SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
สัปดาห์ที่  7 เอกสารประกอบการสอน  วิชา  427-303 Sociological Theories ภาคเรียนที่  1/2554 เรื่อง สังคมวิทยา ของ  Comte
ลักษณะของการศึกษา อย่างเป็นวิทยาศาสตร์
ลักษณะขององค์ความรู้แบบ วิทยาศาสตร์ 1. ความรู้สามารถอธิบายกลุ่มเหตุการณ์  สามารถทดสอบซ้ำได้ และความรู้ที่ได้ มามีลักษณะสะสมต่อเนื่อง ผลของการ ศึกษาย่อมนำไปสู่การศึกษาอีกเรื่อง  ต่อไปไม่สิ้นสุด
2.  มีกฎระเบียบวิธีการในการแสวงหาและ ยอมรับความรู้นั้น โดยกฎระเบียบ ต้องมี หลักเกณฑ์และความเที่ยงตรง  มีการเปลี่ยนแปลงด้านประสิทธิภาพ ให้มากยิ่งขึ้นอยู่ตลอดเวลา
3.  การแสวงหาความรู้ต้องไม่มีลักษณะหยุดนิ่ง  หากหยุดนิ่ง ความก้าวหน้าทางวิชาการ ก็เสื่อมเมื่อนั้น
ถ้าเราเอาการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์มา ใช้ในการศึกษาสังคมศาสตร์ จะมีข้อจำกัดหรือไม่อย่างไร ?
ข้อจำกัดของวิทยาศาสตร์สังคม 1. วิทยาศาสตร์ธรรมชาติมีหน่วยในการศึกษา วิเคราะห์ที่ศึกษาได้อย่างเป็นรูปธรรม ในขณะ ที่วิทยาศาสตร์สังคมไม่สามารถศึกษา อย่างเป็น รูปธรรม   เช่น ความรัก ความอบอุ่น ซึ่งไม่ได้ กำหนดมาตราวัด หรือกำหนดไม่ได้นั่นเอง
2.  กระบวนการศึกษา ทางวิทยาศาสตร์ สังคมมีข้อจำกัดมากมาย เช่น ตัวแปรที่มี ลักษณะเป็นนามธรรมดังกล่าวข้างต้น  กรอบจารีต  หลักมนุษยธรรม  ก็เป็นข้อจำกัด ที่ทำให้นักวิจัยทางสังคมศาสตร์ไม่สามารถ ศึกษาหาความรู้ได้อย่างเที่ยงตรงหรือน่าเชื่อถือ เท่าวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
การศึกษาด้านสังคมศาสตร์ มีขั้นตอนอย่างไร ?
แนวทางในการศึกษา ด้านสังคมศาสตร์ 1.  หลักการและเหตุผลในการศึกษา 2.  วัตถุประสงค์ในการศึกษา 3.  ประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษา
4.  วิธีการศึกษา 5.  เก็บข้อมูล 6.  วิเคราะห์ 7.  สรุป
นักคิดผู้บุกเบิกแนวคิดทางสังคมวิทยา ออกุสต์ คองต์  ( August Comte ) (1798-1857) เป็นผู้ก่อตั้งวิชาสังคมวิทยา พยายามทำให้การศึกษา สังคมเป็นแบบ “วิทยาศาสตร์” โดยใช้คติปฏิฐานนิยม ( Positivism )  ซึ่งสิ่งที่ศึกษาต้องสังเกตและวัดได้เท่านั้น Positivism  เป็นพื้นฐานสำหรับศาสตร์แขนงใหม่
คองต์ ได้แบ่งการศึกษาออกเป็น  2  ส่วน 1.  Social statics  -  เป็นการศึกษาเรื่องกฎระเบียบ  ความมั่นคงที่ทำให้สังคมรวมกลุ่มกันจนสามารถดำรงอยู่ได้ 2.  Social dynamics -  เป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคม  และการพัฒนาแบบแผนของ สถาบันสังคมต่าง ๆ  โดยศึกษาปัจจัย  3  ด้าน คือ ภาษา ศาสนา และ  Division of Labor
แนวคิดเรื่องการพัฒนาการทางความคิดของมนุษย์ แบ่งได้  3  ขั้นตอน คือ 1. ขั้นเทววิทยา  ( Theological stage )   แยกออกเป็น  3  ยุค คือ  FETISHISM  มนุษย์เชื่อในภูตผี สิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ   POLYTHEISM   มนุษย์มีความเชื่อในเทพเจ้า ซึ่งมีหลายองค์ MONOTHEISM  มนุษย์มีความเชื่อในเทพเจ้าองค์เดียว
2.  ขั้นอภิปรัชญา  ( Metaphysic Stage ) เป็นยุคที่มนุษย์แสวงหาความจริงโดยอาศัย การคิดวิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยหลักการทางตรรกศาสตร์ และปรัชญา
3.  ขั้นวิทยาศาสตร์  (Positive Stage) เป็นขั้นที่มนุษย์พัฒนาภูมิปัญญาในการแสวงหา ความรู้ ได้อย่างมีระบบ มีความน่าเชื่อถือ เที่ยงตรง โดยนำวิธีการศึกษาที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มาใช้ในการศึกษาสังคม ประกอบกับการใชัหลัก การที่เป็นเหตุและผลในการสรุปวิเคราะห์
คองต์ถือเป็นบิดาของวิชาสังคมวิทยา และมีอิทธิพลทางความคิดกับนักคิดในยุคต่อมา เช่น เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์ ,  อีมิล เดอร์กไฮม์ เป็นต้น
เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์  ( Herbert Spencer ) (1820-1903) เป็นนักปรัชญาชาวอังกฤษ เขียนเรื่อง  Social Statics  (1851) สะท้อนความคิดแบบเสรีต่อปัญหาทางสังคม และการเมือง
สเปนเซอร์เปรียบเทียบสังคมมนุษย์กับ อินทรีย์  หรือร่างกายของสิ่งมีชีวิต สรุปได้ดังนี้ 1.  พัฒนาการของสังคมและสิ่งมีชีวิต จะเป็น แบบค่อยเป็นค่อยไป 2.  เริ่มก่อตัวจากหน่วยเล็ก ๆ  3.  มีโครงสร้างของส่วนต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ ต่างกันมาประกอบกัน
4.  องค์ประกอบต่าง ๆ หรืออวัยวะต่าง ๆ  ไม่สามารถแยกกันอยู่ได้โดยอิสระ ทุกส่วนต้อง พึ่งพาอาศัยกัน 5.  ในร่างกายของสิ่งมีชีวิตมีระบบการหมุนเวียน ของโลหิตที่หมุนเวียนหล่อเลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆ  ในระบบสังคมมีระบบเศรษฐกิจเพื่อให้ส่วนต่างๆ ของสังคมได้มีการกระจายการบริโภค และสามารถดำรงอยู่ได้
6.  มีการพัฒนาไปสู่โครงสร้างที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น เช่น สิ่งมีชีวิตพัฒนาเซลล์ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น  ส่วนสังคมมนุษย์เริ่มจากการล่าสัตว์หา ของป่า กลายเป็นสังคมอุตสาหกรรมที่มีโครงสร้างสังคมซับซ้อนมากขึ้น
การพัฒนาสังคมนั้นจะอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติ คือ พัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีที่สุด สิ่งที่บกพร่องจะค่อย ๆ หายไป *  S urvival of the fittest  ของ  Charles Darwin *
คาร์ล มาร์กซ์  ( Karl Marx ) (1818-1883)
แนวคิดโดยสรุปของมาร์ก ที่มีต่อสังคม คือ สังคมไม่ได้ดำรงอยู่บนการประสานกันของ ระบบสังคมแต่ละส่วน แต่ดำรงอยู่ได้เพราะ การบีบบังคับของชุมชนชั้นนายทุน ซึ่งมี อำนาจมากในสังคม
มาร์กซ์ ได้สร้างทฤษี  Dialectic Materialism ขึ้นเพื่ออธิบายการเปลี่ยนแปลงสังคม ดังนี้คือ 1.  สภาวะของสิ่งหนึ่งย่อมขึ้นอยู่กับอีกสิ่งหนึ่ง ไม่มีสิ่งใดดำรงอยู่โดยเอกเทศ 2.  ไม่มีสิ่งใดหยุดนิ่ง 3.  การเปลี่ยนแปลงจะมีความรุนแรงมากน้อย เพียงใดขึ้นอยู่กับความขัดแย้งว่ามีมากเพียงใด 4.  การเปลี่ยนแปลงมีลำดับขั้น ดังนี้คือ
THESIS   เป็นสภาวะที่สังคมมีความขัดแย้ง  เอารัดเอาเปรียบในสังคม  ANTITHESIS   สมาชิกสังคมเริ่มมีความรู้สึกอึดอัด ต่อสภาพที่ตนถูกเอารัดเอาเปรียบ เริ่มมีความรู้สึก ขัดแย้ง ไม่พอใจ ต่อสภาพการณ์นั้น SYTHESIS   เมื่อสมาชิกไม่พอใจสภาพการณ์ ทำ ให้มีการรวมกลุ่มกันต่อต้าน อาจเกิดเป็นขบวนการ เพื่อล้มล้างโครงสร้างสังคมเดิม แล้วสร้างสังคมใหม่
มาร์กซ์ ได้จัดลำดับขั้นของสังคมดังนี้ 1.  Primitive communism  สังคมเทคโนโลยีต่ำ 2. Slavery  สังคมเริ่มมีการควบคุม 3. Feudalism  มีระบบชนชั้นชัดเจน
4. Capitalism  มีการจัดระบบชนชั้นที่หลากหลายซับซ้อนยิ่งขึ้น 5. Socialism  สังคมมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างแบบทุนนิยมมาเป็นการกระจาย ทรัพยากรอย่างเท่าเทียมกันโดยมาร์กซ์เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงสังคมโดยการปฏิวัติ จะทำให้สังคมพัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีกว่า
อีมิล เดอร์กไฮม์  ( Emile Durkhiem )  (1858-1917)
เดอร์กไฮม์  สนใจสาเหตุการฆ่าตัวตายเพราะเห็นว่าอัตราการฆ่าตัวตายเป็นความจริงทางสังคมอันหนึ่งซึ่งหากเข้าใจสาเหตุก็จะเข้าใจความสัมพันธ์กับความจริงทางสังคมอื่น ๆ เช่นกัน
แม็กซ์ เวเบอร์  (Max Weber) (1864-1920)
เวเบอร์  กล่าวว่าวิทยาศาสตร์ คือ กระบวนการในการสำรวจค้นหาข้อเท็จจริงอย่างเป็นระบบ แต่กระบวนการนี้ไม่สมบูรณ์  100 %  อาจมีความบกพร่องที่เกิดขึ้นในการตั้งคำถาม การตั้งสมมุติฐาน การเลือกกลุ่มตัวอย่าง การเลือกใช้สถิติ
Post Positivism Critical realism Triangulation

More Related Content

Similar to สัปดาห์ที่ 7 auguste comte

9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยาSani Satjachaliao
 
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณประพันธ์ เวารัมย์
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
021จิตวิทยาการเรียนรู้
021จิตวิทยาการเรียนรู้021จิตวิทยาการเรียนรู้
021จิตวิทยาการเรียนรู้niralai
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349CUPress
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 

Similar to สัปดาห์ที่ 7 auguste comte (20)

ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
 
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
Random 120812202117-phpapp01
Random 120812202117-phpapp01Random 120812202117-phpapp01
Random 120812202117-phpapp01
 
021จิตวิทยาการเรียนรู้
021จิตวิทยาการเรียนรู้021จิตวิทยาการเรียนรู้
021จิตวิทยาการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด aเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
thesis 1
thesis 1thesis 1
thesis 1
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 

More from Sani Satjachaliao

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssSani Satjachaliao
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10Sani Satjachaliao
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11Sani Satjachaliao
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Sani Satjachaliao
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysisSani Satjachaliao
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysisSani Satjachaliao
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาSani Satjachaliao
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementSani Satjachaliao
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkSani Satjachaliao
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_reportSani Satjachaliao
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Sani Satjachaliao
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsSani Satjachaliao
 

More from Sani Satjachaliao (20)

สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
 
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
การทดสอบสมมติฐาน สัปดาห์ที่ 10
 
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
T test 8 10 สีปดาห์ ที่ 11
 
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
Elaboration analysis สัปดาห์ที่ 14
 
427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis427 305 week17 relational analysis
427 305 week17 relational analysis
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
 
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลาสัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
สัปดาห์ที่ 3 4 5 6 ทำความรู้จัก spss ยะลา
 
Week 9 research_design
Week 9 research_designWeek 9 research_design
Week 9 research_design
 
Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
Week 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_frameworkWeek 7 conceptual_framework
Week 7 conceptual_framework
 
Week 6 hypothesis
Week 6 hypothesisWeek 6 hypothesis
Week 6 hypothesis
 
Week 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurementWeek 5 scale_and_measurement
Week 5 scale_and_measurement
 
Week 4 variable
Week 4 variableWeek 4 variable
Week 4 variable
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual framework
 
Research10 sample selection
Research10 sample selectionResearch10 sample selection
Research10 sample selection
 
Research9 writing research_report
Research9 writing research_reportResearch9 writing research_report
Research9 writing research_report
 
Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553Research8 research concept_1_2553
Research8 research concept_1_2553
 
Research6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methodsResearch6 qualitative research_methods
Research6 qualitative research_methods
 
Research4
Research4Research4
Research4
 

สัปดาห์ที่ 7 auguste comte