หมดจดจากกิเลส
        อนง วันนีนบเปนวันคลายกับวันประชุมกันเปนพิเศษ แหงพระอรหันตสาวกทังหลายโดยมิไดนดหมาย ซงเรียกวา “วัน
            ่       ้ ั                                                            ้             ั        ่
จาตุรงคสันนิบาต” คือ การประชุมพร้อมด้วยองค  กลาวคือ  วันนันเปนวันมาฆปูรณมี คือวันเพขึน  ค�า เดือน 
                                                                                                           ่
 พระภิกษุ , องค มาประชุมกันดยมิได้นัดหมาย  พระภิกษุทังหมดล้วนเปนพระอรหันต  พระภิกษุเหลา
นันทังหมดได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าดยตรงเอหิภิกขุอุปสัมปทา
       เมื่อวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนามาถงอยางนี้แลว สมควรอยางยิ่งที่เราชาวพุทธทั้งหลาย ควรนอมร�าลกถงพระมหา
กรุณาคุณของพระพุทธองค ดวยการปฏิบัติดีปฏิบัติชอบตามหลักค�าสอนขางตนนั้น “มาฆบูชา ปวงประชาชาวพุทธ กาย
วาจา จ บริสุทธิ บูชาพระพุทธองค”
       ดังนั้น วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. จงไดก�าหนดจัดงานท�าบุญ “วันมาฆบูชา” นวันเสาร-อาทิตยที่ - กุมภาพันธ
 โดยมีการปฏิบัติธรรม สนทนาธรรม เจริญจิตภาวนาเพื่อนอมถวายเปนพุทธบูชา ในวันเสารที่ ๒ กุมภาพันธ เริ่ม
เวลา ๐.๐๐ น. เปนตนไป สวนนวันอาทิตยที่  กุมภาพันธ เริ่มพิธีเวลา . น. มีกิจกรรมท�าบุตักบาตร ตังรง
ทานมหากุศล วายภัตตาหารเพลดพระสงฆ งพระธรรมเทศนา ละพิธีเวียนเทียน จงขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนทั้ง
หลายรวมบ�าเพญบุญกุศลตามวัน เวลา ดังกลาวโดยพรอมเพรียงกัน
     อยาลืม อยาพลาด ขอเชิญรวมจองเปนเจาภาพบุญพระเหวด “เทศนมหาชาติเวสสันดรชาดก  กัณ , พระ
คาา” โดยพระนักเทศนแหลชื่อดัง เสียงดี มีส�านวนโวหาร ช�านาญกลอน สอนธรรมอันล�้าคา นวันอาทิตยที่  มีนาคม
 ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ตังตเวลา . น. เปนต้นไป
                                                    คณะู้จัดท�า
แสงธรรม 1   Saeng Dhamma




              The Buddha’s Words
                        พุทธสุภาษิต
       ยสฺส ปาปกตํ กมฺมํ           กุสเลน ปหียติ.
       โสมํ โลกํ ปภาเสติ            อพฺภา มุตฺโต ว จนฺทิมา. (๑๗๒)
ผูใดทําบาปไวแลว ละไดดวยการทําดี ผูนั้นยอมสองโลกนี้ใหสวาง เหมือน
พระจันทร์ที่พนจากเมฆฉะนั้น
Who by his wholesome deeds removes the evil done. He illumines
the world here and now like the moon emerging from the cloud.
แสงธรรม 2      Saeng Dhamma




                                                        by Buddhadasa Bhikkhu
                                                      http//www.liberationpark.org/arts/lpsm/wildmonk.htm




          ctually, the real map is much clearer
           than all that. We must pass through,
must arrive at, and receive something -- ap-
                                                           That’s not our way. We’ll do something,
                                                     nd some method, which takes the heart all the
                                                     way to that city the city of peace, the state of
propriately and sufciently -- in order to know      peace, the nature which is peace. This short cuts
the correct and true map. t’s as if we’re making    the map. This is the methodology of forest wat
a map and must wade through that respective          wild monks keep looking for and aiming at
subject or area in order to draw the map. f we      only the peaceful mind.
draw it from guesses and imagination, it will be a         ust this single word peace has multitu-
mess. f we try to make a map of everything, it’s    dinous meanings. t’s easy to say peace, but
a huge mess. These scholars who have nished         it’s hard to understand and difcult to practice.
their studies end up with a scholarly map that’s     But you must try. Therefore, please try to con-
a mess. t’s a mess because it is wrongly e-        tinually follow and search s this peace s this
plained, wrongly remembered, wrongly taught,         peace
and, especially, wrongly interpreted. Who knows            The word peace means not troubled,
what kind of map it is. These literary maps ac-      not anious, not agitated, not disturbed, not
cording to the study books are a mess because        painful, not pierced. To begin, remember these
they’re all mied up.                                meanings. n the other hand, the minds of most
แสงธรรม 3     Saeng Dhamma
people are troubled, stabbed, cut, and roasted         people who don’t want peace. Now, however,
by desires, by doubts, by worries, by the kind of      we should focus on the fact that it is necessary
wishes that build castles in the sky. They usu-        to live in the midst of such people. ow can we
ally happen all the time you ought to get rid of      be peace ow can we use our understanding
them. ’m not forbidding you to want anything          of this peace to solve those problems
or do anything.  only want things to happen            still think that it can work. Please know how
peacefully.                                            to calm the mind then work with those non-
      Some people may think that this runs             peaceful people in those incredibly chaotic cit-
counter to human eistence in the world. Lis-          ies and capitals. We can have minds that are
tening supercially, it may sound like that. When      under control, are normal, are on track, are
human beings in this world don’t want peace,           disciplined, are at peace they do what they
they will want stimulation, they will want the         should. Finally, if we must work for people who
state that stimulates pleasure through the eyes,       are not calm, we are up to it.
ears, nose, tongue, body, whichever way, all                  n the scriptures there’s a story of a wom-
ways. They want to get ecited, they don’t want        an Stream-nterer whose husband is a hunter.
peace and calm. This makes it somewhat dif-            They still were able to live together. t doesn’t
cult to speak about these matters.                    sound believable, and probably nobody will
      We have a choice. Stimulation, the state         believe it, but that’s what the scriptures say.
of having kilesa always waiting to drive and ma-       She wasn’t tainted by her husband’s sins. They
nipulate us, what’s that like And we must ask,        could live as husband and wife without losing
which direction will it lead ow far will it reach   her Stream-ntry. Think about it. ou must know
t has no end. So we could eploit this and            how to take special care of the heart. Guard the
make some money from the fact that humanity            condition of peace according to your own par-
has endless wants, make a business out of hu-          ticular skills.
manity’s endless wants, and get rich ourselves.               Close your eyes and imagine this scene.
The rich have wants that never end. They follow        ne person is normal and able to smile. e
after these endless desires, then what kind of         works with another who always acts like a de-
world will that be This is how different it is in     mon or devil. ow can he do it  say he can.
the cities, totally opposite from forest wat wild     f a person is at peace, has sufciently trained,
monks, who want to stop, to be cool, and to           he can do it. But he probably wouldn’t want to
be calm.                                               bother. e’s more likely to nd another place
      The problem is like this the world’s people     to work. ere, we’re just trying to show that if
don’t want peace. ow will we pursue peace            one tries, it is possible. f one’s heart is secure
And when living in the middle of people who            and normal, there’s nobody who could shake
don’t want peace, how will we live peacefully         him. f anyone tried to get him to do something
Another way is to live by making money off the         wicked, he wouldn’t do it and would probably
แสงธรรม 4      Saeng Dhamma
run away.                                            ent. With that boy there we act in one way, with
       This talk is to help you begin to see that    this one we must act another way. Such cool
this matter of calmness is no obstacle. Further,     kids will help to cool down the old folks and
it’s benecial in that it gradually transforms       grey-hairs, if the kids have cool characters.
those who aren’t calm, making them more calm          believe that Dhamma isn’t likely to be objec-
and in love with calmness. ne makes bless-          tionable for use in a world lacking peace and
ings without being conscious of it. People with      coolness. A monk coming from correct forest
Dhamma who work together with people who             wat wild monk, who stays at a city wat with a
lack Dhamma will do good without being aware         totally different style, will have an immediate
of it. They’ll cure the people without Dhamma,       inuence on the city folk. They’ll notice that
so that Dhamma develops in them steadily.            we’re hot and he’s cool. The only uestion
                                                               is whether or not the cool monk from
                                                               the forest can guard that calm and cor-
                                                               rectness all the time. Mostly they lose
                                                               it, change, and are swallowed up. f not,
                                                               they must escape back to the forest.
                                                               They can’t handle the city, it’s full of
                                                               annoyances. No harm done, because
                                                               we ought to be able to choose in this
                                                               world. f we want peace, we have the
                                                               right to nd a peaceful place. But wher-
                                                               ever the wild monk goes, he automati-
                                                               cally teaches the Peaceful Creed
                                                               right there. There will be some success,
        have seen people who have gone to work      and some automatic blessings, too. Make an
as clerks or ofcials, who are calm, humble, and     eample of peace for them to see, be truly hap-
have Dhamma. They are able to cool down              py for them to see, they’ll be interested and
bosses who y into rages, are hurried, and lack      some will even follow. ou’ll get merit and
Dhamma. Know that if we have an employee             the world becomes a better place.
who is cool and calm, and shows it, we can’t e-           f we speak of the Arahant, various princi-
plode. We would be too ashamed, or else feel         ples show that such a human being can never
pity for him.                                        get hot again. So she can go to the city, to the
       ven with these wat boys, some have           capitol, to any chaotic place, without dying.
something cool about them and others are al-         e wouldn’t die, but probably would get fed
most the opposite. We must have our own sen-         up beyond toleration, then have to ee. f she
sitivity for this Ahhmm, they’re totally differ-   couldn’t escape, she might die. But  don’t think
แสงธรรม 5      Saeng Dhamma
so, because he’d adjust his heart inside in an           let it go. More than enough time has passed,
unbelievable way. There’s no need to get hot             now you ought to be able, at least a little more
with those people. et, what’s the point of be-          than before. This means just live like a monk
ing troubled by it all, avoid it to nd an appropri-     (Phra)  more and more. ou’ll know the avor
ate place.                                               of the monk’s life which we call forest wat wild
       This talking and raising eamples back and        monks. ou’ll never have a chance to try living
forth is to increase understanding of forest wat        like a wild monk in the city. ou must come to
wild monks. Do you know the difference be-              the forest, to a naturally free place, to taste and
tween living as a forest wat wild monk and liv-          to try it, to know Dhamma of the sort the Bud-
ing as a city monk ou’ve never lived as forest         dha realized and proclaimed.
wat wild monks. There’s only a little time left,               f not that, then why ordain ach of you
you better try it out uickly. uickly live up to        ought to ask yourself why you ordained Why
its standard, you’ll understand the matter well.         did you take leave to do this temporary going
Although you return to the city later, you won’t         forth To understand what To sample what To
be the same. t will change you from how you             get what With certainty -- like pounding a st
were. ou’ll change in a good and useful way,            into the ground -- we answer, to get eactly
too. So  felt we should talk about this for the         what we’ve been talking about. Without leav-
sake of the time left in the Rains, that you might       ing home, you couldn’t get it. ou would have
get more interested in the forest wat wild              no chance even to see or sample or give it a try.
monks style.                                            rdination was necessary.
       At the beginning of the Rains,  already told
you about these things, such as, don’t laugh a                             To be continued
lot, speak only a little, try to stay with Nature.
But  understand you couldn’t do it, and just




 คุณอรพรรณ ดีวอย และครอบครัว ท�ำบุญอุทิศสวนกุศลแดคุณแมและญำติผู้ลวงลับ ณ วัดไทยฯ ดี.ซี. วันที่ ๘ มกรำคม ๒๕๕๕
แสงธรรม 6      Saeng Dhamma

                                      A Taste of Freedom
                                     The Peace Beyond
                                        A Dhammatalk By Ajahn Chah
                                     http//www.accesstoinsight.org/lib/thai/chah/atasteof.html

 ...Continued from last issue...
                                                      is enough to enable us to separate feeling from

        f we have that presence of mind then
         whatever work we do will be the very
tool which enables us to know right and wrong
                                                      the mind.
                                                             f we investigate like this continuously
                                                      the mind will nd release, but it’s not escap-
continually. There’s plenty of time to meditate,      ing through ignorance. The mind lets go, but it
we just don’t fully understand the practice,          knows. t doesn’t let go through stupidity, not
that’s all. While sleeping we breathe, eating we      because it doesn’t want things to be the way
breathe, don’t we Why don’t we have time to          they are. t lets go because it knows according to
meditate Wherever we are we breathe. f we           the truth. This is seeing nature, the reality that’s
think like this then our life has as much value as    all around us.
our breath, wherever we are we have time.                    When we know this we are someone who’s
      All kinds of thinking are mental conditions,    skilled with the mind, we are skilled with mental
not conditions of body, so we need simply have        impressions. When we are skilled with mental
presence of mind, then we will know right and         impressions we are skilled with the world. This is
wrong at all times. Standing, walking, sitting and    to be a Knower of the World. The Buddha was
lying, there’s plenty of time. We just don’t know     someone who clearly knew the world with all
how to use it properly. Please consider this.         its difculty. e knew the troublesome, and that
      We cannot run away from feeling, we must        which was not troublesome was right there. This
know it. Feeling is just feeling, happiness is just   world is so confusing, how is it that the Buddha
happiness, unhappiness is just unhappiness.           was able to know it ere we should understand
They are simply that. So why should we cling to       that the Dhamma taught by the Buddha is not
them f the mind is clever, simply to hear this      beyond our ability. n all postures we should
แสงธรรม 7     Saeng Dhamma
have presence of mind and self-awareness             wrong doings in body or speech. When we don’t
and when it’s time to sit meditation we do that.      do wrong then we don’t get agitated when we
      We sit in meditation to establish peaceful-     don’t become agitated then peace and collect-
ness and cultivate mental energy. We don’t do         edness arise within the mind. So we say that
it in order to play around at anything special.       morality, concentration and wisdom are the
nsight meditation is sitting in samadhi itself. At   path on which all the Noble nes have walked
some places they say, Now we are going to sit        to enlightenment. They are all one. Morality is
in samadhi, after that we’ll do insight medita-       concentration, concentration is morality. Con-
tion. Don’t divide them like this Tranuillity is   centration is wisdom, wisdom is concentration.
the base which gives rise to wisdom wisdom is        t’s like a mango. When it’s a ower we call it a
the fruit of tranuillity. To say that now we are     ower. When it becomes a fruit we call it a man-
going to do calm meditation, later we’ll do in-       go. When it ripens we call it a ripe mango. t’s all
sight  you can’t do that ou can only divide        one mango but it continually changes. The big
them in speech. ust like a knife, the blade is on    mango grows from the small mango, the small
one side, the back of the blade on the other.         mango becomes a big one. ou can call them
ou can’t divide them. f you pick up one side        different fruits or all one. Morality, concentra-
you get both sides. Tranuillity gives rise to wis-   tion and wisdom are related like this. n the end
dom like this.                                        it’s all the path that leads to enlightenment.
      Morality is the father and mother of Dham-      The mango, from the moment it rst appears
ma. n the beginning we must have morality.           as a ower, simply grows to ripeness. This is
Morality is peace. This means that there are no       enough, we should see it like this. Whatever




 Mr. Jimmy - Mrs. Marry Liew ท�ำบุญอุทิศสวนกุศลให้แด Mr. Lim Fook Ong ๒๐ มกรำคม ๒๕๕๕
แสงธรรม 8            Saeng Dhamma
others call it, it doesn’t matter. nce it’s born              for yourselves. Whatever’s wrong, throw it out. f
it grows to old age, and then where We should                 it’s right then take it and use it. But actually we
contemplate this.                                              practice in order to let go both right and wrong.
       Some people don’t want to be old. When                  n the end we just throw everything out. f it’s
they get old they become regretful. These peo-                 right, throw it out wrong, throw it out Usually
ple shouldn’t eat ripe mangoes Why do we                      if it’s right we cling to rightness, if it’s wrong we
want the mangoes to be ripe f they’re not ripe               hold it to be wrong, and then arguments fol-
in time, we ripen them articially, don’t we But              low. But he Dhamma is the place where there’s
when we become old we are lled with regret.                   nothing  nothing at all.
Some people cry, they’re afraid to get old or                         ...The Buddha was enlightened in the
die. f it’s like this then they shouldn’t eat ripe            world, he contemplated the world. f he hadn’t
mangoes, better eat just the owers f we can                 contemplated the world, if he hadn’t seen the
see this then we can see the Dhamma. very-                    world, he couldn’t have risen above it. The Bud-
thing clears up, we are at peace. ust determine               dha’s enlightenment was simply enlightenment
to practice like that.                                         of this very world. The world was still there gain
       So today the Chief Privy Councillor and his             and loss, praise and criticism, fame and disre-
party have come together to hear the Dhamma.                   pute, happiness and unhappiness were all still
ou should take what ’ve said and contem-                     there. f there weren’t these things there would
plate it. f anything is not right, please ecuse              be nothing to become enlightened to...
me. But for you to know whether it’s right or
                                                                               To be continued
wrong depends on your practicing and seeing




 คุณวชิรำ-คุณวรยล ตีรกรวิเศษภักดี ท�ำบุญถวำยสังฆทำน 23-1-12    คุณแมสนสำ-คุณทศพล โสภำรัตน์ ท�ำบุญวันเกิด 23-1-12
                                                                      ุิ
แสงธรรม 9        Saeng Dhamma



                                                         มาฆบูชารำาลึก

     ค�าวา มาฆบูชา แปลวา การบูชาพระรัตนตรัยใน                   นาส�าคัญควรจะมาอยูทพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงแสดง
                                                                                        ี่
วันเพญเดือน ๓ เปนวันร�าลกถงวันทีพระสัมมาสัมพุทธ
                                           ่                      โอวาทปาติโมกข
เจาไดทรงกระท�าการประชุมอรหันตสาวก เพื่อแสดง                     สิ่งที่นาศึกษานอวาทปาติมกข
หลักการ วิธการ และอุดมการณ ในการเผยแผพระพุทธ
             ี                                                         ในโอวาทปาฏิโมกข ทานแบงออกเปน ๓ ตอน คือ
ศาสนา ซ่ ง ในวั น นั้ น มี เ หตุ ก ารณ ส�า คั ญ เกิ ด ข้ น        . สัพพะปาปสสะ อะกะระณัง การไมทาบาปทังปวง
                                                                                                         �      ้
ประการ ซ่งเราเรียกวา จาตุรงคสันนิบาต คือ การ                        กุสะลัสสูปะสัมปะทา การท�ากุศลใหถงพรอม
ประชุมอันพร้อมด้วยองค  ประการ คือ                                   สะจิตตะปะริยทะปะนัง การท�าจิตของตนให
     . วันนั้นเปนวันเพญเดือนมาะ หรือ มะ (เพญ                ผองแผว
เดือน ๓)                                                              เอตั ง พุ ท ธานะสาสะนั ง นี้ คื อ ค� า สอนของ
     ๒. พระอรหันต ,๒๐ รูป มาประชุมพรอมกัน                     พระพุทธเจาทั้งหลาย
โดยมิไดนัดหมาย
     ๓. พระอรหันตเหลานัน เปนผูทพระสัมมาสัมพุทธ
                              ้        ี่                            . ขันตี ปะระมัง ตะป ตีติกขา ขันติ คือ ความ
เจาทรงประทานการบวชใหทั้งหมด                                     อดกลั้น เปนธรรมเครื่องเผากิเลสอยางยิ่ง
     . พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงแสดงโอวาทปาติโมกข                      นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา พระพุทธเจา
      องค  ประการนี้ บางแหงอาจมี  ประการที่ไม                ทั้งหลายตรัสวา นิพพาน เปนธรรมอันประเสริฐสุด
เหมือนกัน แตเปนที่สรุปไดวา มีเหตุการณส�าคัญอะไร                  นะ หิ ปพพะชิต ปะรูปะฆาตี         ผูที่ยังาผูอื่น
เกิดข้นในวันนั้น กถือวาเปนสันนิบาตได เหตุการณที่            อยู ไมจัดวาเปนบรรพชิต
แสงธรรม 10      Saeng Dhamma
      สะมะณ หติ ปะรัง วิเหะยันต ผูทยงเบียดเบียน ทางจิตใหยิ่ง  ข้นไป
                                           ี่ ั
ผูอื่นอยู ไมจัดวาเปนสมณะ                       ละอุดมการณ ในทางพระพุทธศาสนา กคือ
                                                          ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา        ขันติ คือ ความ
      . อะนูปะวาท การไมเขาไปวารายใคร          อดกลั้น เปนธรรมเครื่องเผากิเลสอยางยิ่ง
          อะนูปะฆาต การไมเขาไปท�ารายใคร                นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา พระพุทธเจา
          ปาิมกเข จะ สังวะร การส�ารวมในพระปาฏิ ทั้งหลายตรัสวา นิพพาน เปนธรรมอันประเสริฐสุด
โมกข คือ ศีลของภิกษุ                                      นะ หิ ปพพะชิโต ปะรูปะาตี         ผูที่ยังาผูอื่น
       มัตตัุตา จะ ภัตตัสะมิง รูจักประมาณในการ อยู ไมจัดวาเปนบรรพชิต
บริภค                                                     สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต ผูทยงเบียดเบียน
                                                                                            ี่ ั
       ปนตัจะ สะยะนาสะนัง ใหอยูในที่สงัด        ผูอื่นอยู ไมจัดวาเปนสมณะ
       อะธิจิตเต จะ อายค หมั่นประกอบความ                    หลักการ วิธีการ และอุดมการณ ทั้ง ๓ อยางนี้
เพียรทางจิตใหยิ่ง  ข้นไป                         เปนสิ่งที่ภิกษุผูรวมประชุมในขณะนั้น ผูจะออกไป
       เอตั ง พุ ท ธานะสาสะนัง นี่เปนค�าสอนของ เผยแผพระศาสนา จะตองยดเปนหลัก การจะเขาไปสัง                 ่
พระพุทธเจาทั้งหลาย ฯ                               สอนผูอื่น จะตองไมไปวารายใคร ไมท�ารายใคร ให
       ทั้ง ๓ ตอนนี้ จะบอกถง หลักการ วิธีการ และ ส�ารวมในศีล รูจกประมาณในการบริโภค ใหอยูในทีสงัด
                                                                      ั                               ่
อุดมการณ ในทางพระพุทธศาสนาคืออยางไร              และตองหมั่นประกอบความเพียรทางจิต
       หลักการ ในทางพระพุทธศาสนา กคือ                     ในการสอนหรือการเผยแผนั้น ตองยดหลักการวา
       สัพพะปาปสสะ อะกะระณัง ตองไมท�าบาปทังปวง ตองไมท�าบาป ใหท�าบุญกุศล ใหท�าจิตใหผองแผว เปน
                                                  ้
       กุสะลัสสูปะสัมปะทา ควรท�ากุศลใหถงพรอม หลัก
       สะจิตตะปะริโยทะปะนัง ควรท�าจิตของตนให              ใน า ยของอุ ด มการณ นั้ น พระนิ พ พาน เป น
ผองแผว                                            อุดมการณอนสูงสุด แตบคคลผูยดถือเพศแหงบรรพชิต
                                                                    ั          ุ      
       วิธีการ ในทางพระพุทธศาสนา กคือ              จะไดชื่อวาเปนบรรพชิตนั้น ตองไมเขาไปาผูอื่น จะ
       อะนูปะวาโท          การไมเขาไปวารายใคร   เปนสมณะไดตองไมเบียดเบียนผูอื่น และขอส�าคัญ
       อะนูปะาโต          การไมเขาไปท�ารายใคร   ความอดทน มีตบะ มีความเพียร จะท�าใหด�ารงเพศ
       ปาฏิ โ มกเข จะ สั ง วะโร การส� า รวมในพระ บรรพชิตไวได นีจดเปนอุดมการณหลักในทางพระพุทธ
                                                                         ้ั
ปาติโมกข คือ ศีลของภิกษุ                           ศาสนา
       มัตตัญุตา จะ ภัตตัสะมิง รูจักประมาณในการ          อน่ง โอวาทปาติโมกขนี้ พระพุทธองคไดทรงแสดง
บริโภค                                              แกพระอรหันตสาวก เพื่อยดถือเปนแนวทางในการ
       ปนตัญจะ สะยะนาสะนัง ใหอยูในที่ที่สงัด     เผยแผพระศาสนา แตส�าหรับประชาชนทั่วไปนั้น ก
      อะธิจิตเต จะ อาโยโค หมั่นประกอบความเพียร สามารถน�าไปใชในชีวิตประจ�าวันได คือ
แสงธรรม 11     Saeng Dhamma
      หลักการทั้ง ๓ ขอนั้นตองยดเปนหลักใหมั่น จะท�า   ประมาณในการบริโภค เปนเหตุใหมนุษยเราเปนโรค
อะไรกแลวแต จะเปนอาชีพหรือไมเปนอาชีพ จะท�าทาง        อวน ไขมันมากเกินไป น�ามาซ่งโรคภัยตาง  มากมาย
กาย วาจา หรือทางใจ ทางโลก หรือทางธรรม จิตจะ               และอีกอยางหน่ง ผูที่บริโภคสิ่งที่เปนพิษตอรางกาย
ตองไมเปนบาป ในขณะเดียวกัน จิตจะตองประกอบ              เชน สุรา เบียร ยาเสพติดตาง  กจัดวาเปนผูไมรูจัก
ดวยบุญกุศล และจิตใจตองผองแผว กิจกรรมทุกอยาง          ประมาณในการบริโภคไดเชนกัน อีกประการหน่ง การ
ถายดหลักการไดอยางนี้ เปนอันไมผิด จัดวาไดปฏิบัติ   ไมรูจักประมาณในการบริโภคที่เปนไปส�าหรับคฤหัสถ
ตามค�าสอนในทางพระพุทธศาสนาอยางถูกตอง                    หรือราวาสนั้น ทานจัดเอาการไมรูจักบริโภคกาม
      อน่ง กิจกรรมทุกอยาง ทานบอกวิธีการวา จะตอง      เขาไปดวย มุงหมายถงการมีเพศสัมพันธ พูดงาย  การ
                                                                          
ไมกลาววารายใคร (อะนูปะวาโท) เชน ตัวเองท�าบุญ         ผิดศีลหา ขอ กาเมสุมิจฉาจาร นั่นเอง ขอนี้อาจมีโทษ
แตไปเหนคนอื่นไมท�า กอยาไปกลาววารายเขา วาเขา      หนัก เพราะเปนเหตุน�ามาซ่งโรคเอดส ซ่งคราชีวิตคน
ไมรูจักท�าบุญกุศล เปนตน ไมไปท�ารายใคร จะท�าบุญ      มามากตอมากแลว นีเ่ ปนโทษของการไมรจกประมาณ
                                                                                                      ู ั
กไมควรไปท�ารายสัตว หรือาสัตว คือ าสัตวเอาไป     ไมรูจักวิธีบริโภคอยางถูกตอง
ท�าบุญ หรือาสัตวเพื่อบูชาสิ่งตาง  (อะนูปะาโต)                อน่ง ผูที่จะบ�าเพญเพียรทางจิต ควรอยูในที่อัน
มีความส�ารวมในศีล คือ รักษาศีลตามสถานะของตน               สงัด ในที่ที่สมควร เพื่อประโยชนในการท�าจิตใหยิ่ง
นั่นเอง คือเปนราวาส (ผูครองเรือน มิใชนักบวช) ก       หรือคิดทบทวนเรื่องราวตาง  เพื่อท�าจิตใหเปนสมาธิ
รักษาศีล  ศีล  เปนตน                                  ไดงาย เปนประโยชนในการศกษาเลาเรียน และอะไร 
                                                              
        อีกอยางหน่ง ค�าวา “มัตตัุตา จะ ภัตตัสมิง”    อีกหลายอยาง เชน สมาธิ สามารถชวยระงับโรคบาง
รูจกประมาณในการบริโภค รวมไปถงตองรูวาจะบริโภค
  ั                                                    อยางได เปนตน สวนนิพพานเปนอุดมการณอันสูงสุด
อะไร อะไรมีโทษ อะไรไมมีโทษ ขอนี้กเปนสิ่งส�าคัญ        ในทางพระพุทธศาสนา เพื่อความสิ้นทุกขทั้งปวง หมด
เชนเดียวกัน จะเหนไดวา ในปจจุบันนี้ การไมรูจัก      สิ้นขันธหา ไมตองมีการเวียนวายตายเกิดอีกตอไป




  ร้ำน NaVa Thai โดย.. คุณสุชำติ-คุณลัดดำวัลย์ ศรีเกตุสุข ท�ำบุญร้ำนครบรอบ ๔ ป วันที่ ๓ มกรำคม ๒๕๕๕
แสงธรรม 12       Saeng Dhamma
บทความพิเศษ :
                                     คู่รัก - คู่บารมี
                                                              อรหันต นับวาทั้งสองพระองคเปนคูบารมีกันอยาง
                                                              แทจริง
                                                              เหตุชักน�าห้หิงชายมีจรักกัน
                                                                    ก อ นที่ ห ญิ ง ชายจะมี ป ณิ ธ านอั น ยิ่ ง ใหญ ร ว ม
                                                              กัน เปนคูบุญบารมีกันไดนั้น ตองผานความรูสกและ
                                                              ความผูกพันดวยความรักกันมากอน แตเปนเรื่องที่นา
                                                              แปลกใจวาเหตุใดเลา
                                                                    บางคนบางคู เหนหนากันเพียงครั้งเดียวกหลง
                                                              รักกัน
                                                                    บางคนบางคู รูจักศกษานิสัยใจคอกันพอสมควร
                                                              จงเกิดความรัก
                                                                    บางคนบางคู ไดเกื้อหนุนจุนเจือกัน นานไปก
                                                              เกิดเปนความรัก
                                                                    บางคนบางคู สนิทสนมกลมเกลียวเปนเพื่อน
       พระนางพิมพาและพระโพธิสัตวนั้น ทรงเกิด                 เลนกันมาแตเดกแตนอย แลวจงคอยแปรเปลี่ยนเปน
มาเปนคูรักและเปนคูครองกันมานับอเนกอนันตชาติ              ความรักเมื่อโตเปนหนุมเปนสาว
ผ า นความสุ ข และทุ ก ข ภั ย ของสั ง สารวั ฏ มาด ว ยกั น         บางคนบางคู ไดสมหวังในความรัก ขณะที่บางคู
มากมายนับชาติไมถวน มีพบมีพลัดพรากจากกันเปน                 กลับตองเลิกรา
ธรรมดา แตเมื่อใดที่ไดเกิดมารวมกัน กสงเสริมกันใน                บางคน ไดแตหลงรักเขาขางเดียว แตเขาไมเคย
การสรางสมบุญบารมีโดยไมยอทอดวยจิตที่เสมอกัน               มีใจรักตอบ
มีความผูกพัน ไมโกรธไมเคือง ไมมีแมเพียงสายตาที่                  บางคน เขามาชอบ พยายามทอดสะพานให แต
ทอดดูกันดวยความไมพอใจ ทั้งสองไดเปนคูครองกัน              กลับไมสนใจ..
มาจนถงชาติอันเปนที่สุด ซ่งพระโพธิสัตวไดตรัสรูเปน             ขณะที่บางคน ทั้งชีวิตกลับเงียบเหงา ไมเคยมี
พระพุทธเจา และพระนางพิมพาไดส�าเรจเปนพระ                   ลมรักพัดผานมาใหชื่นใจเลย แมแตเพียงครั้งเดียว
แสงธรรม 13 Saeng Dhamma
        ดูแลวความรักของหญิงชายนี้ชางวุนวายนัก จน              คูรก ไดแกคหญิงชายทีมใจรักสมัครสมาน ปฏิบติ
                                                                     ั            ู       ่ี                     ั
นาสงสัยวามีเหตุอะไรที่ท�าใหหญิงชายมารักกัน หรือ     ตอกันในฐานะคูรก แตยงไมไดเปนสามีภรรยากัน
                                                                              ั        ั
มีเหตุอะไรที่ท�าใหหญิงชายนั้นไมรักกัน มีผูกราบทูล             คูครอง คือ หญิงชายที่ไดตกลงอยูรวมเปนสามี
ถามพระพุทธเจาเรื่องความรักของหญิงชาย ปรากฏ            ภรรยากันในชาติภพปจจุบัน
ในสาเกตชาดกที่  พระไตรปฎก เลมที่ ๒ พระสุต                    เนือคู คือ หญิงชายที่เคยเปนคูครองกันมาใน
ตันตปฎก เลมที่  วา                                อดีตชาติ แตในชาติภพปจจุบันอาจเปนหรือไมไดเปน
        “ข้าตพระู้มีพระภาค เหตุไรหนอ เมื่อบุคคล     คูครองกันกได
บางคนนลกนี พอเหนกันเข้ากเย  หัวจกเย                    คูท้ คือ หญิงชายที่เปนเนื้อคูกัน เคยอยูรวมกัน
บางคนพอเหนกันเข้า จิตกเลื่อมส”                      ในอดีตมามากกวาคนอื่น หญิงชายแตละคนอาจมีคู
        พระพุทธองคจงทรงแสดงเหตุที่ท�าใหหญิงชาย      แทไดหลายคน และเชนเดียวกับเนื้อคู คือ คูแทอาจ
รูสกรักกันไว ดังนี้                                 จะไมไดเปนคูครองกันในชาติปจจุบันกได หากทั้งสอง
        “ความรักนัน ยอมเกิดขึนด้วยเหตุ  ประการ     ายไมไดมาเกิดรวมกัน หรือทั้งสองายมีวิบากจาก
คือ ด้วยการอยูรวมกันนกาลกอน  ด้วยความ             ถูกอกุศลกรรมมาตัดรอน
เกือกูลตอกันนปจจุบัน  เหมือนดอกอุบลละ                      คูเวรคูกรรม คือ หญิงชายที่ไดเปนคูครองกันใน
ชลชาติ เมื่อเกิดน ยอมเกิดเพราะอาศัยเหตุ         ปจจุบัน แตเนื่องจากเหตุที่ท�าใหตองมาครองคูกันนั้น
ประการ คือ ละเปอกตม ะนัน”                      เกิดจากเคยท�าอกุศลกรรมรวมกัน ไวในอดีต จงตอง
        ในพระอรรถกถาพระไตรป ฎ กขยายความ               มารับวิบากกรรมรวมกัน หรือเคยอาาตพยาบาทกัน
วา ความรักของหญิงชายนั้นเกิดข้นไดดวยเหตุสอง        มากอนในอดีต จงตองมาอยูรวมกันเพื่อแกแคนกัน
ประการ คือ                                             ตามแรงพยาบาทนั้น คูประเภทนี้มักจะมีเหตุใหมีเรื่อง
        . การไดเคยอยูรวมกันมาในกาลกอน เคยเปน     ทะเลาะเบาะแวงกัน ขัดอกขัดใจกัน อยูดวยกันดวย
มารดาบิดา ธิดาบุตร พี่นองชาย พี่นองหญิง สามี         ความทุกขและเดือดรอน หาความสุขไมได
ภรรยา หรือเคยเปนมิตรสหายกัน เคยอยูรวมเคียงกัน                 คูบารมี คือ หญิงชายทีเ่ ปนเนือคูกน เคยอยู
                                                                                                    ้ ั
มา ความรักความผูกพันนั้นยอมไมละ คงติดตามไป           เปนคูครองกันมากมากกวาคูอน และมีความตังใจที่
                                                                                          ่ื                  ้
แมในภพอื่น                                            จะเกือหนุนเปนคูครองกันไป จนกวาคูของตนจะได
                                                             ้                                         
        ๒. ความเกื้อกูลชวยเหลือกันในชาติปจจุบัน      ส�าเรจในธรรมทีปรารถนา ไดตรัสรูเ ปนพระพุทธเจาใน
                                                                            ่
        ความรักยอมเกิดข้นดวยเหตุสองประการนี้        อนาคตกาล ดังเชนคูของพระโพธิสตวกบพระนางพิมพา
                                                                                              ั ั
สารพัดคู                                              การปิบัติตนเพื่อห้เปนคูครองที่มีความสุข
        หญิงชายที่รักกัน และมีความสัมพันธกัน เรียก              หญิงและชายที่รักกัน คงปรารถนาที่จะใหคนรัก
วาเปนคูกัน ลักษณะการเปนคูของหญิงชายนั้นมีได      ของตนเปนเนื้อคูที่เคยอยูรวมกันมาแตชาติปางกอน
หลายแบบ คือ                                            และคงอยากใหความรักของตนมีแตความสุขตลอด
แสงธรรม 14      Saeng Dhamma
ไป แตความปรารถนาเชนนี้ใชวาจะส�าเรจสมความ            สัาณคูท้
ปรารถนาในทุกคูรัก เพราะบางคูอาจมีการพลัดพราก                   เนื่องจากคูแท คือคนที่เปนเนื้อคูกันมานานแสน
ความรักจืดจาง จากหวานกลายเปนขม บางคูแมจะ              นาน ความรักความผูกพันขามภพชาติจงมีมากเหนือคู
ยังรักกัน แตการท�ามาหากินกลับดเคือง ชีวิตมีแต        แบบอื่น และอาจมีอธิษฐานรวมกันมาแลวในอดีตชาติ
อุปสรรค เหลานี้ลวนแตเปนทุกขที่เกิดเพราะความรัก      จงพอจะสังเกตไดวาใครเปนคูแทคูบารมี ลักษณะ
เปนวิบากที่เกิดจากอกุศลกรรมเกาทั้งสิ้น                 อาการที่แสดงเมื่อคูบารมีมาพบกัน เชน เมื่อแรกพบ
      หากหญิงและชายปรารถนาที่จะมีความรักและ              กรูสกคุนเคย อาจจ�ากันได อาจจะไมรูสกวารักตั้งแต
ชีวิตที่ครอบครัวที่เปนสุข จะตองเปนผูไมสรางอกุศล    แรกพบ แตมีรูสกวาผูกพันกันมากกวา ไมวาท�าสิ่งใดก
กรรม ดังนี้                                              มักคลอยตามกัน มีความคิดลงรอยกันมากกวาปกติ
                                                                 แมอยูหางไกลกัน ตางจังหวัด ตางบานตางเมือง
                                                         กมีเหตุชักน�าใหไดมาพบกันแบบแปลก  ดวยหนาที่
                                                         การงาน ดวยเหตุบังเอิญ หรือแมแตมีผูใหญจัดสรรให
                                                         ไดพบกันกมี
                                                                 หากมีกรรมพลัดพรากเปนเหตุใหทั้งคูยังไมได
                                                         พบกัน อีกายจะมีความรูสกเหมือนรอคอยใครสัก
                                                         คนที่ไมรูวาเปนใคร แมมีหญิงชายมากมายผานเขามา
                                                         ในชีวิต กไมไดมีจิตคิดผูกพันกับใครอยางจริงจัง อาจ
                                                         มีบางที่มีรักมีสัมพันธกับใครไปกอน แตมักมีเหตุให
                                                         เลิกราหยารางกันไปดวยจิตใจที่รอคอยใครสักคนที่
      . มีความมั่นคงในคูครองของตน ไมเจาชูหลาย       เปนคูแทของตน และหากไดพบกับคูแทของตนแลว
ใจ ไมท�าใหคูของตนผิดหวังชอกช้ำ�ใจ โดยเฉพาะตอง        แตมีวิบากจากอกุศลกรรมอันเปนกรรมพลัดพรากมา
มีสติมั่นคงเมื่อไดมีโอกาสไดพบกับเนื้อคูคนอื่น  ที่   ตัดรอน เปนเหตุใหตองจากกันในภายหลัง แมจะจาก
อาจผานเขามาในชีวิต ซ่งการไดเคยอยูรวมกันในกาล       กันไปนานแสนนานนับสิบ  ป กไมอาจลืมกันได
กอนอาจท�าใหจิตใจหวั่นไหวได                            การตังความปรารนาจะพบกันนชาติภพตอไป
      ๒. ไมเปนเหตุใหคูครองเขาตองแตกแยกดวย                  หญิ ง ชายแต ล ะคนนั้ น ต า งผ า นทุ ก ข ภั ย ของ
ความอิจฉา ริษยา                                          สังสารวัฏมานานแสนนาน ตางผานการครองคูมานับ
      ๓. ไมลวงศีลขอ ๓                                 ครั้งไมถวน แตละคนจงมีเนื้อคูมากมาย เปนแสนเปน
      . ไมปรามาสพระอรหันต ดังหลักฐานปรากฏ             ลานคน บางคนเปนคูกันแลวกมีความสุข อยากพบ
ในพระไตรป ฎ กว า คนที่ ป รามาสพระอรหั น ต ห ญิ ง      เจอและไดอยูเปนคูกันอีกในชาติภพตอไป แตบางคน
มักไดรับเศษกรรมในเรื่องของคูครอง                       กเบื่อหนายไมถูกใจคูของตน ไมปรารถนาจะกลับมา
แสงธรรม 15 Saeng Dhamma
พบเจอกันอีก                                                     ดังนัน เมือหญิงชายปรารถนาจะไดพบกัน เปนคู
                                                                     ้ ่
        เหตุที่จะท�าใหคูหญิงชายมีโอกาสไดอยู รวมกัน   ครองกันอีกในชาติภพตอ  ไป หญิงชายทังสองนันตอง  ้        ้
ในชาติภพตอไปนั้น พระพุทธองคไดทรงแสดงเหตุ               ปฏิบตตามพุทธพจน และมีการตังจิตปรารถนา ดังนี้
                                                               ัิ                               ้
ปจจัยไวในสมชีวิสูตรที่  พระไตรปฎก เลมที่ ๒                . รักษาศีลห้เสมอกัน
พระสุตตันตปฎก เลมที่ ๓ อังคุตตรนิกาย จตุกก                   บุ ค คลที่ มี ศี ล เสมอกั น ย อ มอยู ร ว มกั น ได ใ น
นิบาต ดังนี้                                              ปจจุบัน เมื่อสิ้นชีวิตแลวกสามารถไปเสวยกรรมดี
        “ดูกร คหบดีละคหปตานี ้าภรรยาละ               รวมกัน แตหากายหน่งทรงศีล แตอีกายทุศีล าย
สามีทังสองหวังจะพบกันละกันทังนปจจุบันทัง            หน่งยอมไปสูสุคติภูมิ สวนอีกายตองไปสูอบายภูมิ
นสัมปรายภพไซร้ ทังสองพึงเปนู้มีศรัทธาเสมอ             โอกาสที่จะไดกลับมาพบกันนั้นยากยิ่งนัก
กัน มีศีลเสมอกัน มีจาคะเสมอกัน มีปาเสมอกัน                   . ห้ทานละยินดีนการบริจาคเสมอกัน
ภรรยาละสามีทังสองนัน ยอมได้พบกันละกันทัง                  หากายหน่งายใดใหทานและบริจาค แตอีก
นปจจุบัน ทังนสัมปรายภพ                                ายไมชอบใจ กจะเกิดความขัดแยง ไมลงรอยกัน น�า
        ภรรยาละสามีทังสองเปนู้มีศรัทธา รู้ความ        ไปสูความบาดหมาง และเอาใจออกหางกันในที่สุด
ประสงคของู้ขอ มีความส�ารวม เปนอยูดยธรรม                    . ท�าปาห้เสมอกัน
เจรจาค�าที่นารักกกันละกัน ยอมมีความเจริ                   การท�าปญญาใหเสมอกัน มีการปฏิบัติสมาธิ
รุงเรืองมาก มีความาสุก ทังสองายมีศีลเสมอกัน          ภาวนา จะท�าใหทั้งสองมีความเขาใจในโลกธรรมเสมอ
รักครกันมาก ไมมีจร้ายตอกัน ประพติธรรมน             กัน มีความเขาใจในสุขและทุกขจากการอยูรวมกัน
ลกนีล้ว ทังสองเปนู้มีศีลละวัตรเสมอกัน ยอม         และยอมรับกันได
เปนู้เสวยกามารมณ เพลิดเพลินบันเทิงจอยูน                   . ตังจิตอธิษาน
เทวลก”                                                         อธิ ษ ฐานนั้ น มี ผ ลทั้ ง อธิ ษ ฐานที่ เ ป น กุ ศ ลและ




    คุณสุพรรณี - คุณสุวภี ท�ำบุญถวำยสังฆทำนวันเกิด         คุณทวน เหวียน และครอบครัว ท�ำบุญวันเกิด ๒๙ ม.ค. ๕๕
แสงธรรม 16         Saeng Dhamma
อกุศล การอธิษฐานเปนเหมือนการตั้งหางเสือเรือ                                แตการสรางสมบารมีของบุคคลใดบุคคลหน่ง
ท�าใหเรือมุงหนาสูจุดหมายที่ก�าหนดไว ในการครอง                   นั้น ใชเวลาประมาณ  แสนกัป กมีบุญบารมีมาก
คูกเชนกัน อธิษฐานจะเปนตัวชักน�าใหหญิงชายได                     พอที่จะบรรลุธรรม และหลุดพนจากสังสารวัฏนี้ไป
กลับมาพบกัน และไดครองคูกันไดในที่สุด ดังเชน                      ได การผูกพันเปนคูบารมีจงเปนการผูกมัดตนเองไม
อธิษฐานของสุมิตตาพราหมณี ซ่งอธิษฐานเปนคู                          ใหมีโอกาสไดบรรลุธรรม แมจะไดมีโอกาสไดงธรรม
บารมีใหพระโพธิสัตว จากนั้นมาอีกหลายชาติ ทั้ง                       จากพระพุทธเจาเปนแสนเปนลานองค นอกจากนี้
สองกตองใชเวลาปรับศีล ทาน และปญญา ใหมา                           การเป น คู บ ารมี ยั ง ต อ งพบกั บ ความทุ ก ข ยากนานับ
เสมอกัน และไดเปนคูบารมีกันสมค�าอธิษฐานนั้น                        ประการ ดังเชนที่พระนางพิมพาไดประสบตลอดเวลา
การปรารนาเปนคูบารมี                                               ยาวนานถง  อสงไขยกับเศษแสนกัป
        หญิงชายที่ปรารถนาเปนเนื้อคูกันตลอดไปนั้น                          ดังนั้นการจะอธิษฐานติดตามเปนคูบารมีพระ
สามารถท�าไดไมยาก เพียงรวมกันปฏิบัติตนใหมี ศีล                    โพธิสัตวสักองคหน่ง           จงควรไตรตรองใหดีวาไมใช
ทาน และปญญา ใหเสมอกัน และมีอธิษฐานรวมกัน                          อธิษฐานดวยเหตุเพราะความรักและตัณหา แตตอง
เปนหลักชัย                                                          ประกอบไปดวยความรักและความศรัทธาอยางแรง
        แต ก ารเป น คู บ ารมี นั้ น หมายถ ง  า ยหน่ ง เป น   กลาตอพระโพธิสัตวองคนั้น นอกจากนี้ยังตองมีน้ำ�ใจ
พระโพธิสัตว มีความปรารถนาเอกอุในการบ�าเพญ                          สงสารและอยากชวยเหลือสรรพสัตวใหขามพนกอง
พุทธการกธรรมเพื่อจะไดตรัสรูเปนพระ พุทธเจา ซ่ง                   ทุกข และมีก�าลังใจเขมแขงเทาเทียมกับพระโพธิสัตว
จ�าเปนตองใชเวลาสรางสมบารมียาวนานอยางเรวสุด                     องคหน่งเชนกัน
ถง ๒๐ อสงไขยกับเศษแสนกัป และอยางชาตองเนิ่น
นานถง ๐ อสงไขยกับเศษแสนกัป ซ่งเปนกาลเวลาที่
ยาวนานมาก




   DUSIT THAI RESTAURANT ท�ำบุญร้ำนประจ�ำป เพื่อควำมเป็นสิริมงคลต้อนรับปใหม วันที่ ๒๑ ม.ค. ๒๕๕๕
แสงธรรม 17 Saeng Dhamma

ค บ าก บ า ก า ู   าั  าารร า  ก    ั  กร    ั   ี  ี 




     กลุ ่ ม พลั ง บุ ญ ถวายเพลทุ ก เดื อ น                 ุยายาพ ถวายเพลทุกเดือน




นง เก นง กพ นง เก ถวายเพลทุกเดือน   นงวยททาเือทาอากา ถวายเพลทุกเดือน
                                                             ่




  พยาบาลบัลมอ ถวายเพลทุกวันพุุดทายองเดือน     ถวายัาาเพลวันุกท่  องทุกเดือน
แสงธรรม 18      Saeng Dhamma
      ค บ าก บ า ก า ู   าั  าาร า ร า ั  กร    ั   ี  ี 




าน   ดยุเอ ล ถวายเาวันพุ            ถวายัาาเาวันุก




       ถวายัาาเาทุกวันเา                  อบัวุานนท ลถวายัาาเาวันอังา
                                                                  




าบุญเม งามอาด ล ถวายัาาเาวันพุ        นกลเพื่อน ถวายัาาเาทุกวันอาทย
แสงธรรม 19 Saeng Dhamma

คา าั ครบครั าบค าั ัาี่  มค 




อบัวเพพาว อบัวมุกัง อบัวงพาล อบัวเือด ทาบุญอุทบพกาน วันอาทยท่  ม 
                                                                                    ุ
แสงธรรม 20        Saeng Dhamma
       ี  าก  ค       รี  ก    ั  าร  ี ่  มกราคม 




    ดวยอาลัยักลุงุยอย่างุดง                     อดวงวญญาลุงงลุถงทพยถาน




   เวยวานวมาน                                ลอดกาลเนนนันดเทอญ




เพื่อนพองนองพ่มา่วมวอาลัยนดเนังุดทาย    อบัวเกุุ ออบพุทุกท่านเนอย่างง
แสงธรรม 21 Saeng Dhamma
WAT THAI WASHINGTON D.C.
STATEMENT OF ACTIVITIES AND CASH FLOWS
FOR THE PERIOD OF ULY 1, 2011 - DECEMBER 31, 2011
     nome                                                              Subtotal                             Total
     Donations
                DonationsGeneral Suort                   24,22
                Donations80th Ts Building unds         40,1 
                DonationsEduation                           6,66
                Total Donations                                            290,62
     nvestment Dividends                                      9
                nterest                                        46          1,2
     Total nome                                                                                           291,81
Eenses
     tilities Eletriity                                  12,18
                il  roane Gas                             2,4
                Solid aste  Refuse Colletion               ,4
                ater                                         4,11
                Total tilities                                             2,08
     rinting  Distribution Euiment easing and Reair    4,128
                ostage                                       ,880
                rinting Servies                            1,699
                Sulies                                      1,69
                Total rinting  Distribution                               29,26
     Euiment Eenses Euiment urhase                   2,146
                Euiment Rental                              1,4
                Maintenane Contrats  Reair                4,8
                Total Euiment Eenses                                     8,06
     nsurane Automobile                                     1,28
                ealth nsuraneMonks                       18,16
                roerty  iability                          4,262         2,2
     Automobile                                                              2,92
     Bank Charges                                                               29
     Building and Ground                                                       2
     Contributionsositality  Gifts                                       ,011
     oods  Sulies                                                          940
     und raising                                                            ,6
     MedialMonks                                                             69
     fe Eenses                                                          2,64
     Seurity Servies                                                         4
     Shool Eenses                                                        10,26
     Telehone and nternet                                                  1,4
     Travel                                                                  ,29
     Total Eenses                                                                                        11,491
                et nome and Eenses                                                                     14,24
     ess Cash rovided for erating Eenses Aounts ayablereaid                                   2,2
                80th uangta Chis ear Building                                                             6,169
et Cash lows                                                                                              16,40

TE  Donationuangta Chis 80th ear Building unds is inluded net inomeeenses from uangta Chis Birthday event.
       Total eenses are not inluded eenses for unagta Chis Birthday event whih are reorted as net donations.



                 isakorn raisaengeth                                      hramaha Thanat nthisan
                 Assistant Treasurer                                          resident
แสงธรรม 22   Saeng Dhamma
                  ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี.
                                                  ิ




                  Those who are interested in Thai Theravada Buddhism and
                  members of the general public are cordially invited to Wat
                  Thai, D.C., Temple to pay their respect to or simply view the
                  Buddha relics on display in the chanting hall.


ปฏิบัติธรรมประจ�าเดือนกุมภาพันธ์
  วัดทยกุงวองัน ด 25 กุมภาพันธ์ 2555
 ศึกษาและปฏบัตธรรมตามแนวพระไตรปิฎก
           สาธยายพระไตรปิฎก ภาษาบาลี
           ฟังบรรยายธรรม - ธรรมสากจฉา
           เจรญจตภาวนา - แผ่เมตตา
             พร้อมกันบนอุโบสถศาลา เวลา 9.00 A.M.
แสงธรรม 23    Saeng Dhamma



                                       เสียงธรรม.. จากวัดไทย
                                                   พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี)




                 ิตต ติ           ิตต ิสสติ
                 ิตตสส ธสส         สพพ ส
                 าิา าิทาิ
           ุทาตาาาิาทา


         อยูคนเดียวห้ระวังความคิด อยูกับมิตรห้
          ระวังวาจา” ความคิดมันมีอิทธิพล อาจจะ
ดลบันดาลใหคนเราท�าอะไรกได ตามอ�านาจอิทธิพล
                                                       ชั่วและท�าชั่ว ในท�านองเดียวกัน ในายแหงความดี
                                                       ถาคนเราคิดแตเรื่องที่ดี  นาน  เขากจะเราใหคนเรา
                                                       พูดแตเรื่องที่ดี  และกประกอบกระท�าแตความดี
ของความคิดนั้น ความคิดมันเปนไดทั้งมิตร เปนไดทั้ง        สังคมใดที่มากไปดวยคนคิดชั่ว สังคมนั้นกเตมไป
ศัตรู เปนไดทั้งายสราง เปนไดทั้งายท�าลาย และ   ดวยคนพูดชัว คนท�าชัว พฤติกรรมทีแสดงออกทางกาย
                                                                    ่           ่          ่
เปนอะไรไดอีกมากมายหลายประการ คือ มันเปน             ทางวาจา ของคนคิดชั่ว กมีแตเรื่องเปนพิษเปนภัยแก
เสมือนหนงวาดาบสองคม ใชถกใชเปนมันกใหคณ แต
           ่                    ู               ุ      สังคมนานัปการ บานเมืองระส�่าระสายวุนวายไปทุก
ถาใชไมเปน ใชผิด มันกใหโทษ เจาความคิดนี้มันก   หยอมหญา สาเหตุส�าคัญกเกิดจากอิทธิพลของคนคิด
เหมือนกัน คิดดีกเปนศรีแกตัว แตถาคิดชั่วกพาตัว    ชั่วนั้นเองเปนผูกอข้น แตถาหากสังคมใดมากไปดวย
ฉิบหาย ท�าลายทุกสิงทุกอยาง นีคออิทธิพลของความ
                      ่           ่ื                   คนคิดดี สังคมนั้นกมีแตคนพูดดี คนท�าดี ทุกหนทุก
คิดในายแหงความชั่ว ถาคนเราคิดชั่วมาก  เขา เจา   แหงแขงกันประกอบคุณงามความดี เปนศรีทั้งแกตน
ความคิดชั่วนี้แหละ มันกจะรบเราผลักดันใหคนเราพูด     และสังคมสวนรวม ประเทศชาติ ความสงบสุขและ
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012

Contenu connexe

Tendances

จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13Tongsamut vorasan
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้าwatpadongyai
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาJustmin PocoYo
 

Tendances (17)

Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
Saeng Dhamma Vol 35 No. 419 March, 2010
 
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
Saengdhamma Vol. 39 No. 432 April, 2011
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010 Saengdhamma April, 2010
Saengdhamma April, 2010
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
 
Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011Saengdhamma Januaryr2011
Saengdhamma Januaryr2011
 
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 428 December 2010
 
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
 
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 13
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 

Similaire à Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012

1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมkhumtan
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453khumtan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์ หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์Bordin Kijsirijareonchai
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19Tongsamut vorasan
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14Tongsamut vorasan
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 

Similaire à Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012 (16)

1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคมแสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
แสงธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 453 ประจำเดือนมกราคม
 
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453Saengdhamma jan  2013 Vol.38 No.453
Saengdhamma jan 2013 Vol.38 No.453
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
Saeng Dhamma Vol. 35 No. 423 July, 2010
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์ หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
หนังสือ-กรณีธรรมกาย-ฉบับเพิ่มเติม-จัดลำดับใหม่-โดยพระพรหมคุณาภรณ์
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 19
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณารามรายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐ ณ วัดพรหมคุณาราม
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 

Plus de Wat Thai Washington, D.C.

คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสWat Thai Washington, D.C.
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายWat Thai Washington, D.C.
 
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี""ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"Wat Thai Washington, D.C.
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 

Plus de Wat Thai Washington, D.C. (9)

คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
 
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C. Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
Calendar 2012 Wat Thai Washington, D.C.
 
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDCLoykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
Loykrathong Festival 2011 Wat ThaiDC
 
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี""ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
"ศิษยานุศิษย์น้อมจิตคารวะ ๘๖ ปี หลวงตาชี"
 
คนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมาคนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมา
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
Saengdhamma Vol.36 No. 427 November 2010
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
Saeng Dhamma Vol. 36 No.426 October 2010
 

Saeng Dhamma Vol. 37 No. 442 February 2012

  • 1. ทุกชีวิตมีปญหา พระพุทธศาสนามีทางแก้ ฉบับ แสงธรรม วารสารธรรมะรายเดือนที่เกาแกที่สุดในอเมริกา S eng D am วันมาฆบูชา ปที่ ๓๗ ฉบับที่ ๔๔๒ ประจำาเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ Vol.37 No.442 February 2012 ๒๕๕๕
  • 2. สื่อสองทาง สวางอ�าไพ แสงธรรม ทุกชีวิตมีปญหา พระพุทธศาสนามีทางแก วารสารธรรมะรายเดือนที่เกาแกที่สุดในอเมริกา ปที่ 37 ฉบับที่ 442 ประจ�าเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2555 Vol.37 No.442 February, 2012 Objectives : �To promote Buddhist activities. สารบัญ �To foster Thai culture and tradition. �To inform the public of the temple’s activities. Contents �To provide a public relations center for The Buddha’s Words............................................. 1 Buddhists living in the United States. Forest Wat, Wild Monks by Ven. Buddhadasa......... 2 เจ้าของ : วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. The Peace Beyond By Ven. Ajanh Chah........... 6 ที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี มาฆบูชาร�าลึก ................................................................ 9 กองบรรณาธิการ : บทความพิเศษ : “คูรก-คูบารมี” .................................................. 15 ั  ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี อนุโมทนาพิเศษแดผอปถัมภกจกรรมวัดไทยฯ ดี.ซี. .............. 17 ู ุ ิ พระสมุหณัฐิวุฒิ ปภากโร รายรับ-รายจาย วัดไทยฯ ดี.ซี. ................................................ 21 พระมหาเรืองฤทธิ์ สมิทฺธิญาโณ พระสุริยา เตชวโร ปฏิบัติธรรมประจ�าเดือนกุมภาพันธ........................... 22 พระมหาสราวุธ สราวุโธ เสียงธรรม...จากวัดไทย........................หลวงตาชี 23 พระมหาประดูชัย ภทฺทธมฺโม ประมวลภาพกิจกรรมเดือนมกราคม ...................... 29 พระมหาศรีสุพรณ อตฺตทีโป เสียงธรรม...จากหลวงตาชี ...................................... 32 พระมหาค�าตัล พุทฺธงฺกุโร ทองแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ป ดร.พระมหาถนัด 39 พระอนันตภิวัฒน พุทฺธรกฺขิโต สารธรรมจาก...พระไตรปฎก ..................................... 43 และอุบาสก-อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. อนุโมทนาพิเศษ / Special Thanks............................ 44 SAENG DHAMMA Magazine Thai Temple’s News...............โดย ดร.แฮนดี้ 45 is published monthly by รายนามผูบริจาคเดือนมกราคม Ven.Pradoochai 49  Wat Thai Washington, D.C. Temple รายนามผูบริจาคออมบุญประจ�าปและเจาภาพภัตตาหารเชา...53 At 13440 Layhill Rd., Silver Spring, MD 20906 รายนามเจาภาพถวายเพล / Lunch.............................54 Tel. (301) 871-8660, 871-8661 ก�าหนดการเทศนมหาชาติเวสสันดรชาดก............................ 62 Fax : 301-871-5007 E-mail : watthaidc@hotmail.com Photos taken by Homepage : www.watthaidc.org Ven. Khumtan, Ven. Ananphiwat, Radio Network : www.watthai.iirt.net Mr. Kevin & Mr. Sam 2,500 Copies Bank & Ms. Golf
  • 3. ถ้อยแถลง มาฆบูชาเทศน้อย ธรรมคุณ คืนค�่าบ�าเพบุ บาทเบือง วารอวาทคอยจุน จิตสวางไสวล เพพรางทางธรรมเยือง ยางย้ายขยายธรรม พันสองร้อยห้าสิบ้วน พระสงฆ เยพรธรรมพุทธองค ออกคว้น หมายมุงกลับคืนคง ราชคหพร้อมนา เวุวันเหมือนม้น ดั่งได้นัดหมาย อวาทปาติมกขเน้น น�าสอน ละชั่วกรวดตะกอน กรอนเนือ ท�าดีขจายขจร จบทั่วสกนธ จิตองุดาดเกือ กอห้ลกงาม  วันมาฆบูชา เปนวันส�าคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนาซ่งเปนที่รูกันวา เปนวันแรกที่พระพุทธเจาไดประกาศหลักธรรมค�าสั่ง สอนของพระองค คือ “อวาทปาติมกข” ซ่งถือกันวาเปนหลักค�าสอนที่เปนหัวใจส�าคัญของพระพุทธศาสนา ณ พระเวุวัน มหาวิหาร กรุงราชคฤห มีใจความโดยยอวา . สพพปาปสส อกรณ� การไมท�าบาปทังปวง . กุสลสสูปสมปทา การ ท�าความดีห้บริบูรณ . สจิตตปริยทปน� การท�าจิตห้หมดจดจากกิเลส อนง วันนีนบเปนวันคลายกับวันประชุมกันเปนพิเศษ แหงพระอรหันตสาวกทังหลายโดยมิไดนดหมาย ซงเรียกวา “วัน ่ ้ ั ้ ั ่ จาตุรงคสันนิบาต” คือ การประชุมพร้อมด้วยองค  กลาวคือ  วันนันเปนวันมาฆปูรณมี คือวันเพขึน  ค�า เดือน    ่  พระภิกษุ , องค มาประชุมกันดยมิได้นัดหมาย  พระภิกษุทังหมดล้วนเปนพระอรหันต  พระภิกษุเหลา นันทังหมดได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าดยตรงเอหิภิกขุอุปสัมปทา เมื่อวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนามาถงอยางนี้แลว สมควรอยางยิ่งที่เราชาวพุทธทั้งหลาย ควรนอมร�าลกถงพระมหา กรุณาคุณของพระพุทธองค ดวยการปฏิบัติดีปฏิบัติชอบตามหลักค�าสอนขางตนนั้น “มาฆบูชา ปวงประชาชาวพุทธ กาย วาจา จ บริสุทธิ บูชาพระพุทธองค” ดังนั้น วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. จงไดก�าหนดจัดงานท�าบุญ “วันมาฆบูชา” นวันเสาร-อาทิตยที่ - กุมภาพันธ  โดยมีการปฏิบัติธรรม สนทนาธรรม เจริญจิตภาวนาเพื่อนอมถวายเปนพุทธบูชา ในวันเสารที่ ๒ กุมภาพันธ เริ่ม เวลา ๐.๐๐ น. เปนตนไป สวนนวันอาทิตยที่  กุมภาพันธ เริ่มพิธีเวลา . น. มีกิจกรรมท�าบุตักบาตร ตังรง ทานมหากุศล วายภัตตาหารเพลดพระสงฆ งพระธรรมเทศนา ละพิธีเวียนเทียน จงขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนทั้ง หลายรวมบ�าเพญบุญกุศลตามวัน เวลา ดังกลาวโดยพรอมเพรียงกัน อยาลืม อยาพลาด ขอเชิญรวมจองเปนเจาภาพบุญพระเหวด “เทศนมหาชาติเวสสันดรชาดก  กัณ , พระ คาา” โดยพระนักเทศนแหลชื่อดัง เสียงดี มีส�านวนโวหาร ช�านาญกลอน สอนธรรมอันล�้าคา นวันอาทิตยที่  มีนาคม  ณ วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ตังตเวลา . น. เปนต้นไป คณะู้จัดท�า
  • 4. แสงธรรม 1 Saeng Dhamma The Buddha’s Words พุทธสุภาษิต ยสฺส ปาปกตํ กมฺมํ กุสเลน ปหียติ. โสมํ โลกํ ปภาเสติ อพฺภา มุตฺโต ว จนฺทิมา. (๑๗๒) ผูใดทําบาปไวแลว ละไดดวยการทําดี ผูนั้นยอมสองโลกนี้ใหสวาง เหมือน พระจันทร์ที่พนจากเมฆฉะนั้น Who by his wholesome deeds removes the evil done. He illumines the world here and now like the moon emerging from the cloud.
  • 5. แสงธรรม 2 Saeng Dhamma by Buddhadasa Bhikkhu http//www.liberationpark.org/arts/lpsm/wildmonk.htm  ctually, the real map is much clearer than all that. We must pass through, must arrive at, and receive something -- ap- That’s not our way. We’ll do something, nd some method, which takes the heart all the way to that city the city of peace, the state of propriately and sufciently -- in order to know peace, the nature which is peace. This short cuts the correct and true map. t’s as if we’re making the map. This is the methodology of forest wat a map and must wade through that respective wild monks keep looking for and aiming at subject or area in order to draw the map. f we only the peaceful mind. draw it from guesses and imagination, it will be a ust this single word peace has multitu- mess. f we try to make a map of everything, it’s dinous meanings. t’s easy to say peace, but a huge mess. These scholars who have nished it’s hard to understand and difcult to practice. their studies end up with a scholarly map that’s But you must try. Therefore, please try to con- a mess. t’s a mess because it is wrongly e- tinually follow and search s this peace s this plained, wrongly remembered, wrongly taught, peace and, especially, wrongly interpreted. Who knows The word peace means not troubled, what kind of map it is. These literary maps ac- not anious, not agitated, not disturbed, not cording to the study books are a mess because painful, not pierced. To begin, remember these they’re all mied up. meanings. n the other hand, the minds of most
  • 6. แสงธรรม 3 Saeng Dhamma people are troubled, stabbed, cut, and roasted people who don’t want peace. Now, however, by desires, by doubts, by worries, by the kind of we should focus on the fact that it is necessary wishes that build castles in the sky. They usu- to live in the midst of such people. ow can we ally happen all the time you ought to get rid of be peace ow can we use our understanding them. ’m not forbidding you to want anything of this peace to solve those problems or do anything.  only want things to happen  still think that it can work. Please know how peacefully. to calm the mind then work with those non- Some people may think that this runs peaceful people in those incredibly chaotic cit- counter to human eistence in the world. Lis- ies and capitals. We can have minds that are tening supercially, it may sound like that. When under control, are normal, are on track, are human beings in this world don’t want peace, disciplined, are at peace they do what they they will want stimulation, they will want the should. Finally, if we must work for people who state that stimulates pleasure through the eyes, are not calm, we are up to it. ears, nose, tongue, body, whichever way, all n the scriptures there’s a story of a wom- ways. They want to get ecited, they don’t want an Stream-nterer whose husband is a hunter. peace and calm. This makes it somewhat dif- They still were able to live together. t doesn’t cult to speak about these matters. sound believable, and probably nobody will We have a choice. Stimulation, the state believe it, but that’s what the scriptures say. of having kilesa always waiting to drive and ma- She wasn’t tainted by her husband’s sins. They nipulate us, what’s that like And we must ask, could live as husband and wife without losing which direction will it lead ow far will it reach her Stream-ntry. Think about it. ou must know t has no end. So we could eploit this and how to take special care of the heart. Guard the make some money from the fact that humanity condition of peace according to your own par- has endless wants, make a business out of hu- ticular skills. manity’s endless wants, and get rich ourselves. Close your eyes and imagine this scene. The rich have wants that never end. They follow ne person is normal and able to smile. e after these endless desires, then what kind of works with another who always acts like a de- world will that be This is how different it is in mon or devil. ow can he do it  say he can. the cities, totally opposite from forest wat wild f a person is at peace, has sufciently trained, monks, who want to stop, to be cool, and to he can do it. But he probably wouldn’t want to be calm. bother. e’s more likely to nd another place The problem is like this the world’s people to work. ere, we’re just trying to show that if don’t want peace. ow will we pursue peace one tries, it is possible. f one’s heart is secure And when living in the middle of people who and normal, there’s nobody who could shake don’t want peace, how will we live peacefully him. f anyone tried to get him to do something Another way is to live by making money off the wicked, he wouldn’t do it and would probably
  • 7. แสงธรรม 4 Saeng Dhamma run away. ent. With that boy there we act in one way, with This talk is to help you begin to see that this one we must act another way. Such cool this matter of calmness is no obstacle. Further, kids will help to cool down the old folks and it’s benecial in that it gradually transforms grey-hairs, if the kids have cool characters. those who aren’t calm, making them more calm  believe that Dhamma isn’t likely to be objec- and in love with calmness. ne makes bless- tionable for use in a world lacking peace and ings without being conscious of it. People with coolness. A monk coming from correct forest Dhamma who work together with people who wat wild monk, who stays at a city wat with a lack Dhamma will do good without being aware totally different style, will have an immediate of it. They’ll cure the people without Dhamma, inuence on the city folk. They’ll notice that so that Dhamma develops in them steadily. we’re hot and he’s cool. The only uestion is whether or not the cool monk from the forest can guard that calm and cor- rectness all the time. Mostly they lose it, change, and are swallowed up. f not, they must escape back to the forest. They can’t handle the city, it’s full of annoyances. No harm done, because we ought to be able to choose in this world. f we want peace, we have the right to nd a peaceful place. But wher- ever the wild monk goes, he automati- cally teaches the Peaceful Creed right there. There will be some success,  have seen people who have gone to work and some automatic blessings, too. Make an as clerks or ofcials, who are calm, humble, and eample of peace for them to see, be truly hap- have Dhamma. They are able to cool down py for them to see, they’ll be interested and bosses who y into rages, are hurried, and lack some will even follow. ou’ll get merit and Dhamma. Know that if we have an employee the world becomes a better place. who is cool and calm, and shows it, we can’t e- f we speak of the Arahant, various princi- plode. We would be too ashamed, or else feel ples show that such a human being can never pity for him. get hot again. So she can go to the city, to the ven with these wat boys, some have capitol, to any chaotic place, without dying. something cool about them and others are al- e wouldn’t die, but probably would get fed most the opposite. We must have our own sen- up beyond toleration, then have to ee. f she sitivity for this Ahhmm, they’re totally differ- couldn’t escape, she might die. But  don’t think
  • 8. แสงธรรม 5 Saeng Dhamma so, because he’d adjust his heart inside in an let it go. More than enough time has passed, unbelievable way. There’s no need to get hot now you ought to be able, at least a little more with those people. et, what’s the point of be- than before. This means just live like a monk ing troubled by it all, avoid it to nd an appropri- (Phra)  more and more. ou’ll know the avor ate place. of the monk’s life which we call forest wat wild This talking and raising eamples back and monks. ou’ll never have a chance to try living forth is to increase understanding of forest wat like a wild monk in the city. ou must come to wild monks. Do you know the difference be- the forest, to a naturally free place, to taste and tween living as a forest wat wild monk and liv- to try it, to know Dhamma of the sort the Bud- ing as a city monk ou’ve never lived as forest dha realized and proclaimed. wat wild monks. There’s only a little time left, f not that, then why ordain ach of you you better try it out uickly. uickly live up to ought to ask yourself why you ordained Why its standard, you’ll understand the matter well. did you take leave to do this temporary going Although you return to the city later, you won’t forth To understand what To sample what To be the same. t will change you from how you get what With certainty -- like pounding a st were. ou’ll change in a good and useful way, into the ground -- we answer, to get eactly too. So  felt we should talk about this for the what we’ve been talking about. Without leav- sake of the time left in the Rains, that you might ing home, you couldn’t get it. ou would have get more interested in the forest wat wild no chance even to see or sample or give it a try. monks style. rdination was necessary. At the beginning of the Rains,  already told you about these things, such as, don’t laugh a To be continued lot, speak only a little, try to stay with Nature. But  understand you couldn’t do it, and just คุณอรพรรณ ดีวอย และครอบครัว ท�ำบุญอุทิศสวนกุศลแดคุณแมและญำติผู้ลวงลับ ณ วัดไทยฯ ดี.ซี. วันที่ ๘ มกรำคม ๒๕๕๕
  • 9. แสงธรรม 6 Saeng Dhamma A Taste of Freedom The Peace Beyond A Dhammatalk By Ajahn Chah http//www.accesstoinsight.org/lib/thai/chah/atasteof.html ...Continued from last issue... is enough to enable us to separate feeling from  f we have that presence of mind then whatever work we do will be the very tool which enables us to know right and wrong the mind. f we investigate like this continuously the mind will nd release, but it’s not escap- continually. There’s plenty of time to meditate, ing through ignorance. The mind lets go, but it we just don’t fully understand the practice, knows. t doesn’t let go through stupidity, not that’s all. While sleeping we breathe, eating we because it doesn’t want things to be the way breathe, don’t we Why don’t we have time to they are. t lets go because it knows according to meditate Wherever we are we breathe. f we the truth. This is seeing nature, the reality that’s think like this then our life has as much value as all around us. our breath, wherever we are we have time. When we know this we are someone who’s All kinds of thinking are mental conditions, skilled with the mind, we are skilled with mental not conditions of body, so we need simply have impressions. When we are skilled with mental presence of mind, then we will know right and impressions we are skilled with the world. This is wrong at all times. Standing, walking, sitting and to be a Knower of the World. The Buddha was lying, there’s plenty of time. We just don’t know someone who clearly knew the world with all how to use it properly. Please consider this. its difculty. e knew the troublesome, and that We cannot run away from feeling, we must which was not troublesome was right there. This know it. Feeling is just feeling, happiness is just world is so confusing, how is it that the Buddha happiness, unhappiness is just unhappiness. was able to know it ere we should understand They are simply that. So why should we cling to that the Dhamma taught by the Buddha is not them f the mind is clever, simply to hear this beyond our ability. n all postures we should
  • 10. แสงธรรม 7 Saeng Dhamma have presence of mind and self-awareness  wrong doings in body or speech. When we don’t and when it’s time to sit meditation we do that. do wrong then we don’t get agitated when we We sit in meditation to establish peaceful- don’t become agitated then peace and collect- ness and cultivate mental energy. We don’t do edness arise within the mind. So we say that it in order to play around at anything special. morality, concentration and wisdom are the nsight meditation is sitting in samadhi itself. At path on which all the Noble nes have walked some places they say, Now we are going to sit to enlightenment. They are all one. Morality is in samadhi, after that we’ll do insight medita- concentration, concentration is morality. Con- tion. Don’t divide them like this Tranuillity is centration is wisdom, wisdom is concentration. the base which gives rise to wisdom wisdom is t’s like a mango. When it’s a ower we call it a the fruit of tranuillity. To say that now we are ower. When it becomes a fruit we call it a man- going to do calm meditation, later we’ll do in- go. When it ripens we call it a ripe mango. t’s all sight  you can’t do that ou can only divide one mango but it continually changes. The big them in speech. ust like a knife, the blade is on mango grows from the small mango, the small one side, the back of the blade on the other. mango becomes a big one. ou can call them ou can’t divide them. f you pick up one side different fruits or all one. Morality, concentra- you get both sides. Tranuillity gives rise to wis- tion and wisdom are related like this. n the end dom like this. it’s all the path that leads to enlightenment. Morality is the father and mother of Dham- The mango, from the moment it rst appears ma. n the beginning we must have morality. as a ower, simply grows to ripeness. This is Morality is peace. This means that there are no enough, we should see it like this. Whatever Mr. Jimmy - Mrs. Marry Liew ท�ำบุญอุทิศสวนกุศลให้แด Mr. Lim Fook Ong ๒๐ มกรำคม ๒๕๕๕
  • 11. แสงธรรม 8 Saeng Dhamma others call it, it doesn’t matter. nce it’s born for yourselves. Whatever’s wrong, throw it out. f it grows to old age, and then where We should it’s right then take it and use it. But actually we contemplate this. practice in order to let go both right and wrong. Some people don’t want to be old. When n the end we just throw everything out. f it’s they get old they become regretful. These peo- right, throw it out wrong, throw it out Usually ple shouldn’t eat ripe mangoes Why do we if it’s right we cling to rightness, if it’s wrong we want the mangoes to be ripe f they’re not ripe hold it to be wrong, and then arguments fol- in time, we ripen them articially, don’t we But low. But he Dhamma is the place where there’s when we become old we are lled with regret. nothing  nothing at all. Some people cry, they’re afraid to get old or ...The Buddha was enlightened in the die. f it’s like this then they shouldn’t eat ripe world, he contemplated the world. f he hadn’t mangoes, better eat just the owers f we can contemplated the world, if he hadn’t seen the see this then we can see the Dhamma. very- world, he couldn’t have risen above it. The Bud- thing clears up, we are at peace. ust determine dha’s enlightenment was simply enlightenment to practice like that. of this very world. The world was still there gain So today the Chief Privy Councillor and his and loss, praise and criticism, fame and disre- party have come together to hear the Dhamma. pute, happiness and unhappiness were all still ou should take what ’ve said and contem- there. f there weren’t these things there would plate it. f anything is not right, please ecuse be nothing to become enlightened to... me. But for you to know whether it’s right or To be continued wrong depends on your practicing and seeing คุณวชิรำ-คุณวรยล ตีรกรวิเศษภักดี ท�ำบุญถวำยสังฆทำน 23-1-12 คุณแมสนสำ-คุณทศพล โสภำรัตน์ ท�ำบุญวันเกิด 23-1-12 ุิ
  • 12. แสงธรรม 9 Saeng Dhamma มาฆบูชารำาลึก ค�าวา มาฆบูชา แปลวา การบูชาพระรัตนตรัยใน นาส�าคัญควรจะมาอยูทพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงแสดง  ี่ วันเพญเดือน ๓ เปนวันร�าลกถงวันทีพระสัมมาสัมพุทธ ่ โอวาทปาติโมกข เจาไดทรงกระท�าการประชุมอรหันตสาวก เพื่อแสดง สิ่งที่นาศึกษานอวาทปาติมกข หลักการ วิธการ และอุดมการณ ในการเผยแผพระพุทธ ี ในโอวาทปาฏิโมกข ทานแบงออกเปน ๓ ตอน คือ ศาสนา ซ่ ง ในวั น นั้ น มี เ หตุ ก ารณ ส�า คั ญ เกิ ด ข้ น  . สัพพะปาปสสะ อะกะระณัง การไมทาบาปทังปวง � ้ ประการ ซ่งเราเรียกวา จาตุรงคสันนิบาต คือ การ กุสะลัสสูปะสัมปะทา การท�ากุศลใหถงพรอม ประชุมอันพร้อมด้วยองค  ประการ คือ สะจิตตะปะริยทะปะนัง การท�าจิตของตนให . วันนั้นเปนวันเพญเดือนมาะ หรือ มะ (เพญ ผองแผว เดือน ๓) เอตั ง พุ ท ธานะสาสะนั ง นี้ คื อ ค� า สอนของ ๒. พระอรหันต ,๒๐ รูป มาประชุมพรอมกัน พระพุทธเจาทั้งหลาย โดยมิไดนัดหมาย ๓. พระอรหันตเหลานัน เปนผูทพระสัมมาสัมพุทธ ้  ี่ . ขันตี ปะระมัง ตะป ตีติกขา ขันติ คือ ความ เจาทรงประทานการบวชใหทั้งหมด อดกลั้น เปนธรรมเครื่องเผากิเลสอยางยิ่ง . พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงแสดงโอวาทปาติโมกข นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา พระพุทธเจา องค  ประการนี้ บางแหงอาจมี  ประการที่ไม ทั้งหลายตรัสวา นิพพาน เปนธรรมอันประเสริฐสุด เหมือนกัน แตเปนที่สรุปไดวา มีเหตุการณส�าคัญอะไร นะ หิ ปพพะชิต ปะรูปะฆาตี ผูที่ยังาผูอื่น เกิดข้นในวันนั้น กถือวาเปนสันนิบาตได เหตุการณที่ อยู ไมจัดวาเปนบรรพชิต
  • 13. แสงธรรม 10 Saeng Dhamma สะมะณ หติ ปะรัง วิเหะยันต ผูทยงเบียดเบียน ทางจิตใหยิ่ง  ข้นไป  ี่ ั ผูอื่นอยู ไมจัดวาเปนสมณะ ละอุดมการณ ในทางพระพุทธศาสนา กคือ ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา ขันติ คือ ความ . อะนูปะวาท การไมเขาไปวารายใคร อดกลั้น เปนธรรมเครื่องเผากิเลสอยางยิ่ง อะนูปะฆาต การไมเขาไปท�ารายใคร นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา พระพุทธเจา ปาิมกเข จะ สังวะร การส�ารวมในพระปาฏิ ทั้งหลายตรัสวา นิพพาน เปนธรรมอันประเสริฐสุด โมกข คือ ศีลของภิกษุ นะ หิ ปพพะชิโต ปะรูปะาตี ผูที่ยังาผูอื่น มัตตัุตา จะ ภัตตัสะมิง รูจักประมาณในการ อยู ไมจัดวาเปนบรรพชิต บริภค สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต ผูทยงเบียดเบียน  ี่ ั ปนตัจะ สะยะนาสะนัง ใหอยูในที่สงัด ผูอื่นอยู ไมจัดวาเปนสมณะ อะธิจิตเต จะ อายค หมั่นประกอบความ หลักการ วิธีการ และอุดมการณ ทั้ง ๓ อยางนี้ เพียรทางจิตใหยิ่ง  ข้นไป เปนสิ่งที่ภิกษุผูรวมประชุมในขณะนั้น ผูจะออกไป เอตั ง พุ ท ธานะสาสะนัง นี่เปนค�าสอนของ เผยแผพระศาสนา จะตองยดเปนหลัก การจะเขาไปสัง ่ พระพุทธเจาทั้งหลาย ฯ สอนผูอื่น จะตองไมไปวารายใคร ไมท�ารายใคร ให ทั้ง ๓ ตอนนี้ จะบอกถง หลักการ วิธีการ และ ส�ารวมในศีล รูจกประมาณในการบริโภค ใหอยูในทีสงัด ั  ่ อุดมการณ ในทางพระพุทธศาสนาคืออยางไร และตองหมั่นประกอบความเพียรทางจิต หลักการ ในทางพระพุทธศาสนา กคือ ในการสอนหรือการเผยแผนั้น ตองยดหลักการวา สัพพะปาปสสะ อะกะระณัง ตองไมท�าบาปทังปวง ตองไมท�าบาป ใหท�าบุญกุศล ใหท�าจิตใหผองแผว เปน ้ กุสะลัสสูปะสัมปะทา ควรท�ากุศลใหถงพรอม หลัก สะจิตตะปะริโยทะปะนัง ควรท�าจิตของตนให ใน า ยของอุ ด มการณ นั้ น พระนิ พ พาน เป น ผองแผว อุดมการณอนสูงสุด แตบคคลผูยดถือเพศแหงบรรพชิต ั ุ  วิธีการ ในทางพระพุทธศาสนา กคือ จะไดชื่อวาเปนบรรพชิตนั้น ตองไมเขาไปาผูอื่น จะ อะนูปะวาโท การไมเขาไปวารายใคร เปนสมณะไดตองไมเบียดเบียนผูอื่น และขอส�าคัญ อะนูปะาโต การไมเขาไปท�ารายใคร ความอดทน มีตบะ มีความเพียร จะท�าใหด�ารงเพศ ปาฏิ โ มกเข จะ สั ง วะโร การส� า รวมในพระ บรรพชิตไวได นีจดเปนอุดมการณหลักในทางพระพุทธ ้ั ปาติโมกข คือ ศีลของภิกษุ ศาสนา มัตตัญุตา จะ ภัตตัสะมิง รูจักประมาณในการ อน่ง โอวาทปาติโมกขนี้ พระพุทธองคไดทรงแสดง บริโภค แกพระอรหันตสาวก เพื่อยดถือเปนแนวทางในการ ปนตัญจะ สะยะนาสะนัง ใหอยูในที่ที่สงัด เผยแผพระศาสนา แตส�าหรับประชาชนทั่วไปนั้น ก อะธิจิตเต จะ อาโยโค หมั่นประกอบความเพียร สามารถน�าไปใชในชีวิตประจ�าวันได คือ
  • 14. แสงธรรม 11 Saeng Dhamma หลักการทั้ง ๓ ขอนั้นตองยดเปนหลักใหมั่น จะท�า ประมาณในการบริโภค เปนเหตุใหมนุษยเราเปนโรค อะไรกแลวแต จะเปนอาชีพหรือไมเปนอาชีพ จะท�าทาง อวน ไขมันมากเกินไป น�ามาซ่งโรคภัยตาง  มากมาย กาย วาจา หรือทางใจ ทางโลก หรือทางธรรม จิตจะ และอีกอยางหน่ง ผูที่บริโภคสิ่งที่เปนพิษตอรางกาย ตองไมเปนบาป ในขณะเดียวกัน จิตจะตองประกอบ เชน สุรา เบียร ยาเสพติดตาง  กจัดวาเปนผูไมรูจัก ดวยบุญกุศล และจิตใจตองผองแผว กิจกรรมทุกอยาง ประมาณในการบริโภคไดเชนกัน อีกประการหน่ง การ ถายดหลักการไดอยางนี้ เปนอันไมผิด จัดวาไดปฏิบัติ ไมรูจักประมาณในการบริโภคที่เปนไปส�าหรับคฤหัสถ ตามค�าสอนในทางพระพุทธศาสนาอยางถูกตอง หรือราวาสนั้น ทานจัดเอาการไมรูจักบริโภคกาม อน่ง กิจกรรมทุกอยาง ทานบอกวิธีการวา จะตอง เขาไปดวย มุงหมายถงการมีเพศสัมพันธ พูดงาย  การ  ไมกลาววารายใคร (อะนูปะวาโท) เชน ตัวเองท�าบุญ ผิดศีลหา ขอ กาเมสุมิจฉาจาร นั่นเอง ขอนี้อาจมีโทษ แตไปเหนคนอื่นไมท�า กอยาไปกลาววารายเขา วาเขา หนัก เพราะเปนเหตุน�ามาซ่งโรคเอดส ซ่งคราชีวิตคน ไมรูจักท�าบุญกุศล เปนตน ไมไปท�ารายใคร จะท�าบุญ มามากตอมากแลว นีเ่ ปนโทษของการไมรจกประมาณ ู ั กไมควรไปท�ารายสัตว หรือาสัตว คือ าสัตวเอาไป ไมรูจักวิธีบริโภคอยางถูกตอง ท�าบุญ หรือาสัตวเพื่อบูชาสิ่งตาง  (อะนูปะาโต) อน่ง ผูที่จะบ�าเพญเพียรทางจิต ควรอยูในที่อัน มีความส�ารวมในศีล คือ รักษาศีลตามสถานะของตน สงัด ในที่ที่สมควร เพื่อประโยชนในการท�าจิตใหยิ่ง นั่นเอง คือเปนราวาส (ผูครองเรือน มิใชนักบวช) ก หรือคิดทบทวนเรื่องราวตาง  เพื่อท�าจิตใหเปนสมาธิ รักษาศีล  ศีล  เปนตน ไดงาย เปนประโยชนในการศกษาเลาเรียน และอะไร   อีกอยางหน่ง ค�าวา “มัตตัุตา จะ ภัตตัสมิง” อีกหลายอยาง เชน สมาธิ สามารถชวยระงับโรคบาง รูจกประมาณในการบริโภค รวมไปถงตองรูวาจะบริโภค ั  อยางได เปนตน สวนนิพพานเปนอุดมการณอันสูงสุด อะไร อะไรมีโทษ อะไรไมมีโทษ ขอนี้กเปนสิ่งส�าคัญ ในทางพระพุทธศาสนา เพื่อความสิ้นทุกขทั้งปวง หมด เชนเดียวกัน จะเหนไดวา ในปจจุบันนี้ การไมรูจัก สิ้นขันธหา ไมตองมีการเวียนวายตายเกิดอีกตอไป ร้ำน NaVa Thai โดย.. คุณสุชำติ-คุณลัดดำวัลย์ ศรีเกตุสุข ท�ำบุญร้ำนครบรอบ ๔ ป วันที่ ๓ มกรำคม ๒๕๕๕
  • 15. แสงธรรม 12 Saeng Dhamma บทความพิเศษ : คู่รัก - คู่บารมี อรหันต นับวาทั้งสองพระองคเปนคูบารมีกันอยาง แทจริง เหตุชักน�าห้หิงชายมีจรักกัน ก อ นที่ ห ญิ ง ชายจะมี ป ณิ ธ านอั น ยิ่ ง ใหญ ร ว ม กัน เปนคูบุญบารมีกันไดนั้น ตองผานความรูสกและ ความผูกพันดวยความรักกันมากอน แตเปนเรื่องที่นา แปลกใจวาเหตุใดเลา บางคนบางคู เหนหนากันเพียงครั้งเดียวกหลง รักกัน บางคนบางคู รูจักศกษานิสัยใจคอกันพอสมควร จงเกิดความรัก บางคนบางคู ไดเกื้อหนุนจุนเจือกัน นานไปก เกิดเปนความรัก บางคนบางคู สนิทสนมกลมเกลียวเปนเพื่อน พระนางพิมพาและพระโพธิสัตวนั้น ทรงเกิด เลนกันมาแตเดกแตนอย แลวจงคอยแปรเปลี่ยนเปน มาเปนคูรักและเปนคูครองกันมานับอเนกอนันตชาติ ความรักเมื่อโตเปนหนุมเปนสาว ผ า นความสุ ข และทุ ก ข ภั ย ของสั ง สารวั ฏ มาด ว ยกั น บางคนบางคู ไดสมหวังในความรัก ขณะที่บางคู มากมายนับชาติไมถวน มีพบมีพลัดพรากจากกันเปน กลับตองเลิกรา ธรรมดา แตเมื่อใดที่ไดเกิดมารวมกัน กสงเสริมกันใน บางคน ไดแตหลงรักเขาขางเดียว แตเขาไมเคย การสรางสมบุญบารมีโดยไมยอทอดวยจิตที่เสมอกัน มีใจรักตอบ มีความผูกพัน ไมโกรธไมเคือง ไมมีแมเพียงสายตาที่ บางคน เขามาชอบ พยายามทอดสะพานให แต ทอดดูกันดวยความไมพอใจ ทั้งสองไดเปนคูครองกัน กลับไมสนใจ.. มาจนถงชาติอันเปนที่สุด ซ่งพระโพธิสัตวไดตรัสรูเปน ขณะที่บางคน ทั้งชีวิตกลับเงียบเหงา ไมเคยมี พระพุทธเจา และพระนางพิมพาไดส�าเรจเปนพระ ลมรักพัดผานมาใหชื่นใจเลย แมแตเพียงครั้งเดียว
  • 16. แสงธรรม 13 Saeng Dhamma ดูแลวความรักของหญิงชายนี้ชางวุนวายนัก จน คูรก ไดแกคหญิงชายทีมใจรักสมัครสมาน ปฏิบติ ั ู ่ี ั นาสงสัยวามีเหตุอะไรที่ท�าใหหญิงชายมารักกัน หรือ ตอกันในฐานะคูรก แตยงไมไดเปนสามีภรรยากัน ั ั มีเหตุอะไรที่ท�าใหหญิงชายนั้นไมรักกัน มีผูกราบทูล คูครอง คือ หญิงชายที่ไดตกลงอยูรวมเปนสามี ถามพระพุทธเจาเรื่องความรักของหญิงชาย ปรากฏ ภรรยากันในชาติภพปจจุบัน ในสาเกตชาดกที่  พระไตรปฎก เลมที่ ๒ พระสุต เนือคู คือ หญิงชายที่เคยเปนคูครองกันมาใน ตันตปฎก เลมที่  วา อดีตชาติ แตในชาติภพปจจุบันอาจเปนหรือไมไดเปน “ข้าตพระู้มีพระภาค เหตุไรหนอ เมื่อบุคคล คูครองกันกได บางคนนลกนี พอเหนกันเข้ากเย  หัวจกเย คูท้ คือ หญิงชายที่เปนเนื้อคูกัน เคยอยูรวมกัน บางคนพอเหนกันเข้า จิตกเลื่อมส” ในอดีตมามากกวาคนอื่น หญิงชายแตละคนอาจมีคู พระพุทธองคจงทรงแสดงเหตุที่ท�าใหหญิงชาย แทไดหลายคน และเชนเดียวกับเนื้อคู คือ คูแทอาจ รูสกรักกันไว ดังนี้ จะไมไดเปนคูครองกันในชาติปจจุบันกได หากทั้งสอง “ความรักนัน ยอมเกิดขึนด้วยเหตุ  ประการ ายไมไดมาเกิดรวมกัน หรือทั้งสองายมีวิบากจาก คือ ด้วยการอยูรวมกันนกาลกอน  ด้วยความ ถูกอกุศลกรรมมาตัดรอน เกือกูลตอกันนปจจุบัน  เหมือนดอกอุบลละ คูเวรคูกรรม คือ หญิงชายที่ไดเปนคูครองกันใน ชลชาติ เมื่อเกิดน ยอมเกิดเพราะอาศัยเหตุ  ปจจุบัน แตเนื่องจากเหตุที่ท�าใหตองมาครองคูกันนั้น ประการ คือ ละเปอกตม ะนัน” เกิดจากเคยท�าอกุศลกรรมรวมกัน ไวในอดีต จงตอง ในพระอรรถกถาพระไตรป ฎ กขยายความ มารับวิบากกรรมรวมกัน หรือเคยอาาตพยาบาทกัน วา ความรักของหญิงชายนั้นเกิดข้นไดดวยเหตุสอง มากอนในอดีต จงตองมาอยูรวมกันเพื่อแกแคนกัน ประการ คือ ตามแรงพยาบาทนั้น คูประเภทนี้มักจะมีเหตุใหมีเรื่อง . การไดเคยอยูรวมกันมาในกาลกอน เคยเปน ทะเลาะเบาะแวงกัน ขัดอกขัดใจกัน อยูดวยกันดวย มารดาบิดา ธิดาบุตร พี่นองชาย พี่นองหญิง สามี ความทุกขและเดือดรอน หาความสุขไมได ภรรยา หรือเคยเปนมิตรสหายกัน เคยอยูรวมเคียงกัน คูบารมี คือ หญิงชายทีเ่ ปนเนือคูกน เคยอยู  ้ ั มา ความรักความผูกพันนั้นยอมไมละ คงติดตามไป เปนคูครองกันมากมากกวาคูอน และมีความตังใจที่   ่ื ้ แมในภพอื่น จะเกือหนุนเปนคูครองกันไป จนกวาคูของตนจะได ้   ๒. ความเกื้อกูลชวยเหลือกันในชาติปจจุบัน ส�าเรจในธรรมทีปรารถนา ไดตรัสรูเ ปนพระพุทธเจาใน ่ ความรักยอมเกิดข้นดวยเหตุสองประการนี้ อนาคตกาล ดังเชนคูของพระโพธิสตวกบพระนางพิมพา  ั ั สารพัดคู การปิบัติตนเพื่อห้เปนคูครองที่มีความสุข หญิงชายที่รักกัน และมีความสัมพันธกัน เรียก หญิงและชายที่รักกัน คงปรารถนาที่จะใหคนรัก วาเปนคูกัน ลักษณะการเปนคูของหญิงชายนั้นมีได ของตนเปนเนื้อคูที่เคยอยูรวมกันมาแตชาติปางกอน หลายแบบ คือ และคงอยากใหความรักของตนมีแตความสุขตลอด
  • 17. แสงธรรม 14 Saeng Dhamma ไป แตความปรารถนาเชนนี้ใชวาจะส�าเรจสมความ สัาณคูท้ ปรารถนาในทุกคูรัก เพราะบางคูอาจมีการพลัดพราก เนื่องจากคูแท คือคนที่เปนเนื้อคูกันมานานแสน ความรักจืดจาง จากหวานกลายเปนขม บางคูแมจะ นาน ความรักความผูกพันขามภพชาติจงมีมากเหนือคู ยังรักกัน แตการท�ามาหากินกลับดเคือง ชีวิตมีแต แบบอื่น และอาจมีอธิษฐานรวมกันมาแลวในอดีตชาติ อุปสรรค เหลานี้ลวนแตเปนทุกขที่เกิดเพราะความรัก จงพอจะสังเกตไดวาใครเปนคูแทคูบารมี ลักษณะ เปนวิบากที่เกิดจากอกุศลกรรมเกาทั้งสิ้น อาการที่แสดงเมื่อคูบารมีมาพบกัน เชน เมื่อแรกพบ หากหญิงและชายปรารถนาที่จะมีความรักและ กรูสกคุนเคย อาจจ�ากันได อาจจะไมรูสกวารักตั้งแต ชีวิตที่ครอบครัวที่เปนสุข จะตองเปนผูไมสรางอกุศล แรกพบ แตมีรูสกวาผูกพันกันมากกวา ไมวาท�าสิ่งใดก กรรม ดังนี้ มักคลอยตามกัน มีความคิดลงรอยกันมากกวาปกติ แมอยูหางไกลกัน ตางจังหวัด ตางบานตางเมือง กมีเหตุชักน�าใหไดมาพบกันแบบแปลก  ดวยหนาที่ การงาน ดวยเหตุบังเอิญ หรือแมแตมีผูใหญจัดสรรให ไดพบกันกมี หากมีกรรมพลัดพรากเปนเหตุใหทั้งคูยังไมได พบกัน อีกายจะมีความรูสกเหมือนรอคอยใครสัก คนที่ไมรูวาเปนใคร แมมีหญิงชายมากมายผานเขามา ในชีวิต กไมไดมีจิตคิดผูกพันกับใครอยางจริงจัง อาจ มีบางที่มีรักมีสัมพันธกับใครไปกอน แตมักมีเหตุให เลิกราหยารางกันไปดวยจิตใจที่รอคอยใครสักคนที่ . มีความมั่นคงในคูครองของตน ไมเจาชูหลาย เปนคูแทของตน และหากไดพบกับคูแทของตนแลว ใจ ไมท�าใหคูของตนผิดหวังชอกช้ำ�ใจ โดยเฉพาะตอง แตมีวิบากจากอกุศลกรรมอันเปนกรรมพลัดพรากมา มีสติมั่นคงเมื่อไดมีโอกาสไดพบกับเนื้อคูคนอื่น  ที่ ตัดรอน เปนเหตุใหตองจากกันในภายหลัง แมจะจาก อาจผานเขามาในชีวิต ซ่งการไดเคยอยูรวมกันในกาล กันไปนานแสนนานนับสิบ  ป กไมอาจลืมกันได กอนอาจท�าใหจิตใจหวั่นไหวได การตังความปรารนาจะพบกันนชาติภพตอไป ๒. ไมเปนเหตุใหคูครองเขาตองแตกแยกดวย หญิ ง ชายแต ล ะคนนั้ น ต า งผ า นทุ ก ข ภั ย ของ ความอิจฉา ริษยา สังสารวัฏมานานแสนนาน ตางผานการครองคูมานับ ๓. ไมลวงศีลขอ ๓ ครั้งไมถวน แตละคนจงมีเนื้อคูมากมาย เปนแสนเปน . ไมปรามาสพระอรหันต ดังหลักฐานปรากฏ ลานคน บางคนเปนคูกันแลวกมีความสุข อยากพบ ในพระไตรป ฎ กว า คนที่ ป รามาสพระอรหั น ต ห ญิ ง เจอและไดอยูเปนคูกันอีกในชาติภพตอไป แตบางคน มักไดรับเศษกรรมในเรื่องของคูครอง กเบื่อหนายไมถูกใจคูของตน ไมปรารถนาจะกลับมา
  • 18. แสงธรรม 15 Saeng Dhamma พบเจอกันอีก ดังนัน เมือหญิงชายปรารถนาจะไดพบกัน เปนคู ้ ่ เหตุที่จะท�าใหคูหญิงชายมีโอกาสไดอยู รวมกัน ครองกันอีกในชาติภพตอ  ไป หญิงชายทังสองนันตอง ้ ้ ในชาติภพตอไปนั้น พระพุทธองคไดทรงแสดงเหตุ ปฏิบตตามพุทธพจน และมีการตังจิตปรารถนา ดังนี้ ัิ ้ ปจจัยไวในสมชีวิสูตรที่  พระไตรปฎก เลมที่ ๒ . รักษาศีลห้เสมอกัน พระสุตตันตปฎก เลมที่ ๓ อังคุตตรนิกาย จตุกก บุ ค คลที่ มี ศี ล เสมอกั น ย อ มอยู ร ว มกั น ได ใ น นิบาต ดังนี้ ปจจุบัน เมื่อสิ้นชีวิตแลวกสามารถไปเสวยกรรมดี “ดูกร คหบดีละคหปตานี ้าภรรยาละ รวมกัน แตหากายหน่งทรงศีล แตอีกายทุศีล าย สามีทังสองหวังจะพบกันละกันทังนปจจุบันทัง หน่งยอมไปสูสุคติภูมิ สวนอีกายตองไปสูอบายภูมิ นสัมปรายภพไซร้ ทังสองพึงเปนู้มีศรัทธาเสมอ โอกาสที่จะไดกลับมาพบกันนั้นยากยิ่งนัก กัน มีศีลเสมอกัน มีจาคะเสมอกัน มีปาเสมอกัน . ห้ทานละยินดีนการบริจาคเสมอกัน ภรรยาละสามีทังสองนัน ยอมได้พบกันละกันทัง หากายหน่งายใดใหทานและบริจาค แตอีก นปจจุบัน ทังนสัมปรายภพ ายไมชอบใจ กจะเกิดความขัดแยง ไมลงรอยกัน น�า ภรรยาละสามีทังสองเปนู้มีศรัทธา รู้ความ ไปสูความบาดหมาง และเอาใจออกหางกันในที่สุด ประสงคของู้ขอ มีความส�ารวม เปนอยูดยธรรม . ท�าปาห้เสมอกัน เจรจาค�าที่นารักกกันละกัน ยอมมีความเจริ การท�าปญญาใหเสมอกัน มีการปฏิบัติสมาธิ รุงเรืองมาก มีความาสุก ทังสองายมีศีลเสมอกัน ภาวนา จะท�าใหทั้งสองมีความเขาใจในโลกธรรมเสมอ รักครกันมาก ไมมีจร้ายตอกัน ประพติธรรมน กัน มีความเขาใจในสุขและทุกขจากการอยูรวมกัน ลกนีล้ว ทังสองเปนู้มีศีลละวัตรเสมอกัน ยอม และยอมรับกันได เปนู้เสวยกามารมณ เพลิดเพลินบันเทิงจอยูน . ตังจิตอธิษาน เทวลก” อธิ ษ ฐานนั้ น มี ผ ลทั้ ง อธิ ษ ฐานที่ เ ป น กุ ศ ลและ คุณสุพรรณี - คุณสุวภี ท�ำบุญถวำยสังฆทำนวันเกิด คุณทวน เหวียน และครอบครัว ท�ำบุญวันเกิด ๒๙ ม.ค. ๕๕
  • 19. แสงธรรม 16 Saeng Dhamma อกุศล การอธิษฐานเปนเหมือนการตั้งหางเสือเรือ แตการสรางสมบารมีของบุคคลใดบุคคลหน่ง ท�าใหเรือมุงหนาสูจุดหมายที่ก�าหนดไว ในการครอง นั้น ใชเวลาประมาณ  แสนกัป กมีบุญบารมีมาก คูกเชนกัน อธิษฐานจะเปนตัวชักน�าใหหญิงชายได พอที่จะบรรลุธรรม และหลุดพนจากสังสารวัฏนี้ไป กลับมาพบกัน และไดครองคูกันไดในที่สุด ดังเชน ได การผูกพันเปนคูบารมีจงเปนการผูกมัดตนเองไม อธิษฐานของสุมิตตาพราหมณี ซ่งอธิษฐานเปนคู ใหมีโอกาสไดบรรลุธรรม แมจะไดมีโอกาสไดงธรรม บารมีใหพระโพธิสัตว จากนั้นมาอีกหลายชาติ ทั้ง จากพระพุทธเจาเปนแสนเปนลานองค นอกจากนี้ สองกตองใชเวลาปรับศีล ทาน และปญญา ใหมา การเป น คู บ ารมี ยั ง ต อ งพบกั บ ความทุ ก ข ยากนานับ เสมอกัน และไดเปนคูบารมีกันสมค�าอธิษฐานนั้น ประการ ดังเชนที่พระนางพิมพาไดประสบตลอดเวลา การปรารนาเปนคูบารมี ยาวนานถง  อสงไขยกับเศษแสนกัป หญิงชายที่ปรารถนาเปนเนื้อคูกันตลอดไปนั้น ดังนั้นการจะอธิษฐานติดตามเปนคูบารมีพระ สามารถท�าไดไมยาก เพียงรวมกันปฏิบัติตนใหมี ศีล โพธิสัตวสักองคหน่ง จงควรไตรตรองใหดีวาไมใช ทาน และปญญา ใหเสมอกัน และมีอธิษฐานรวมกัน อธิษฐานดวยเหตุเพราะความรักและตัณหา แตตอง เปนหลักชัย ประกอบไปดวยความรักและความศรัทธาอยางแรง แต ก ารเป น คู บ ารมี นั้ น หมายถ ง  า ยหน่ ง เป น กลาตอพระโพธิสัตวองคนั้น นอกจากนี้ยังตองมีน้ำ�ใจ พระโพธิสัตว มีความปรารถนาเอกอุในการบ�าเพญ สงสารและอยากชวยเหลือสรรพสัตวใหขามพนกอง พุทธการกธรรมเพื่อจะไดตรัสรูเปนพระ พุทธเจา ซ่ง ทุกข และมีก�าลังใจเขมแขงเทาเทียมกับพระโพธิสัตว จ�าเปนตองใชเวลาสรางสมบารมียาวนานอยางเรวสุด องคหน่งเชนกัน ถง ๒๐ อสงไขยกับเศษแสนกัป และอยางชาตองเนิ่น นานถง ๐ อสงไขยกับเศษแสนกัป ซ่งเปนกาลเวลาที่ ยาวนานมาก DUSIT THAI RESTAURANT ท�ำบุญร้ำนประจ�ำป เพื่อควำมเป็นสิริมงคลต้อนรับปใหม วันที่ ๒๑ ม.ค. ๒๕๕๕
  • 20. แสงธรรม 17 Saeng Dhamma ค บ าก บ า ก า ู   าั  าารร า  ก    ั  กร    ั   ี  ี  กลุ ่ ม พลั ง บุ ญ ถวายเพลทุ ก เดื อ น ุยายาพ ถวายเพลทุกเดือน นง เก นง กพ นง เก ถวายเพลทุกเดือน นงวยททาเือทาอากา ถวายเพลทุกเดือน ่ พยาบาลบัลมอ ถวายเพลทุกวันพุุดทายองเดือน ถวายัาาเพลวันุกท่  องทุกเดือน
  • 21. แสงธรรม 18 Saeng Dhamma ค บ าก บ า ก า ู   าั  าาร า ร า ั  กร    ั   ี  ี  าน   ดยุเอ ล ถวายเาวันพุ ถวายัาาเาวันุก ถวายัาาเาทุกวันเา อบัวุานนท ลถวายัาาเาวันอังา  าบุญเม งามอาด ล ถวายัาาเาวันพุ นกลเพื่อน ถวายัาาเาทุกวันอาทย
  • 22. แสงธรรม 19 Saeng Dhamma คา าั ครบครั าบค าั ัาี่  มค  อบัวเพพาว อบัวมุกัง อบัวงพาล อบัวเือด ทาบุญอุทบพกาน วันอาทยท่  ม   ุ
  • 23. แสงธรรม 20 Saeng Dhamma   ี  าก  ค       รี  ก    ั  าร  ี ่  มกราคม  ดวยอาลัยักลุงุยอย่างุดง อดวงวญญาลุงงลุถงทพยถาน เวยวานวมาน ลอดกาลเนนนันดเทอญ เพื่อนพองนองพ่มา่วมวอาลัยนดเนังุดทาย อบัวเกุุ ออบพุทุกท่านเนอย่างง
  • 24. แสงธรรม 21 Saeng Dhamma WAT THAI WASHINGTON D.C. STATEMENT OF ACTIVITIES AND CASH FLOWS FOR THE PERIOD OF ULY 1, 2011 - DECEMBER 31, 2011 nome Subtotal Total Donations DonationsGeneral Suort 24,22 Donations80th Ts Building unds 40,1  DonationsEduation 6,66 Total Donations 290,62 nvestment Dividends 9 nterest 46 1,2 Total nome 291,81 Eenses tilities Eletriity 12,18 il  roane Gas 2,4 Solid aste  Refuse Colletion ,4 ater 4,11 Total tilities 2,08 rinting  Distribution Euiment easing and Reair 4,128 ostage ,880 rinting Servies 1,699 Sulies 1,69 Total rinting  Distribution 29,26 Euiment Eenses Euiment urhase 2,146 Euiment Rental 1,4 Maintenane Contrats  Reair 4,8 Total Euiment Eenses 8,06 nsurane Automobile 1,28 ealth nsuraneMonks 18,16 roerty  iability 4,262 2,2 Automobile 2,92 Bank Charges 29 Building and Ground 2 Contributionsositality  Gifts ,011 oods  Sulies 940 und raising ,6 MedialMonks 69 fe Eenses 2,64 Seurity Servies 4 Shool Eenses 10,26 Telehone and nternet 1,4 Travel ,29 Total Eenses 11,491 et nome and Eenses 14,24 ess Cash rovided for erating Eenses Aounts ayablereaid 2,2 80th uangta Chis ear Building 6,169 et Cash lows 16,40 TE  Donationuangta Chis 80th ear Building unds is inluded net inomeeenses from uangta Chis Birthday event.  Total eenses are not inluded eenses for unagta Chis Birthday event whih are reorted as net donations. isakorn raisaengeth hramaha Thanat nthisan Assistant Treasurer resident
  • 25. แสงธรรม 22 Saeng Dhamma ขอเชิญทุกท่านร่วมนมัสการพระสารีรกธาตุ ณ อุโบสถ วัดไทยฯ ดี.ซี. ิ Those who are interested in Thai Theravada Buddhism and members of the general public are cordially invited to Wat Thai, D.C., Temple to pay their respect to or simply view the Buddha relics on display in the chanting hall. ปฏิบัติธรรมประจ�าเดือนกุมภาพันธ์  วัดทยกุงวองัน ด 25 กุมภาพันธ์ 2555 ศึกษาและปฏบัตธรรมตามแนวพระไตรปิฎก สาธยายพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ฟังบรรยายธรรม - ธรรมสากจฉา เจรญจตภาวนา - แผ่เมตตา พร้อมกันบนอุโบสถศาลา เวลา 9.00 A.M.
  • 26. แสงธรรม 23 Saeng Dhamma เสียงธรรม.. จากวัดไทย พระวิเทศธรรมรังษี (หลวงตาชี) ิตต ติ  ิตต ิสสติ ิตตสส ธสส สพพ ส าิา าิทาิ ุทาตาาาิาทา  อยูคนเดียวห้ระวังความคิด อยูกับมิตรห้ ระวังวาจา” ความคิดมันมีอิทธิพล อาจจะ ดลบันดาลใหคนเราท�าอะไรกได ตามอ�านาจอิทธิพล ชั่วและท�าชั่ว ในท�านองเดียวกัน ในายแหงความดี ถาคนเราคิดแตเรื่องที่ดี  นาน  เขากจะเราใหคนเรา พูดแตเรื่องที่ดี  และกประกอบกระท�าแตความดี ของความคิดนั้น ความคิดมันเปนไดทั้งมิตร เปนไดทั้ง สังคมใดที่มากไปดวยคนคิดชั่ว สังคมนั้นกเตมไป ศัตรู เปนไดทั้งายสราง เปนไดทั้งายท�าลาย และ ดวยคนพูดชัว คนท�าชัว พฤติกรรมทีแสดงออกทางกาย ่ ่ ่ เปนอะไรไดอีกมากมายหลายประการ คือ มันเปน ทางวาจา ของคนคิดชั่ว กมีแตเรื่องเปนพิษเปนภัยแก เสมือนหนงวาดาบสองคม ใชถกใชเปนมันกใหคณ แต ่ ู ุ สังคมนานัปการ บานเมืองระส�่าระสายวุนวายไปทุก ถาใชไมเปน ใชผิด มันกใหโทษ เจาความคิดนี้มันก หยอมหญา สาเหตุส�าคัญกเกิดจากอิทธิพลของคนคิด เหมือนกัน คิดดีกเปนศรีแกตัว แตถาคิดชั่วกพาตัว ชั่วนั้นเองเปนผูกอข้น แตถาหากสังคมใดมากไปดวย ฉิบหาย ท�าลายทุกสิงทุกอยาง นีคออิทธิพลของความ ่ ่ื คนคิดดี สังคมนั้นกมีแตคนพูดดี คนท�าดี ทุกหนทุก คิดในายแหงความชั่ว ถาคนเราคิดชั่วมาก  เขา เจา แหงแขงกันประกอบคุณงามความดี เปนศรีทั้งแกตน ความคิดชั่วนี้แหละ มันกจะรบเราผลักดันใหคนเราพูด และสังคมสวนรวม ประเทศชาติ ความสงบสุขและ