SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
Télécharger pour lire hors ligne
~1~
~2~

ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับ บขส.
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ บขส.
สัญลักษณ
วิสัยทัศน
หมายเลขเสนทางเดินรถ
ภารกิจหลักของ บขส.
ยุทธศาสตร บขส
เปาประสงค
ขอบเขตการดําเนินธุรกิจของบริษัท ขนสง จํากัด
ความรูเบืองตนเกี่ยวกับการขนสง
้

5
9
9
9
16
16
18
19
23

สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของกับ บขส.
ระเบียบและคูมือรถรวมบริษัทขนสง พ.ศ. 2547
อัตราคาธรรมเนียม
ขั้นตอนการเพิ่มรถ
ขั้นตอนการปรับปรุงมาตรฐานรถ
ขั้นตอนการตอสัญญารถรวม
การกํากับกิจการที่ดีของบริษัท ขนสง จํากัด
ระเบียบวาดวย ประมวลจริยธรรมของพนักงาน

34
54
56
57
58
61
73

สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนงการบัญชีและการเงิน
ความรูเกี่ยวกับการบัญชีเบื้องตน
ขอสมมติฐานทางการบัญชี
งบการเงิน
สมการบัญชี
การวิเคราะหรายการคา
ผังบัญชี
สมุดรายวันชั้นตน

79
83
85
88
97
101
108
~3~

งบทดลอง
การปรับปรุงรายการบัญชี
กระดาษทําการ
สมุดรายวันเฉพาะ
การบริหารการเงิน
การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน
การวิเคราะหงบกระแสเงินทุนและงบประมาณ
การวิเคราะหการใชสินทรัพยและเงินทุนในการดําเนินงาน
การบริหารการเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารลูกหนี้
การบริหารสินคาคงคลัง
งบประมาณการลงทุน
การคลังภาครัฐ
หนวยงานที่เกี่ยวของการคลังรัฐบาล
งบประมาณแผนดิน
บทบาทและความสําคัญของงบประมาณแผนดิน
หลักการงบประมาณแผนดิน
วิธีวิเคราะหงบประมาณ
ประเภทของงบประมาณแผนดิน
รายจายของรัฐบาล
รายไดของรัฐบาลไทย
อัตราภาษี
ตัวอยางแนวขอสอบ การบัญชีและการเงิน

113
129
134
144
159
162
172
179
185
187
195
202
218
223
225
227
229
231
231
242
242
260
263
~4~

ความรูทั่วไปเกียวกับ บขส.

่
ตํานาน บขส.
บริษัท ขนสง จํากัด กอตั้งเมือวันที่ 13 กรกฎาคม 2473 ในชื่อบริษัท เดินอากาศ
่
จํากัด โดยเปนผูบุกเบิกริเริ่มการบินพาณิชยในประเทศเปนรายแรก และเดินรถยนตโดยสาร
สายกรุงเทพฯ – ลพบุรี กรุงเทพฯ – ปราจีนบุรี ตอมาสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงเปน
รัฐวิสาหกิจ และเปลี่ยนชื่อเปนบริษท ขนสง จํากัด เมื่อป พ.ศ. 2481
ั
ป พ.ศ. 2490 รัฐบาลแยกกิจการบินภายในประเทศออกจากบริษัทฯ ตอมาป พ.ศ.
2491 บริษทเริ่มกิจการเดินเรือโดยมีเรือทั้งสิ้น 48 ลํา จนกระทั่งป พ.ศ. 2500 กิจการเดินเรือ
ั
ทั้งสิ้นจํานวน 18 สายและมี 4 สาขา คือสาขา ทาเตียน สาขาปากน้ําโพ – นครสวรรค สาขา
แปดริ้ว และสาขาอยุธยา อยางไรก็ตามการสรางเขื่อนชัยนาททําใหแมน้ําเจาพระยาบางตอน
ตื้นเขิน ทําใหการเดินเรือไมสะดวก บริษัทฯจึงเลิกเดินเรือในปนั้นเอง
ชวงเวลาดังกลาวราชการยังมิไดดําเนินการควบคุมหรือจัดระเบียบการเดินรถโดยสาร
ประจําทางของ ประเทศ การเดินรถโดยสารระส่ําระสายมากโดยเฉพาะในตางจังหวัด เนื่อง
จาการขับรถเร็วและแซงเพื่อแยงผูโดยสารทําใหเกิดอุบัติเหตุอยูเสมอ นอกจากนี้ ยังทําให
เกิดการทะเลาะวิวาทระหวางพนักงานประจํารถหรือผูประกอบการจึงมีการแสวงหาการ
คุมครองกิจการตนเองจากผูมีอิทธิพล ซึ่งทําใหเกิดผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสินของ
ประชาชนเปนจํานวนมาก และสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศ
ในป 2502 รัฐบาลในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ตระหนักถึงความรุนแรงของ
ปญหาที่เกิดขึ้น จึงมอบสัมปทานเสนทางการเดินรถโดยสารหมวด 2 ในเขตสัมปทาน 25
จังหวัดใหบริษัท ขนสง จํากัดแตเพียงรายเดียว อีกทั้งมอบหมายใหเปนแกนกลางในการนํา
รถโดยสารของเอกชนเขามารวมกับบริษัทฯ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจัดระเบียบการเดินรถ
โดยสารใหเปนระเบียบและเปนธรรม แกเจาของรถโดยสารทุกรายที่เขารวม ทั้งนี้เพื่อ
ควบคุมดูแลเจาของรถโดยสารใหบริการที่ดีแกประชาชน
ระหวาง ป พ.ศ. 2502-2511 บริษัท ขนสง จํากัดพยายามชักจูงบริษัทเดินรถโดยสาร
เอกชนรายใหญเขาสูระบบรถรวมโดยใหดําเนินการเดินรถอยูในกฎขอบังคับของทางราชการ
ภายใตเครื่องหมายของ บริษัทฯซึ่งสามารถแกไขปญหารถโดยสารผิดกฎหมายได แมใน
ชวงแรก บริษัทฯยังไมสามารถดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายของรัฐที่ไดรับมอบหมาย
และประสบขาดทุนอยางหนัก ระหวางป พ.ศ. 2502 ถึงป พ.ศ. 2504 อยางไรก็ตามบริษัทฯ
~5~

พยายามปรับปรุงทั้งดานการบริหารจัดการภายในและการใหบริการ จนกระทั่งผลการ
ดําเนินงานเริ่มดีขึ้นเปนลําดับตั้งแตป พ.ศ. 2505 ถึง 2516 ทําใหมีผลการดําเนินงานดีขึ้น
จนสามารถจายโบนัสไดเปนครั้งแรก
ระหวาง ป พ.ศ. 2522 ถึง 2531 เปนชวงที่บริษัทฯจัดระเบียบการเดินรถโดยสาร
ของบริษัทฯและรถรวมพรอมกับ ใหเกิดความเปนธรรม สงเสริมและสนับสนุนใหมีการรวมตัว
กันของเจาของรถโดยสารรายยอยตามความ เหมาะสมของแตละกลุม แตละเสนทาง และแต
ละภูมิภาค ซึ่งเปนผลใหผูประกอบการรถรวมมีการรวมตัวกันอยางเปนรูปธรรมเมือป พ.ศ.
่
2523 ในนามของสมาคมผูประกอบการรถยนตโดยสาร
วันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2541พิธีเปดอยางเปนทางการของอาคารสถานีขนสงผูโดยสาร
กรุงเทพฯ (จตุจักร) ถนนกําแพงเพชร 2 เขตจตุจักร มีพื้นที่ใชสอย 27,000 ตารางเมตร ใช
แทนอาคารหลั ง เดิ ม เป น อาคาร 4 ชั้ น ออกแบบได อ ย า งเหมาะสมและปลอดภั ย สํ า หรั บ
ผูโดยสาร และมีจุดอํานวยความสะดวกครบครัน
ป พ.ศ. 2546 บริษัท ขนสง จํากัด มีแผนขยายเสนทางเดินรถขามประเทศไปยัง
ประเทศเพื่อนบาน ทั้งนี้เพื่อรองรับการขยายตัวทางการคา การลงทุน ที่รัฐบาลหมายจะให
ไทยเปนประตูสูอินโดจีน ในป 2547 รถโดยสารระหวางประเทศไทย - สปป.ลาว เสนทาง
หนองคาย-นครหลวงเวียงจันทน และเสนทางอุดรธานี-นครหลวงเวียงจันทน ก็เริ่มเปด
ใหบริการ ในป 2548 เสนทางที่ 3 สายอุบลราชธานี-ปากเซ ในป 2550 เสนทางที่ 4 สาย
มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ในป 2551 เสนทางที่ 5 ขอนแกน – นครหลวงเวียงจันทน และ
ในป 2552 เสนทางที่ 6 นครราชสีมา – นครหลวงเวียงจันทน และในอนาคตอันใกลนี้
บริษัท ขนสง จํากัด จะเปดเดินรถเพิ่มอีก 5 เสนทาง คือ นครพนม – เมืองทาแขก ,
เชียงใหม – แขวงหลวงพระบาง , อุดรธานี – หนองคาย – เมืองวังเวียง , กรุงเทพฯ – ปาก
เซ , เชียงราย – เชียงของ – บอแกว และไดขยายเสนทางในเสนทางที่ 6 เปนกรุงเทพฯ –
นครหลวงเวียงจันทน โดยใหจังหวัดนครราชสีมาเปนจุดจอดระหวางทาง
ป พ.ศ. 2551 บขส. มีการจัดทํามาสคอต เพื่อใชสําหรับการรวมในกิจกรรมตางๆ
เพื่อใหประชาชนรูจักบริษัท ขนสง จํากัดเพิ่มขึ้น ซึ่งมาสคอต มีชื่อวา เซฟตี้ และเซฟตังค
ป พ.ศ.2552 บริษัทฯไดทําการปรับเปลี่ยนสัญลักษณใหมของ บขส. ใหมีรูปแบบที่
ทันสมัยยิ่งขึ้น จากปกปรับมาใชลายเสนการเคลื่อนไหว ทําใหสัญลักษณ บขส. ดูออนโยน มี
ความเปนกันเองใกลชิดลูกคามากยิ่งขึ้น
~6~

ความหมายของสัญลักษณใหมประกอบดวยเสน 3 สี

เสนสีสม เปนเสนที่แสดงถึงรากฐานของสัญลักษณนและสื่อถึงเสนโคงของรถบัส และ
ี้
เสนสีสมเปนสีของ บขส. และมีความหมายวา บขส.เปนองคกรในการใหบริการการขนสง
การเดินรถอยางมั่นคง มาเปนเวลายาวนาน
เสนสีฟาเปนการสื่อถึงการพัฒนาตอเนื่องและเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการเปน
สําคัญ และการพัฒนาจากรถสมมาเปนรถปรับอากาศ
เสนสีชมพู เปนสีที่หมายถึงความเปนมงคล สิงดีงาม สื่อถึง บขส. เปนองคกรทีทํา
่
่
ประโยชนใหแกสังคมอยางตอเนื่อง
ตัวหนังสือ บขส. สีสม ใช Font ที่มความหนา เพื่อสื่อถึงความหนักแนน มั่นคงของ
ี
องคกรแหงนี้
วิสัยทัศน
เปนผูใหบริการขนสงผูโดยสารทางถนนระหวางเมืองดวยความเปนเลิศ

หมายเลขเสนทางเดินรถ
หมวด 2 ภาคเหนือ
หมวด 2 ภาคเหนือ
หมวด 2 ภาคเหนือ
สาย
ที่
1
3
13
47
91

ชื่อเสนทาง
กรุงเทพฯ - เชียงใหม
กรุงเทพฯ - เชียงแสน
กรุงเทพฯ - บานทาตอน
กรุงเทพฯ - ทุงชาง
กรุงเทพฯ - ลําปาง (ข)

สาย
ที่

ชื่อเสนทาง

2
6
18
90
92

กรุงเทพฯ - ลําปาง
กรุงเทพฯ - สุโขทัย
กรุงเทพฯ - เชียงใหม (ข)
กรุงเทพฯ - เชียงราย
กรุงเทพฯ - เขื่อนภูมิพล
~7~

93
95
100
910
912
922
924
956
958
961
963
965

กรุงเทพฯ - ตาก (ข)
กรุงเทพฯ - นครสวรรค
กรุงเทพฯ - อุตรดิตถ
กรุงเทพฯ - นาน (ข)
กรุงเทพฯ - อุตรดิตถ (ข)
กรุงเทพฯ - พะเยา
กรุงเทพฯ - ลําพูน
กรุงเทพฯ - แมสอด
กรุงเทพฯ - พิจิตร (ข)
กรุงเทพฯ - แมฮองสอน
กรุงเทพฯ - เขาคอ
กรุงเทพฯ - อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย

94
96
909
911
913
923
925
957
959
962
964

กรุงเทพฯ - กําแพงเพชร (ข)
กรุงเทพฯ - นาน
กรุงเทพฯ - เชียงราย (ข)
กรุงเทพฯ - พิจิตร
กรุงเทพฯ - พิษณุโลก (ข)
กรุงเทพฯ - แพร
กรุงเทพฯ - สวรรคโลก
กรุงเทพฯ - แมสาย
กรุงเทพฯ - ตะพานหิน
กรุงเทพฯ - เทิง - เชียงของ
กรุงเทพฯ - ดอยเตา - จอมทอง

หมวด 3 ภาคเหนือ
หมวด 3 ภาคเหนือ
สายที่
112
121
136
158
192
623
636
638

ชื่อเสนทาง
นครสวรรค - ชัยนาท
นครสวรรค - นครราชสีมา
พิษณุโลก - เพชรบูรณ
นครสวรรค - ตาคลี
นครสวรรค - อุทัยธานี (ข)
นครสวรรค - เชียงใหม (ค)
เชียงใหม - อุดรธานี
แมสอด - บอไร

หมวด 3 ภาคเหนือ
สายที่

ชื่อเสนทาง

114
133
155
175
615
633
637
661

นครสวรรค - กําแพงเพชร
พิษณุโลก - ลําปาง
พิษณุโลก - เชียงใหม (ข)
เชียงใหม - ขอนแกน
นครสวรรค - พิษณุโลก
เชียงใหม - ขอนแกน (ข)
เชียงราย - ขอนแกน
เชียงราย - นครพนม

ภารกิจหลักของบริษัท ขนสง จํากัด
แบงได 4 ประการดังนี้
1.พัฒนาการบริการอยางตอเนื่อง เพื่อใหไดมาตรฐานสากล โดยมุงเนนในดาน
ความปลอดภัยความสะดวกสบาย ความตรงตอเวลา และความทันสมัย ที่สอดคลองกับ
ความตองการของตลาด ทั้งธุรกิจเดินรถและธุรกิจสถานี
2.สรางความประทับใจและตอบสนองความตองการผูใชบริการ จัดบริการเดิน
รถ ใหมีลักษณะโครงขาย ที่ครอบคลุมทั่วประเทศและเชื่อมตอระหวางประเทศ พัฒนาสถานี
และศูนยซอมบํารุงในลักษณะที่ครบวงจร
~8~

3.รักษาสิทธิทพึงมีของผูโดยสาร รวมถึงใหการคุมครองชีวิตและทรัพยสินของ
ี่
ผูโดยสารและบุคคลที่สาม โดยยกระดับมาตรฐานในการกํากับดูแลทั้งรถบริษัทฯและ
ผูประกอบการรถรวม
4.บริหารกิจการโดยยึดถือประโยชนผูถือหุนและผูมีสวนไดสวนเสีย โดยการ
จัดระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ มีความคลองตัว เพิ่มศักยภาพบุคลากร สราง
ความไดเปรียบในเชิงตนทุน และนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเพื่อนําไปสูการบริการที่
มีคุณภาพและสามารถ แขงขันได
ยุทธศาสตร
นโยบายและกลยุทธทสําคัญในอนาคต
ี่
ยุทธศาสตร (Strategies) และกลยุทธ (Strategics) ประกอบดวย 3 ยุทธศาสตร 7 กล
ยุทธ ดังนี้
ยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางความสามารถในการแขงขันและการพัฒนา
บริการ ประกอบดวย 4 กลยุทธ
กลยุทธที่ 1 ปรับรูปแบบการแขงขันในเสนทางเชิงพาณิชย มี วัตถุประสงคเพื่อ
เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ บขส.ดานการบริการและการเดินรถ โดยกําหนด
เสนทางการเดินรถที่เหมาะสมตอการรองรับความตองการเดินทางของผู โดยสารในอนาคต
และเอื้อตอนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยคัดเลือกเสนทางเชิง
พาณิชย (หมวด 2) ที่มีศักยภาพเพื่อเปนรากฐานในการวางแผนพัฒนาศักยภาพรวมทั้งการ
พัฒนาขอมูล ในการบริหารและการบริการ
กลยุทธที่ 2 สรางคุณภาพการบริการและยกระดับมาตรฐานการบริการ มี
วัตถุประสงคเพื่อรักษาขีดความสามารถในการแขงขันของ บขส.
ดานคุณภาพการ
บริการ และมอบบริการที่ไดระดับมาตรฐานคุณภาพจากรถโดยสารทั้งระบบภายใตการ
กํากับ ดูแลของ บขส. รวมถึงการสํารวจขอมูลตลาดรถโดยสารในภาพรวมเพิ่มเติมเพื่อเปน
ขอมูลประกอบ การวางแผนการพัฒนาบริการไดตรงเปาหมายและมีประสิทธิภาพ ตลอดจน
สรางความพึงพอใจของผูโดยสารใหสูงขึ้นได
กลยุทธที่ 3 สงเสริมและพัฒนากลยุทธดานการตลาด มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการสรางรายได ลดโอกาสการสูญเสียลูกคาและเพิ่มจํานวนผูโดยสารที่ใช
บริการรถโดยสารของ บขส. ดวยการพัฒนากลยุทธดานการตลาด การเพิ่มชองทางการ
จําหนายตั๋วและระบบ Call Center ที่สามารถอํานวยความสะดวกแกผูโดยสาร
~9~

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการขนสง
"ขนสง" หมายถึง การขนและการสง หรือการนําไปและนํามาไดแก การขนสงสิ่งของ
หรือสัตวที่ไมสามารถจะเคลื่อนตัวเองได จากจุดหนึ่งเพื่อสงไปยังจุดหมายปลายทางที่
ตองการ ในขณะที่การนําไปและนํามา คือนําคน-มนุษยหรือผูโดยสารที่สามารถเคลื่อนยาย
ตัวเองไดตามเครื่องหมาย สากล ไปยังจุดหมายปลายทางได การขนสงที่เราจะศึกษาตอไป
จะหมายถึงการเคลื่อนยายผูโดยสารและสงของเพื่อ เพิ่ม ความพึงพอใจในการเปลี่ยน
สถานที่องคประกอบที่สําคัญของการขนสง ไดแก
1. เสนทาง (WAY)
2. สถานี (TERMINAL)
3. พาหนะ (CARRYING UNIT)
4. เครื่องขับเคลื่อน (MOTIVE POWER)
1. เสนทาง (WAY) หมายถึงปจจัยพื้นฐานที่จะรองรับพาหนะในการเคลื่อนที่จากจุด
หนึ่งไปยังอีก จุดหนึ่ง แบงออกเปน
1.1 ประเภทของทาง
ก. ทางธรรมชาติ เกิดขึ้นเอง ไดแก ลําน้ํา ทางเดินในปา เขา ทองฟา
ข. ทางธรรมชาติ ที่ไดรับการปรับปรุง ไดแก ลําน้ําธรรมชาติ ที่ตองขุดลอกเนื่องจาก

เรือไมสามารถจะผานไปได
ค. ทางมนุษยสรางขึ้น ไดแก ถนนลอยฟา ถนนใตดิน หรือการขุดอุโมงคผานภูเขาหรือใต
ชองแคบ เพือใหรถหรือรถไฟผานไปมาได
่
1.2 สิทธิในทาง (เจาของ) เนื่องจากสวนใหญไมวาบก น้ํา อากาศ เชน ถนน จะเกิดขึ้นได
เมื่อเกิดการลงทุนทั้งจากเอกชน หรือรัฐบาล ดังนั้น ถาถนนนั้นใชเงินจากภาษีและ
คาธรรมเนียมในการจัดสรางถนนก็ควรเปนถนน สาธารณะ ผูใชถนนก็ควรจะเปนผูจายเงิน

บํารุงรักษาสภาพของถนนในรูปของภาษีรถยนต ประเภทตาง ๆ และภาษีน้ํามัน
ปจจุบนเอกชนผูหวังกําไรจากธุรกิจสรางถนนยกระดับหรือทางดวน ไดจัดสรางถนนเหลานี้
ั
ใหสาธารณชนใช โดยผูใชทางเหลานี้ตองจายเงินเปนคาจัดทํา คาบํารุงรักษาทาง และกําไร
~ 10 ~

ระเบียบ และคูมอรถรวมบริษัทขนสง จํากัด
ื
พุทธศักราช 2547
ดวยเห็นเปนการสมควร บริษัทขนสง จํากัด จึงใหกําหนดระเบียบรถรวม พ.ศ.2547
ใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติการขนสงทางบก พ.ศ.2522 และกฎหมายที่เกี่ยวของตาม
ความเห็นชอบของคณะกรรมการ บริษัทขนสง จํากัด ในการประชุมครังที่ 7/2547 เมื่อวันที่
้
28 พฤษภาคม 2547 ดังนี้
ขอ 1. ระเบียบนี้เรียกวา "ระเบียบรถรวม บริษัทขนสง จํากัด พุทธศักราช 2547"
ขอ 2. เมื่อระเบียบนี้มีผลใชบังคับ บรรดาระเบียบ คําสั่ง ประกาศ ซึ่งมีขอความขัด

หรือแยงกับระเบียบนี้ใหยกเลิกเสียทั้งสิ้น
ขอ 3. ระเบียบนี้มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 24 เดือนมิถนายน พ.ศ. 2547 เปนตนไป
ุ
ขอ 4. ในระเบียบนี้
(1) "บริษัท" หมายความวา บริษัทขนสง จํากัด
(2) "รถรวม" หมายความวา รถโดยสารที่บริษัทใหสิทธิแกเจาของรถรวมนําเขาเดิน
ประจําเสนทางเดินรถ โดยสาร ประจําทางที่บริษัทไดรับใบอนุญาตประกอบการขนสงโดย
เจาของรถรวมไดทําสัญญา รถรวมไวกับบริษัท และบริษัท ไดจัดรถเขาเดินรถในเสนทางแลว
"เจาของรถรวมยินยอมจดทะเบียนเขารวมกิจกรรมเดินรถกับบริษัท"
(3) "เจาของรถรวม" หมายความวา ผูมีกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิครอบครอง หรือสิทธิใน
การใชรถโดยสาร โดยนิติกรรมอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งเปนคูสญญารถรวมกับบริษัท
ั
(4) "สัญญารถรวม" หมายความวา สัญญาสองฝาย ที่ทําขึ้นระหวางบริษัทฝายหนึ่ง
กับเจาของรถรวมอีกฝายหนึ่ง โดยมีขอตกลงกันวา เจาของรถรวมยินยอมจดทะเบียนรถเขา
รวมกิจกรรมเดินรถกับบริษัท และบริษัทยินยอมใหเจาของรถรวม ไดรับประโยชนจากการนํา
รถเขาเดินในเสนทาง
(5) "พนักงานรถรวม" หมายความวา พนักงานขับรถ, พนักงานเก็บคาโดยสาร,
นายตรวจ, พนักงานบริการ และพนักงาน จําหนายตั๋วประจําสถานี
(6) "ผูจัดการ" หมายความวา กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทขนสง จํากัด หรือ
ผูจัดการใหญ บริษัทขนสง จํากัด
(7) "คณะกรรมการ" หมายความวา คณะกรรมการบริษัทขนสง จํากัด
~ 11 ~

การกํากับดูแลกิจการที่ดของบริษัทขนสง จํากัด
ี
การกํากับดูแลกิจการที่ดี
บริษัท ขนสง จํากัด ตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดี ในการที่จะ
ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เพื่อใหเปนองคกรที่สามารถดําเนินธุรกิจไดอยาง
มีประสิทธิภาพและตอบสนองความพึงพอใจของลูกคาภายใตความโปรงใส ตรวจสอบได และ
มี ค วามน า เชื่ อ ถื อ โดยคํ า นึ ง ถึ ง การมี ส ว นร ว มของผู มี ส ว นได เ สี ย อยู บ นพื้ น ฐานของ
คุณธรรม เพื่อสรางมูลคาเพิ่มใหแกองคกรในระยะยาว รวมถึงความรับผิดชอบตอสังคมและ
สิ่งแวดลอม
นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี
คณะกรรมการบริษัท ขนสง จํากัด มีเจตนารมณที่จะสงเสริมใหบริษัท ขนสง จํากัด มี
การบริหารจัดการที่ดีและยึดมั่นตามหลักการและแนวทางการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ซึ่ง
กําหนดโดยกระทรวงการคลัง จึงไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีเพื่อใหกรรมการ
ผูบริหาร และผูปฏิบัติงานยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติอยางตอเนื่อง และในปงบประมาณ
2553 ไดประกาศนโยบายใหมหลังจากไดมีการทบทวนและปรับปรุงใหสอดคลองกับหลักการ
และแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ป 2552 โดยมีสาระสําคัญคือ กรรมการ
ผูบริหาร และผูปฏิบัติงาน ตระหนักถึงความสําคัญและมุงมั่นในการดําเนินงานโดยยึดหลัก
สําคัญในการกํากับ ดูแลที่ดี 7
ประการ คื อ ความรั บ ผิดชอบตอ ผลการปฏิบั ติ หน าที่
ความสํานึกในหนาที่ดวยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ การปฏิบัติตอผูมีสวน
ไดสวนเสีย โดยสุจริตและจะตองพิจารณาใหเกิดความเทาเทียมกัน ความโปรงใสในการ
ดําเนินงานที่สามารถตรวจสอบไดและมีการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใสแกผูที่เกี่ยวของทุก
ฝาย การสรางมูลคาเพิ่ม แกกิจการ การสงเสริมพัฒนาการกํากับดูแลและจรรยาบรรณที่ดีใน
การประกอบธุรกิจ และการมีสวนรวมของประชาชน โดยตองคํานึงถึงความรับผิดชอบตอ
สังคม สิ่งแวดลอมและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
โครงสรางของคณะกรรมการ
จํานวนกรรมการของบริษัท ขนสง จํากัด กําหนดใหมีกรรมการไมนอยกวา 5 คน แต
ไมเกิน11คน ตามหนังสือบริคณหสนธิ และขอบังคับของบริษัท ขนสง จํากัด (ฉบับแกไข
~ 12 ~

ระเบียบบริษัท ขนสง จํากัดวาดวยประมวลจริยธรรมของ
กรรมการและพนักงาน พ.ศ. 2553
โดยที่มาตรา 279 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 บัญญัติ
ใหมีประมวลจริยธรรมเพื่อกําหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง
ขาราชการ หรือเจาหนาที่ของรัฐ แตละประเภทโดยใหมีกลไกและระบบในการบังคับใชอยาง
มีประสิทธิภาพ รวมทั้งกําหนดขั้นตอนการลงโทษ ตามความรายแรงแหงการกระทํา
เพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณ ของบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญดังกลาวอาศัยอํานาจ
ตามความในขอบังคับของบริษัทฯ ขอที่ 46 โดยความเห็นของคณะกรรมการบริษัทฯ ในการ
ประชุม ครั้งที่ 2/2552 วันที่ 18 กุมภาพันธ 2553 จึงใหออกระเบียบไวดังตอไปนี้
หมวด 1
บททั่วไป
ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบบริษัทขนสง จํากัด วาดวยประมวลจริยธรรมของ
กรรมการและพนักงาน พ.ศ. 2553”
ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวนที่ 18 กุมภาพันธ 2553 เปนตนไป
ั
ขอ 3 ในระเบียบนี้
“กรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการและกรรมการของบริษัท ขนสง จํากัด
“กรรมการผูจัดการใหญ” หมายความวา กรรมการผูจัดการใหญหรือผูจัดการใหญ
ของบริษัทขนสง จํากัด
“พนักงาน” หมายความวา พนักงานและลูกจางของบริษัทขนสง จํากัดและให
หมายความรวมถึงกรรมการผูจัดการใหญดวย
ขอ 4 ใหประธานกรรมการบริษัทขนสง จํากัด รักษาการตามระเบียบนี้
หมวดที่ 2
มาตรฐานจริยธรรม
สวนที่ 1
มาตรฐานจริยธรรมอันเปนคานิยมหลัก
ขอ 5 กรรมการและพนักงานทุกคน ตองปฏิบตหนาที่ โดยยึดมั่นในมาตรฐาน
ั ิ
จริยธรรมอันเปนคานิยมหลัก 9 ประการ ดังนี้
(1) การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม
~ 13 ~

(2) การมีจตสํานึกที่ดี ซื่อสัตย สุจริต และรับผิดชอบ
ิ
(3) การยึดถือประโยชนของประเทศชาติเหนือกวาประโยชนสวนตน และไมมี
ผลประโยชนทับซอน
(4) การยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกตองเปนธรรมและถูกกฎหมาย
(5) การใหบริการแกประชาชนดวยความรวดเร็ว มีอัธยาศัยและไมเลือกปฏิบัติ
(6) การใหขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางครบถวน ถูกตอง และไมบิดเบือน
ขอเท็จจริง
(7) การมุงผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษษมาตรฐานมีคุณภาพ โปรงใส และตรวจสอบได
(8) การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

(9) การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององคกร

สวนที่ 2
มาตรฐานจริยธรรมขององคกร
ขอ 6 กรรมการและพนักงานตองจงรักภักดีตอชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย
ขอ 7 กรรมการและพนักงานตองเปฯแบบอยางที่ดีในการรักษาไวและปฏิบัตตาม
ิ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยทุกประการ
ขอ 8 กรรมการและพนักงาน ควรประพฤติปฏิบติและพัฒนาตนเองในทางที่เปน
ั
ประโยชนตอองคกรอยูเสมอ โดยศึกษาหาความรูและประสบการณืเพื่อเพิ่มพูน

ความสามารถและยึดมั่นในคุณธรรม
ขอ 9 กรรมการและพนักงาน ตองรักษาความลับที่ไดจากการปฏิบัติหนาที่ การ
เปดเผยขอมูลที่เปนความลับ จะกระทําไดตอเมื่อไดรับอนุญาต หรือเปนไปตามที่กฎหมาย
กําหนดเทานั้น
ขอ 10 กรรมการและพนักงาน ตองรักษาและเสริมสรางความสามัคคีระหวาง
ผูรวมงาน พรอมกับใหความชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันในทางที่ชอบ
ขอ 11 กรรมการและพนักงาน ตองไมใชสถานะหรือตําแหนงไปแสวงหาประโยชนทมิ
ี่
ควรไดสําหรับตนเองหรือผูอ่น ไมวาจะเปนประโยชนในทางทรัพยสินหรือไมก็ตาม ตลอดจน
ื
ไดรับของขวัญ ของกํานัล หรือประโยชนอื่นใดจากผูรองเรียน หรือบุคคลที่เกี่ยวของ เพื่อ
ประโยชนตางๆ อันอาจจะเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ของตน เวนแตเปนการใหโดย
ธรรมจรรยาหรือการใหตามประเพณี
~ 14 ~

ขอ 12 กรรมการและพนักงาน ตองไมนําทรัพยสินขององคืกร ทั้งสังหาริมทรัพยและ
อสังหาริมทรัพย รวมทั้งเทคโนโลยี ขอมูลการวิจัยและพัฒนา ตลอดจนสิงประดิษฐืและ
่
ขอมูลอื่นๆ ขององคกร ที่ไมพึงเปดเผยไปใชเพื่อประโยชนสวนตน หรือผูอื่นอันมิไดเกยวกับ
กิจการขององคกร
ขอ 13 กรรมการและพนักงาน ตองปฏิบัติหนาที่อยางเต็มกําลังความสามารถดวย
ความเสียสละ ทุมเทสตติปญญา ความรูความสามารถ ใหบรรลุผลสําเร็จและมีประสิทธิภาพ
ตามภาระหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประเทศชาติและประชาชน
ขอ 14 กรรมการและพนักงาน ตองมุงแกปญหาความเดือดรอนของประชาชนดวย
ความเปนธรรม รวดเร็ว และมุงเสริมสรางความเขาใจอันดีระหวางหนวยงานและประชาชน
ขอ 15 พนักงานตองปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ คําสั่งขององคกร และคําสั่งของ
ผูบังคับบัญชาในทางที่ถูกตองเหมาะสมอยางเครงครัด และเปนผูรักษา กฎ ระเบียบ วินัยใน
ตนเองรวมือดูแลใหพนักบงานอื่นรวมกันรักษาระเบียบวินัยขององคกรดวย
ขอ 16 พนักงาน ตองปฏิบัติหนาที่ดวยความสุภาพ เรียบรอยและใหบริการกับ
ประชาชนอยางรวดเร็ว ใหความสะดวกในการติดตอ ตลอดจนตองปรับปรุงการใหบริการ
อยางสม่ําเสมอ คํานึงถึงผลประโยชนและความพึงพอใจของประชาชนที่ใชบริการ
ขอ 17 พนักงานตองประพฤติตนใหสามารถทํางานรวมกับผูอนดวยความสุภาพ มี
ื่
น้ําใจ มีมนุษยสัมพันธอันดี ตองไมปดบังขอมูลที่จําเปนในการปฏิบัติงานของเพื่อนรวมงาน
และไมนําผลงานของผูอื่นมราแอบอางเปนผลงานของตน
หมวดที่ 3
กลไกและระบบการบังคับใชประมวลจริยธรรม
ขอ 18 กรรมการและพนักงาน ตองประพฤติและวางตนอยูในกรอบประมวลจริยธร
มนี้อยางเครงครัดและสม่ําเสมอ ตลอดจนเปนแบบอยางทีดี ควรแกการยกยองใหเปนที่ปรุ
่
จักษตอสาธารณะชนทัวไป

่
ทั้งนี้ใหกรรมการผูจัดการใหญกกับดูแลการประพฤติปฏิบตของพนักงานใหเปนไป
ั ิ
ตามประมวลจริยธรรมนี้
ขอ 19 กรณีมีการรองเรียนหรือปรากฎเหตุวา มีพนักงานประพฤติปฏิบติของ
ั
พนักงานใหเปนไปตามประมวลจริยธรรมนี้
ขอ 19 กรณีมีการรองเรียนหรือปรากฎเหตุวา มีพนักงานประพฤติปฏิบติฝาฝน
ั
ประมวลจริยธรรม ใหกรรมการผูจัดการใหญเปนผูรับผิดชอบพิจารณาดําเนินการ
~ 15 ~

กรณีมีการรองเรียนหรือปรากฎเหตุวา กรรมการผฦจัดการใหญประพฤติปฏิบติฝาฝ
ั
ฝนประมวลจริยธรรมใหประธานกรรมการเปนผูรบผิดชอบพิจารณาดําเนินการ
ั
กรณีการรองเรียนหรือปรากฎเหตุวา กรรมการคนใดคนหนึ่งประพฤติปฏิบัติฝาฝน
ประมวลจริยธรรมใหกรรมการที่เหลืออยูเปนผูรบผิดชอบพิจารณาดําเนินการ
ั
ขอ 20 การดําเนินการตามขอ 19 ใหผูรับผิดชอบพิจารณาดําเนินการแตงตั้ง
คณะกรรมการจํานวนไมนอยกวาสามคน แตไมเกินหาคนเปนผูดําเนินการสอบสวนทาง
จริยธรรม
ขอ 21 หากดําเนินการสอบสวนตามขอ 20 แลวไมปรากฎขอเท็จจริงวามีการฝาฝน
ประมวลจริยธรรม ใหผูรับผิดชอบพิจารณาดําเนินการตามขอ 19 สั่งยุตติเรื่อง แตหาก
ปรากฎขอเท็จจริงวามีการฝาฝนประมวลจริยธรรม ใหผูรับผิดชอบพิจารณาดําเนินการตาม
ขอ 19 สั่งลงโทษผูฝาฝนตามประมวลจริยธรรมนี้
ขอ 22 การดําเนินการสอบสวนตามขอ 19, 20 และขอ 21 ใหนําแนวทางและวิธีการ
สอบสวนตามระเบียบพนักงานบริษทขนสง จํากัด พ.ศ. 2532 วาดวยการดําเนนการทางวินัย
ั
การสอบสวนและการอุทธรณมาใชบังคับโดยอนุโลม
หมวดที่ 4
ขั้นตอนการลงโทษ
ขอ 23 เมื่อมีการดําเนินการสอบสวนทางจริยธรรมและมีการสั่งลงโทษ ตามขอ 21
แลว ใหดําเนินการใหเปนไปตามคําสั่งดังกลาวโดยไมชักชา
ขอ 24 การประพฤติปฏิบัติฝาฝนประมวลจริยธรรมนี้ จะถือเปนการฝาฝนจริยธรรม
รายแรงหรือไม ใหพิจารณาจากพฤติกรรมของการฝาฝน ความจงใจหรือเจตนา มูลเหตุจูง
ใจ ความสําคัญและระดับตําแหนงตลอดจนหนาที่ความรับผผิดชอบของผูฝาฝน อายุ ประวัติ
และคนวามประพฤติในอดีต สภาพแวดลอมแหงกรณี ผลรายอันเกิดจากการฝาฝนและเหตุ
อื่นอันควรนํามาประกอบการพิจารณา
ขอ 25 การประพฤติปฏิบัติฝาฝนประมวลจริยธรรมนี้ ในกรณีอันมิใชเปนความผิด
ทางวินัยหรือความผิดทางอาญาใหดําเนินการตามสมควรแกกรณี เพือใหมีการแกไขหรือ
่
ดําเนนการที่ถูกตอง หรือตักเตือน หรือนําไปประกอบการพิจารณาการแตงตั้ง การเขาสู
ตําแหนง การพนจากตําแหนง การเลบื่อนขั้นเงินเดือน หรือการพิจารณาความดี ความชอบ
หรือการสั่งใหผูฝาฝนนั้น ปรับปรุงตนเองหรือไดรับการพัฒนาแลวแตกรณี
~ 16 ~

ความรูเกี่ยวกับบัญชีเบืองตน
้
ความหมายของการบัญชี
การบัญชี(Accounting) คือ “การชวยอํานวยใหการบริหารงานทางเศรษฐกิจ
ของธุรกิจดําเนินไปไดอยางราบรื่น”
นักบัญชีจึงมีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูลมาบันทึกรายการ ซึ่งเกิดขึ้นกับธุรกิจ
เฉพาะที่สามารถตีคาเปนตัวเงินได รวมทั้งการจัดระบบการทํางาน การจัดแยกประเภท
รายการคา การวิเคราะหรายการและการรายงานสรุปผลการดําเนินงานตามรายการคาที่
เกิดขึ้น
“AICPA” (The American Institute of Certified Public Accountants) เปน
สมาคมนักบัญชีและสถาบันผูสอบบัญชีรับอนุญาตของอเมริกา ไดใหความหมายของการ
บั ญ ชี ว า “การบั ญ ชี เ ป น ศิ ล ปะของการเก็ บ รวบรวมจดบั น ทึ ก รายการ หรื อ เหตุ ก ารณ ที่
เกี่ยวกับการเงิน ไวในรูปของเงินตราและการจัดหมวดหมูรายการคาที่เกิดขึ้น เพื่อสรุปผล
พรอมทั้งวิเคราะหความหมายของรายงานที่ไดจัดทําไว”
จากคําจํากัดความขางตน อาจสรุปไดวา การบัญชีตองประกอบดวย
กระบวนการดังตอไปนี้
1. การบันทึกรายการที่เกิดขึ้นประจําวัน
(Recording Daily
Transactions) ในการดําเนินกิจการทุกวัน การบันทึกบัญชีจะเริ่มตนตอเมื่อกิจการมีรายการ
คาทางธุรกิจเกิดขึ้นเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับจํานวนเงิน และตองเปนรายการคาที่เกิดขึ้นแลว
เทานั้น หรือมีหลักฐานที่เชื่อถือไดวาจะเกิดขึ้นอยางแนนอนเหตุการณบางอยางซึ่งเปนเพียง
การคาดการณวาจะเกิดขึ้น ไมถือวาเปนรายการที่สมบูรณพอที่จะนํามาบันทึกได ตัวอยาง
รายการคาที่ถือวาเปนรายการบัญชี เชน รายการที่เกี่ยวกับการซื้อ–ขาย การรับ-จายเงิน
ซึ่งรายการเหลานี้สามารถตีคาเปนจํานวนเงินได และจะนําไปบันทึกไวในสมุดรายวัน
ขั้นตน (Journatasin thongsean)
2. การจัดหมวดหมูของรายการ (Classifying Recorded Data)
เกิดขึ้นภายหลังจากที่ไดบันทึกรายการลงในสมุดรายวันขั้นตน จากนั้นจึงมาแยกรายการ
ออกเปนหมวดหมู และแยกประเภทรายการชนิดเดียวกันใหรวมอยูในที่เดียวกัน โดยการ
ฝายรายการตาง ๆ จากสมุดรายวันขั้นตน ไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ (LEDGERS)
ตามหมวดหมูนั้น ๆ
~ 17 ~

สมการบัญชี
ความสัมพันธระหวางสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ เขียนเปน
สมการบัญชีไดดังนี้
สินทรัพย

= หนี้สิน + สวนของเจาของ

สมการบัญชี ใชเปนหลักในการวิเคราะหรายการบัญชี และการบันทึกขอมูล
ทางการบัญชี ซึ่งการดําเนินงานของธุรกิจจะมีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย
หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรก็ตาม สินทรัพยทั้งสินตองเทากับ หนี้สินและสวน
้
ของเจาของรวมกันเสมอ
งบกําไรขาดทุน (Income Statement)
งบกําไรขาดทุนเปนงบ หรือรายงานการเงินที่แสดงใหเห็นถึงผลการ
ดําเนินงานของกิจการในชวงเวลาหนึง คือ 1 ป หรืออาจจะสั้นกวา 1 ปก็ได เชน งวด
่
1 เดือน หรือรายไตรมาส อาจเปน 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เรียกวางบระหวางกาล ทั้งนี้
เพื่อใหเปนไปตามความตองการฝายบริหารที่จะใชภายในกิจการ
การคํานวณกําไรขาดทุนของกิจการกระทําไดโดย การเปรียบเทียบรายได
และคาใชจายของรอบระยะเวลาบัญชีนั้น สวนเกินที่รายไดสูงกวาคาใชจาย เรียกวา กําไร
สุทธิ หรือรายจายมากกวารายได เรียกวา ขาดทุนสุทธิ ดังตัวอยางตอไปนี้
บริษัท ABC การคา จํากัด
งบกําไรขาดทุน
สําหรับป สินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25xx
้
รายได :
ขาย
รายจาย :
ตนทุนขาย
เงินเดือน
คาเชา
คาน้ํา-คาไฟ

200,000
100,000
30,000
5,000
5,000
~ 18 ~

คาใชจายเบ็ดเตล็ด
10,000
150,000
กําไรสุทธิ
50,000
รายได (Revenues) หมายถึง สินทรัพย ซึ่งกิจการไดรับจากการขายสินคา
หรือบริการใหกับลูกคา รวมถึงผลตอบแทนที่ไดรับจากการลงทุน และการไดรับสินทรัพย
นั้นมีผลทําใหสวนของเจาของเพิ่มขึน
้
คาใชจาย (Expenses) หมายถึง ตนทุนของสินคาและบริการที่ใชไปหรือหมด
ไปเพื่อกอใหเกิดรายได และมีผลทําใหสวนของเจาของลดลง
กําไรสุทธิ (ขาดทุนสุทธิ) หมายถึง สวนเกินที่รายไดสูงกวาคาใชจายในรอบ
ระยะเวลาบัญชีหนึ่ง อันเปนผลใหสวนของเจาของเพิ่มขึ้น คือ กําไรสุทธิ ตรงขาม ถา
คาใชจายสูงกวารายได ทําใหสวนของเจาของลดลง คือ ขาดทุนสุทธิ
ความสัมพันธระหวาง สินทรัพย หนี้สิน สวนของเจาของ รายได และ
คาใชจาย อาจเขียนเปนสมการไดดังนี้
สินทรัพย
= หนี้สน + สวนของเจาของ + รายได - คาใชจาย
ิ
สินทรัพย + คาใชจาย = หนี้สน + สวนของเจาของ + รายได
ิ

หรือ

งบกําไรสะสม (Retained Earnings) เปนงบแสดงการเปลี่ยนแปลงของกําไร
สะสมที่เกิดขึ้นในระหวางรอบบัญชี ทําใหทราบวาในการดําเนินงานมีผลกําไรเกิดขึ้นเทาไร
จายเงินปนผลเทาไร ดังตัวอยาง
บริษัท ABC การคา จํากัด
งบกําไรสะสม
สําหรับป สินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25xx
้
กําไรสะสมตนป
บวก กําไรสุทธิ
หัก เงินปนผล
กําไรสะสมสินป
้

10,000
50,000
60,000
(20,000)
40,000
~ 19 ~

การวิเคราะหรายการคา
การดําเนินธุรกิจในแตละวันยอมมีผลทําให สินทรัพย หนี้สิน และสวนของ
เจาของเปลี่ยนแปลงไป เชน กิจการขายสินคาไปเปนเงินสด มีผลทําใหสินทรัพยที่เปนเงิน
สดเพิ่มขึ้น และสินทรัพยที่เปนสินคาลดลง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของกิจการที่กอใหเกิด
ผลกระทบเชนนี้ เรียกวา “รายการคา” (Business Transaction)
เดบิต และ เครดิต หมายถึง
ศัพททางบัญชีที่ควรทราบเพื่อประโยชนในการบันทึกบัญชี รายการคาที่
เกิดขึ้นทุกรายการจะมีผลกระทบตอบัญชีสองบัญชี หรือมากกวานั้นเสมอ เชน
ั
เดบิต “Debit” (Dr) หมายถึง ดานซายของบัญชีซึ่งใชบนทึกสินทรัพยที่
เพิ่มขึ้น และหนี้สินกับสวนของเจาของที่ลดลง รายการบัญชีที่บันทึกทางดานซาย เรียกวา
รายการเดบิต
เครดิต “Credit” (Cr) หมายถึง ดานขวาของบัญชีซึ่งใชบันทึกสินทรัพยที่
ลดลง และหนี้สินและสวนของเจาของที่เพิ่มขึ้น รายการบัญชีที่บันทึกทางดานขวา เรียกวา
รายการเครดิต
ผลตางระหวางจํานวนเงินทางดานเดบิต (ดานซาย) และจํานวนเงินทางดาน
เครดิต (ดานขวา) เรียกวา ยอดคงเหลือ
ถาจํานวนเงินทางดานเดบิต สูงกวา เครดิต เรียกวา ยอดคงเหลือเดบิต
(Debit Balance)
ถาจํานวนเงินทางดานเครดิต สูงกวา เดบิต เรียกวา ยอดคงเหลือเครดิต
(Credit Balance)
จากสมการบัญชี

สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน

กลาวคือ ในการบันทึกบัญชีถือวา สินทรัพย อยูดานซาย คือ เดบิต และ
หนี้สินบวกทุนอยูดานขวา คือ เครดิต ถาผลของรายการทําใหเพิ่มขึ้น ก็จะบันทึกให
่
เพิ่มขึ้นตามดานที่อยู ถาผลของรายการทําใหลดลง ก็จะบันทึกในดานตรงกันขามทีอยู
ทั้งนี้ ไมวาจะเปนสินทรัพย หนี้สน หรือทุน
ิ
~ 20 ~

เดบิต สินทรัพย เครดิต
เครดิต
เพิ่ม +
ลด –

เดบิต หนี้สน เครดิต
ิ

เดบิต ทุน

ลด

ลด

–

เพิ่ม

+

สรุปสมการบัญชีไดดังนี้ :
สินทรัพย
= หนี้สิน + ทุน + รายได – คาใชจาย หรือ
สินทรัพย+คาใชจาย = หนี้สิน + ทุน + รายได
เพิ่ม
สินทรัพย ดานที่อยู
เดบิต
+ เดบิต
หนี้สิน
“
เครดิต
+ เครดิต
ทุน
“
เครดิต
+ เครดิต
รายได
“
เครดิต
+ เครดิต
คาใชจาย
“
เดบิต
+ เดบิต

-

–

เพิ่ม +

ลด
เครดิต
เดบิต
เดบิต
เดบิต
เครดิต

การวิเคราะหรายการคา
เมื่อมีรายการคาเกิดขึ้น จําเปนตองวิเคราะหวารายการดังกลาวมีผลกระทบ
ตอ สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรบาง รวมทั้งผลกระทบตอรายไดทําให
สวนของเจาของเพิ่มขึ้นและคาใชจายทําใหสวนของเจาของลดลง
ตัวอยาง รายการที่เกิดขึ้นในกิจการ รานABCซักรีด ในระยะเวลา 1 เดือน เริ่ม 1
มกราคม 25xx ถึง 31 มกราคม 25xx ดังนี้ :
1. นายตนนําเงินสดมาลงทุน 25,000 บาท
2. ซื้อของใชสนเปลืองเปนเงินสด 3,000 บาท
ิ้
3. ซื้ออุปกรณซักรีดจากราน ABC เปนเงิน 14,000 บาท ตกลงชําระเงิน
15 ก.พ. 25xx
4. ระหวางเดือน กิจการมีรายไดจากการใหบริการเปนเงินสด 6,200 บาท
5. ระหวางเดือน จายเงินสดเปนคาใชจายดังนี้

เงินเดือน
1,500 บาท
คาเชา
2,000 บาท
~ 21 ~

แนวขอสอบ นักวิชาการการเงินและบัญชี
1.สมการบัญชี คือขอใด
ก. สินทรัพย + หนี้สิน = สวนของเจาของ
ข. สินทรัพย = สวนของเจาของ + หนี้สิน
ค. สินทรัพย = หนี้สิน – สวนของเจาของ
ง. สินทรัพย + สวนของเจาของ = หนี้สิน
2.สวนไดเสียของเจาของในสินทรัพยของบริษัทหนึ่ง ๆ คือ
ข. สวนของผูถือหุน
ก. สินทรัพยถาวร
ค. คาใชจายในการดําเนินงาน
ง. ทุนหุนสามัญ
3.ณ วันสิ้นงวดบัญชีปจจุบัน ยอดคงเหลือของบัญชีตาง ๆเปนดังนี้ เงินสด 150,000 บาท ลูกหนี้
50,000 บาท หุนสามัญ 10,000 บาท กําไรสะสม 60,000 บาท หนี้สิน ณ วันสิ้นงวดเทากับเทาใด
ก. 80,000 บาท
ข. 130,000 บาท
ค. 140,000 บาท
ง. 190,000 บาท
4.บัญชีตาง ๆ ตอไปนี้ บัญชีใดมียอดคงเหลือดานเดบิต
1. สินคาคงเหลือ
2. คาเชา
3. ทุนเรือนหุน
4. คาเสื่อมราคาสะสม
5. ขาย
6. คาเชาจายลวงหนา
ก. สินคาคงเหลือ ทุนเรือนหุน ขาย คาเชาจายลวงหนา
ข. สินคาคงเหลือ คาเชา คาเชาจายลวงหนา
ค. ทุนเรือนหุน คาเสื่อมราคาสะสม ขาย เจาหนี้
ง. คาเชา คาเสื่อมราคาสะสม เจาหนี้

7. เจาหนี้

5.ขอความในขอใดเปนขอความที่ถูกตองสําหรับระบบบัญชีเดี่ยว
ก.คาใชจายคางจายจะหามาไดโดยการสอบถามเจาของ ตรวจดูใบเสร็จรับเงิน และบัญชีแยก
ประเภทเจาหนี้
ข.การเปรียบเทียบทุนจะทําใหทราบถึงฐานะการเงินของกิจการได แตไมสามารถทําใหทราบวา
กิจการมีรายไดและคาใชจายเทาใด
~ 22 ~

ค.งบดุลมักถูกเรียกวางบแสดงฐานะการเงิน สวนงบกําไรขาดทุนมักถูกเรียกวางบเปรียบเทียบทุน
ง.สมุดเงินสด สมุดรายวัน และสมุดบัญชีแยกประเภทมีขอมูลไมเพียงพอตอการทํางบแสดง
ฐานะการเงิน
6. เงินไดของรัฐบาลเกือบทั้งหมดเกิดจากเงินของราษฎร ฉะนั้นจึงสมควรที่ราษฎรควรจะตองรู
เห็น หมายความถึงหลักการงบประมาณแผนดินตามขอใด
ข. หลักประชาธิปไตย
ก. หลักการคาดการณไกล
ค. หลักดุลยภาพ
ง. หลักยุติธรรม
7.การควบคุมงบประมาณทั้งรายไดและรายจายใหถูกตอง หมายความถึงหลักงบประมาณแผนดิน
ในขอใด
ก. หลักสมรรถภาพ
ข. หลักประชาธิปไตย
ค. หลักดุลยภาพ
ง. หลักยุติธรรม
8.ประโยชนทางการบัญชี เกี่ยวกับการใชระบบเงินสดยอย
ก.เพื่อสะดวกในการควบคุมและปองกันการทุจริตในกิจการที่มีการรับ–
จายโดยผาน
ธนาคาร
ข.คาใชจายเล็ก ๆ นอย ๆ ไมอาจจะจายใหผูรับเปนเช็คได ตองใชระบบเงินสดยอย
ค.สมุดเงินสดยอยมิใชสวนหนึ่งของระบบบัญชีคู
ง.ขอ ก. และขอ ข. ถูกตอง
9.การเริ่มตั้งวงเงินสดยอย เหรัญญิกจะบันทึกรายการโดย
ก. เดบิท เงินสดยอย
xx
เครดิต เงินสดหรือเงินฝากธนาคาร
ค. เดบิท คาใชจายตาง ๆ
xx
เครดิต เงินสดยอย

ข. เดบิท เงินสดหรือเงินฝากธนาคาร xx
xx
เครดิต เงินสดยอย
xx
ง. ผิดทุกขอ
xx

10.การจายเงินสดยอย เมื่อผูรักษาเงินสดยอยจายคาใชจายเล็กๆ นอยๆ ผูรักษาเงินสดยอยจะ
บันทึกรายการโดย
ก.ทําใบสําคัญเงินสดยอยเพื่อเปนหลักฐานวาจายเงินใหใครเปนเงินเทาใดและรายจายประเภทใด
ข.บันทึกความจําวาไดจายคาใชจายอะไรในสมุดเงินสดยอย
ค.รวบรวมหลักฐานใบสําคัญเงินสดยอยไวจนกวาเงินสดยอยเกือบจะหมดเพื่อขอเบิกเพิ่มเติม
ง.ถูกตองทุกขอ
~ 23 ~

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่
่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Contenu connexe

Plus de บ.ชีทราม จก.

ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...บ.ชีทราม จก.
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Plus de บ.ชีทราม จก. (11)

216
216216
216
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

ข้อสอบ บขส แนวข้อสอบ บขส ข้อสอบบริษัทขนส่ง แนวข้อสอบขนส่ง เจ้าหน้าที่บัญชีและการเงิน E-BOOK

  • 1. ~1~
  • 2. ~2~ ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับ บขส. ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. สัญลักษณ วิสัยทัศน หมายเลขเสนทางเดินรถ ภารกิจหลักของ บขส. ยุทธศาสตร บขส เปาประสงค ขอบเขตการดําเนินธุรกิจของบริษัท ขนสง จํากัด ความรูเบืองตนเกี่ยวกับการขนสง ้ 5 9 9 9 16 16 18 19 23 สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของกับ บขส. ระเบียบและคูมือรถรวมบริษัทขนสง พ.ศ. 2547 อัตราคาธรรมเนียม ขั้นตอนการเพิ่มรถ ขั้นตอนการปรับปรุงมาตรฐานรถ ขั้นตอนการตอสัญญารถรวม การกํากับกิจการที่ดีของบริษัท ขนสง จํากัด ระเบียบวาดวย ประมวลจริยธรรมของพนักงาน 34 54 56 57 58 61 73 สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนงการบัญชีและการเงิน ความรูเกี่ยวกับการบัญชีเบื้องตน ขอสมมติฐานทางการบัญชี งบการเงิน สมการบัญชี การวิเคราะหรายการคา ผังบัญชี สมุดรายวันชั้นตน 79 83 85 88 97 101 108
  • 3. ~3~ งบทดลอง การปรับปรุงรายการบัญชี กระดาษทําการ สมุดรายวันเฉพาะ การบริหารการเงิน การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน การวิเคราะหงบกระแสเงินทุนและงบประมาณ การวิเคราะหการใชสินทรัพยและเงินทุนในการดําเนินงาน การบริหารการเงินทุนหมุนเวียน การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินคาคงคลัง งบประมาณการลงทุน การคลังภาครัฐ หนวยงานที่เกี่ยวของการคลังรัฐบาล งบประมาณแผนดิน บทบาทและความสําคัญของงบประมาณแผนดิน หลักการงบประมาณแผนดิน วิธีวิเคราะหงบประมาณ ประเภทของงบประมาณแผนดิน รายจายของรัฐบาล รายไดของรัฐบาลไทย อัตราภาษี ตัวอยางแนวขอสอบ การบัญชีและการเงิน 113 129 134 144 159 162 172 179 185 187 195 202 218 223 225 227 229 231 231 242 242 260 263
  • 4. ~4~ ความรูทั่วไปเกียวกับ บขส.  ่ ตํานาน บขส. บริษัท ขนสง จํากัด กอตั้งเมือวันที่ 13 กรกฎาคม 2473 ในชื่อบริษัท เดินอากาศ ่ จํากัด โดยเปนผูบุกเบิกริเริ่มการบินพาณิชยในประเทศเปนรายแรก และเดินรถยนตโดยสาร สายกรุงเทพฯ – ลพบุรี กรุงเทพฯ – ปราจีนบุรี ตอมาสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงเปน รัฐวิสาหกิจ และเปลี่ยนชื่อเปนบริษท ขนสง จํากัด เมื่อป พ.ศ. 2481 ั ป พ.ศ. 2490 รัฐบาลแยกกิจการบินภายในประเทศออกจากบริษัทฯ ตอมาป พ.ศ. 2491 บริษทเริ่มกิจการเดินเรือโดยมีเรือทั้งสิ้น 48 ลํา จนกระทั่งป พ.ศ. 2500 กิจการเดินเรือ ั ทั้งสิ้นจํานวน 18 สายและมี 4 สาขา คือสาขา ทาเตียน สาขาปากน้ําโพ – นครสวรรค สาขา แปดริ้ว และสาขาอยุธยา อยางไรก็ตามการสรางเขื่อนชัยนาททําใหแมน้ําเจาพระยาบางตอน ตื้นเขิน ทําใหการเดินเรือไมสะดวก บริษัทฯจึงเลิกเดินเรือในปนั้นเอง ชวงเวลาดังกลาวราชการยังมิไดดําเนินการควบคุมหรือจัดระเบียบการเดินรถโดยสาร ประจําทางของ ประเทศ การเดินรถโดยสารระส่ําระสายมากโดยเฉพาะในตางจังหวัด เนื่อง จาการขับรถเร็วและแซงเพื่อแยงผูโดยสารทําใหเกิดอุบัติเหตุอยูเสมอ นอกจากนี้ ยังทําให เกิดการทะเลาะวิวาทระหวางพนักงานประจํารถหรือผูประกอบการจึงมีการแสวงหาการ คุมครองกิจการตนเองจากผูมีอิทธิพล ซึ่งทําใหเกิดผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสินของ ประชาชนเปนจํานวนมาก และสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศ ในป 2502 รัฐบาลในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ตระหนักถึงความรุนแรงของ ปญหาที่เกิดขึ้น จึงมอบสัมปทานเสนทางการเดินรถโดยสารหมวด 2 ในเขตสัมปทาน 25 จังหวัดใหบริษัท ขนสง จํากัดแตเพียงรายเดียว อีกทั้งมอบหมายใหเปนแกนกลางในการนํา รถโดยสารของเอกชนเขามารวมกับบริษัทฯ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจัดระเบียบการเดินรถ โดยสารใหเปนระเบียบและเปนธรรม แกเจาของรถโดยสารทุกรายที่เขารวม ทั้งนี้เพื่อ ควบคุมดูแลเจาของรถโดยสารใหบริการที่ดีแกประชาชน ระหวาง ป พ.ศ. 2502-2511 บริษัท ขนสง จํากัดพยายามชักจูงบริษัทเดินรถโดยสาร เอกชนรายใหญเขาสูระบบรถรวมโดยใหดําเนินการเดินรถอยูในกฎขอบังคับของทางราชการ ภายใตเครื่องหมายของ บริษัทฯซึ่งสามารถแกไขปญหารถโดยสารผิดกฎหมายได แมใน ชวงแรก บริษัทฯยังไมสามารถดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายของรัฐที่ไดรับมอบหมาย และประสบขาดทุนอยางหนัก ระหวางป พ.ศ. 2502 ถึงป พ.ศ. 2504 อยางไรก็ตามบริษัทฯ
  • 5. ~5~ พยายามปรับปรุงทั้งดานการบริหารจัดการภายในและการใหบริการ จนกระทั่งผลการ ดําเนินงานเริ่มดีขึ้นเปนลําดับตั้งแตป พ.ศ. 2505 ถึง 2516 ทําใหมีผลการดําเนินงานดีขึ้น จนสามารถจายโบนัสไดเปนครั้งแรก ระหวาง ป พ.ศ. 2522 ถึง 2531 เปนชวงที่บริษัทฯจัดระเบียบการเดินรถโดยสาร ของบริษัทฯและรถรวมพรอมกับ ใหเกิดความเปนธรรม สงเสริมและสนับสนุนใหมีการรวมตัว กันของเจาของรถโดยสารรายยอยตามความ เหมาะสมของแตละกลุม แตละเสนทาง และแต ละภูมิภาค ซึ่งเปนผลใหผูประกอบการรถรวมมีการรวมตัวกันอยางเปนรูปธรรมเมือป พ.ศ. ่ 2523 ในนามของสมาคมผูประกอบการรถยนตโดยสาร วันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2541พิธีเปดอยางเปนทางการของอาคารสถานีขนสงผูโดยสาร กรุงเทพฯ (จตุจักร) ถนนกําแพงเพชร 2 เขตจตุจักร มีพื้นที่ใชสอย 27,000 ตารางเมตร ใช แทนอาคารหลั ง เดิ ม เป น อาคาร 4 ชั้ น ออกแบบได อ ย า งเหมาะสมและปลอดภั ย สํ า หรั บ ผูโดยสาร และมีจุดอํานวยความสะดวกครบครัน ป พ.ศ. 2546 บริษัท ขนสง จํากัด มีแผนขยายเสนทางเดินรถขามประเทศไปยัง ประเทศเพื่อนบาน ทั้งนี้เพื่อรองรับการขยายตัวทางการคา การลงทุน ที่รัฐบาลหมายจะให ไทยเปนประตูสูอินโดจีน ในป 2547 รถโดยสารระหวางประเทศไทย - สปป.ลาว เสนทาง หนองคาย-นครหลวงเวียงจันทน และเสนทางอุดรธานี-นครหลวงเวียงจันทน ก็เริ่มเปด ใหบริการ ในป 2548 เสนทางที่ 3 สายอุบลราชธานี-ปากเซ ในป 2550 เสนทางที่ 4 สาย มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ในป 2551 เสนทางที่ 5 ขอนแกน – นครหลวงเวียงจันทน และ ในป 2552 เสนทางที่ 6 นครราชสีมา – นครหลวงเวียงจันทน และในอนาคตอันใกลนี้ บริษัท ขนสง จํากัด จะเปดเดินรถเพิ่มอีก 5 เสนทาง คือ นครพนม – เมืองทาแขก , เชียงใหม – แขวงหลวงพระบาง , อุดรธานี – หนองคาย – เมืองวังเวียง , กรุงเทพฯ – ปาก เซ , เชียงราย – เชียงของ – บอแกว และไดขยายเสนทางในเสนทางที่ 6 เปนกรุงเทพฯ – นครหลวงเวียงจันทน โดยใหจังหวัดนครราชสีมาเปนจุดจอดระหวางทาง ป พ.ศ. 2551 บขส. มีการจัดทํามาสคอต เพื่อใชสําหรับการรวมในกิจกรรมตางๆ เพื่อใหประชาชนรูจักบริษัท ขนสง จํากัดเพิ่มขึ้น ซึ่งมาสคอต มีชื่อวา เซฟตี้ และเซฟตังค ป พ.ศ.2552 บริษัทฯไดทําการปรับเปลี่ยนสัญลักษณใหมของ บขส. ใหมีรูปแบบที่ ทันสมัยยิ่งขึ้น จากปกปรับมาใชลายเสนการเคลื่อนไหว ทําใหสัญลักษณ บขส. ดูออนโยน มี ความเปนกันเองใกลชิดลูกคามากยิ่งขึ้น
  • 6. ~6~ ความหมายของสัญลักษณใหมประกอบดวยเสน 3 สี เสนสีสม เปนเสนที่แสดงถึงรากฐานของสัญลักษณนและสื่อถึงเสนโคงของรถบัส และ ี้ เสนสีสมเปนสีของ บขส. และมีความหมายวา บขส.เปนองคกรในการใหบริการการขนสง การเดินรถอยางมั่นคง มาเปนเวลายาวนาน เสนสีฟาเปนการสื่อถึงการพัฒนาตอเนื่องและเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการเปน สําคัญ และการพัฒนาจากรถสมมาเปนรถปรับอากาศ เสนสีชมพู เปนสีที่หมายถึงความเปนมงคล สิงดีงาม สื่อถึง บขส. เปนองคกรทีทํา ่ ่ ประโยชนใหแกสังคมอยางตอเนื่อง ตัวหนังสือ บขส. สีสม ใช Font ที่มความหนา เพื่อสื่อถึงความหนักแนน มั่นคงของ ี องคกรแหงนี้ วิสัยทัศน เปนผูใหบริการขนสงผูโดยสารทางถนนระหวางเมืองดวยความเปนเลิศ หมายเลขเสนทางเดินรถ หมวด 2 ภาคเหนือ หมวด 2 ภาคเหนือ หมวด 2 ภาคเหนือ สาย ที่ 1 3 13 47 91 ชื่อเสนทาง กรุงเทพฯ - เชียงใหม กรุงเทพฯ - เชียงแสน กรุงเทพฯ - บานทาตอน กรุงเทพฯ - ทุงชาง กรุงเทพฯ - ลําปาง (ข) สาย ที่ ชื่อเสนทาง 2 6 18 90 92 กรุงเทพฯ - ลําปาง กรุงเทพฯ - สุโขทัย กรุงเทพฯ - เชียงใหม (ข) กรุงเทพฯ - เชียงราย กรุงเทพฯ - เขื่อนภูมิพล
  • 7. ~7~ 93 95 100 910 912 922 924 956 958 961 963 965 กรุงเทพฯ - ตาก (ข) กรุงเทพฯ - นครสวรรค กรุงเทพฯ - อุตรดิตถ กรุงเทพฯ - นาน (ข) กรุงเทพฯ - อุตรดิตถ (ข) กรุงเทพฯ - พะเยา กรุงเทพฯ - ลําพูน กรุงเทพฯ - แมสอด กรุงเทพฯ - พิจิตร (ข) กรุงเทพฯ - แมฮองสอน กรุงเทพฯ - เขาคอ กรุงเทพฯ - อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย 94 96 909 911 913 923 925 957 959 962 964 กรุงเทพฯ - กําแพงเพชร (ข) กรุงเทพฯ - นาน กรุงเทพฯ - เชียงราย (ข) กรุงเทพฯ - พิจิตร กรุงเทพฯ - พิษณุโลก (ข) กรุงเทพฯ - แพร กรุงเทพฯ - สวรรคโลก กรุงเทพฯ - แมสาย กรุงเทพฯ - ตะพานหิน กรุงเทพฯ - เทิง - เชียงของ กรุงเทพฯ - ดอยเตา - จอมทอง หมวด 3 ภาคเหนือ หมวด 3 ภาคเหนือ สายที่ 112 121 136 158 192 623 636 638 ชื่อเสนทาง นครสวรรค - ชัยนาท นครสวรรค - นครราชสีมา พิษณุโลก - เพชรบูรณ นครสวรรค - ตาคลี นครสวรรค - อุทัยธานี (ข) นครสวรรค - เชียงใหม (ค) เชียงใหม - อุดรธานี แมสอด - บอไร หมวด 3 ภาคเหนือ สายที่ ชื่อเสนทาง 114 133 155 175 615 633 637 661 นครสวรรค - กําแพงเพชร พิษณุโลก - ลําปาง พิษณุโลก - เชียงใหม (ข) เชียงใหม - ขอนแกน นครสวรรค - พิษณุโลก เชียงใหม - ขอนแกน (ข) เชียงราย - ขอนแกน เชียงราย - นครพนม ภารกิจหลักของบริษัท ขนสง จํากัด แบงได 4 ประการดังนี้ 1.พัฒนาการบริการอยางตอเนื่อง เพื่อใหไดมาตรฐานสากล โดยมุงเนนในดาน ความปลอดภัยความสะดวกสบาย ความตรงตอเวลา และความทันสมัย ที่สอดคลองกับ ความตองการของตลาด ทั้งธุรกิจเดินรถและธุรกิจสถานี 2.สรางความประทับใจและตอบสนองความตองการผูใชบริการ จัดบริการเดิน รถ ใหมีลักษณะโครงขาย ที่ครอบคลุมทั่วประเทศและเชื่อมตอระหวางประเทศ พัฒนาสถานี และศูนยซอมบํารุงในลักษณะที่ครบวงจร
  • 8. ~8~ 3.รักษาสิทธิทพึงมีของผูโดยสาร รวมถึงใหการคุมครองชีวิตและทรัพยสินของ ี่ ผูโดยสารและบุคคลที่สาม โดยยกระดับมาตรฐานในการกํากับดูแลทั้งรถบริษัทฯและ ผูประกอบการรถรวม 4.บริหารกิจการโดยยึดถือประโยชนผูถือหุนและผูมีสวนไดสวนเสีย โดยการ จัดระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ มีความคลองตัว เพิ่มศักยภาพบุคลากร สราง ความไดเปรียบในเชิงตนทุน และนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเพื่อนําไปสูการบริการที่ มีคุณภาพและสามารถ แขงขันได ยุทธศาสตร นโยบายและกลยุทธทสําคัญในอนาคต ี่ ยุทธศาสตร (Strategies) และกลยุทธ (Strategics) ประกอบดวย 3 ยุทธศาสตร 7 กล ยุทธ ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางความสามารถในการแขงขันและการพัฒนา บริการ ประกอบดวย 4 กลยุทธ กลยุทธที่ 1 ปรับรูปแบบการแขงขันในเสนทางเชิงพาณิชย มี วัตถุประสงคเพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ บขส.ดานการบริการและการเดินรถ โดยกําหนด เสนทางการเดินรถที่เหมาะสมตอการรองรับความตองการเดินทางของผู โดยสารในอนาคต และเอื้อตอนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยคัดเลือกเสนทางเชิง พาณิชย (หมวด 2) ที่มีศักยภาพเพื่อเปนรากฐานในการวางแผนพัฒนาศักยภาพรวมทั้งการ พัฒนาขอมูล ในการบริหารและการบริการ กลยุทธที่ 2 สรางคุณภาพการบริการและยกระดับมาตรฐานการบริการ มี วัตถุประสงคเพื่อรักษาขีดความสามารถในการแขงขันของ บขส. ดานคุณภาพการ บริการ และมอบบริการที่ไดระดับมาตรฐานคุณภาพจากรถโดยสารทั้งระบบภายใตการ กํากับ ดูแลของ บขส. รวมถึงการสํารวจขอมูลตลาดรถโดยสารในภาพรวมเพิ่มเติมเพื่อเปน ขอมูลประกอบ การวางแผนการพัฒนาบริการไดตรงเปาหมายและมีประสิทธิภาพ ตลอดจน สรางความพึงพอใจของผูโดยสารใหสูงขึ้นได กลยุทธที่ 3 สงเสริมและพัฒนากลยุทธดานการตลาด มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการสรางรายได ลดโอกาสการสูญเสียลูกคาและเพิ่มจํานวนผูโดยสารที่ใช บริการรถโดยสารของ บขส. ดวยการพัฒนากลยุทธดานการตลาด การเพิ่มชองทางการ จําหนายตั๋วและระบบ Call Center ที่สามารถอํานวยความสะดวกแกผูโดยสาร
  • 9. ~9~ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการขนสง "ขนสง" หมายถึง การขนและการสง หรือการนําไปและนํามาไดแก การขนสงสิ่งของ หรือสัตวที่ไมสามารถจะเคลื่อนตัวเองได จากจุดหนึ่งเพื่อสงไปยังจุดหมายปลายทางที่ ตองการ ในขณะที่การนําไปและนํามา คือนําคน-มนุษยหรือผูโดยสารที่สามารถเคลื่อนยาย ตัวเองไดตามเครื่องหมาย สากล ไปยังจุดหมายปลายทางได การขนสงที่เราจะศึกษาตอไป จะหมายถึงการเคลื่อนยายผูโดยสารและสงของเพื่อ เพิ่ม ความพึงพอใจในการเปลี่ยน สถานที่องคประกอบที่สําคัญของการขนสง ไดแก 1. เสนทาง (WAY) 2. สถานี (TERMINAL) 3. พาหนะ (CARRYING UNIT) 4. เครื่องขับเคลื่อน (MOTIVE POWER) 1. เสนทาง (WAY) หมายถึงปจจัยพื้นฐานที่จะรองรับพาหนะในการเคลื่อนที่จากจุด หนึ่งไปยังอีก จุดหนึ่ง แบงออกเปน 1.1 ประเภทของทาง ก. ทางธรรมชาติ เกิดขึ้นเอง ไดแก ลําน้ํา ทางเดินในปา เขา ทองฟา ข. ทางธรรมชาติ ที่ไดรับการปรับปรุง ไดแก ลําน้ําธรรมชาติ ที่ตองขุดลอกเนื่องจาก  เรือไมสามารถจะผานไปได ค. ทางมนุษยสรางขึ้น ไดแก ถนนลอยฟา ถนนใตดิน หรือการขุดอุโมงคผานภูเขาหรือใต ชองแคบ เพือใหรถหรือรถไฟผานไปมาได ่ 1.2 สิทธิในทาง (เจาของ) เนื่องจากสวนใหญไมวาบก น้ํา อากาศ เชน ถนน จะเกิดขึ้นได เมื่อเกิดการลงทุนทั้งจากเอกชน หรือรัฐบาล ดังนั้น ถาถนนนั้นใชเงินจากภาษีและ คาธรรมเนียมในการจัดสรางถนนก็ควรเปนถนน สาธารณะ ผูใชถนนก็ควรจะเปนผูจายเงิน  บํารุงรักษาสภาพของถนนในรูปของภาษีรถยนต ประเภทตาง ๆ และภาษีน้ํามัน ปจจุบนเอกชนผูหวังกําไรจากธุรกิจสรางถนนยกระดับหรือทางดวน ไดจัดสรางถนนเหลานี้ ั ใหสาธารณชนใช โดยผูใชทางเหลานี้ตองจายเงินเปนคาจัดทํา คาบํารุงรักษาทาง และกําไร
  • 10. ~ 10 ~ ระเบียบ และคูมอรถรวมบริษัทขนสง จํากัด ื พุทธศักราช 2547 ดวยเห็นเปนการสมควร บริษัทขนสง จํากัด จึงใหกําหนดระเบียบรถรวม พ.ศ.2547 ใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติการขนสงทางบก พ.ศ.2522 และกฎหมายที่เกี่ยวของตาม ความเห็นชอบของคณะกรรมการ บริษัทขนสง จํากัด ในการประชุมครังที่ 7/2547 เมื่อวันที่ ้ 28 พฤษภาคม 2547 ดังนี้ ขอ 1. ระเบียบนี้เรียกวา "ระเบียบรถรวม บริษัทขนสง จํากัด พุทธศักราช 2547" ขอ 2. เมื่อระเบียบนี้มีผลใชบังคับ บรรดาระเบียบ คําสั่ง ประกาศ ซึ่งมีขอความขัด  หรือแยงกับระเบียบนี้ใหยกเลิกเสียทั้งสิ้น ขอ 3. ระเบียบนี้มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 24 เดือนมิถนายน พ.ศ. 2547 เปนตนไป ุ ขอ 4. ในระเบียบนี้ (1) "บริษัท" หมายความวา บริษัทขนสง จํากัด (2) "รถรวม" หมายความวา รถโดยสารที่บริษัทใหสิทธิแกเจาของรถรวมนําเขาเดิน ประจําเสนทางเดินรถ โดยสาร ประจําทางที่บริษัทไดรับใบอนุญาตประกอบการขนสงโดย เจาของรถรวมไดทําสัญญา รถรวมไวกับบริษัท และบริษัท ไดจัดรถเขาเดินรถในเสนทางแลว "เจาของรถรวมยินยอมจดทะเบียนเขารวมกิจกรรมเดินรถกับบริษัท" (3) "เจาของรถรวม" หมายความวา ผูมีกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิครอบครอง หรือสิทธิใน การใชรถโดยสาร โดยนิติกรรมอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งเปนคูสญญารถรวมกับบริษัท ั (4) "สัญญารถรวม" หมายความวา สัญญาสองฝาย ที่ทําขึ้นระหวางบริษัทฝายหนึ่ง กับเจาของรถรวมอีกฝายหนึ่ง โดยมีขอตกลงกันวา เจาของรถรวมยินยอมจดทะเบียนรถเขา รวมกิจกรรมเดินรถกับบริษัท และบริษัทยินยอมใหเจาของรถรวม ไดรับประโยชนจากการนํา รถเขาเดินในเสนทาง (5) "พนักงานรถรวม" หมายความวา พนักงานขับรถ, พนักงานเก็บคาโดยสาร, นายตรวจ, พนักงานบริการ และพนักงาน จําหนายตั๋วประจําสถานี (6) "ผูจัดการ" หมายความวา กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทขนสง จํากัด หรือ ผูจัดการใหญ บริษัทขนสง จํากัด (7) "คณะกรรมการ" หมายความวา คณะกรรมการบริษัทขนสง จํากัด
  • 11. ~ 11 ~ การกํากับดูแลกิจการที่ดของบริษัทขนสง จํากัด ี การกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ขนสง จํากัด ตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดี ในการที่จะ ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เพื่อใหเปนองคกรที่สามารถดําเนินธุรกิจไดอยาง มีประสิทธิภาพและตอบสนองความพึงพอใจของลูกคาภายใตความโปรงใส ตรวจสอบได และ มี ค วามน า เชื่ อ ถื อ โดยคํ า นึ ง ถึ ง การมี ส ว นร ว มของผู มี ส ว นได เ สี ย อยู บ นพื้ น ฐานของ คุณธรรม เพื่อสรางมูลคาเพิ่มใหแกองคกรในระยะยาว รวมถึงความรับผิดชอบตอสังคมและ สิ่งแวดลอม นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัท ขนสง จํากัด มีเจตนารมณที่จะสงเสริมใหบริษัท ขนสง จํากัด มี การบริหารจัดการที่ดีและยึดมั่นตามหลักการและแนวทางการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ซึ่ง กําหนดโดยกระทรวงการคลัง จึงไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีเพื่อใหกรรมการ ผูบริหาร และผูปฏิบัติงานยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติอยางตอเนื่อง และในปงบประมาณ 2553 ไดประกาศนโยบายใหมหลังจากไดมีการทบทวนและปรับปรุงใหสอดคลองกับหลักการ และแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ป 2552 โดยมีสาระสําคัญคือ กรรมการ ผูบริหาร และผูปฏิบัติงาน ตระหนักถึงความสําคัญและมุงมั่นในการดําเนินงานโดยยึดหลัก สําคัญในการกํากับ ดูแลที่ดี 7 ประการ คื อ ความรั บ ผิดชอบตอ ผลการปฏิบั ติ หน าที่ ความสํานึกในหนาที่ดวยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ การปฏิบัติตอผูมีสวน ไดสวนเสีย โดยสุจริตและจะตองพิจารณาใหเกิดความเทาเทียมกัน ความโปรงใสในการ ดําเนินงานที่สามารถตรวจสอบไดและมีการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใสแกผูที่เกี่ยวของทุก ฝาย การสรางมูลคาเพิ่ม แกกิจการ การสงเสริมพัฒนาการกํากับดูแลและจรรยาบรรณที่ดีใน การประกอบธุรกิจ และการมีสวนรวมของประชาชน โดยตองคํานึงถึงความรับผิดชอบตอ สังคม สิ่งแวดลอมและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โครงสรางของคณะกรรมการ จํานวนกรรมการของบริษัท ขนสง จํากัด กําหนดใหมีกรรมการไมนอยกวา 5 คน แต ไมเกิน11คน ตามหนังสือบริคณหสนธิ และขอบังคับของบริษัท ขนสง จํากัด (ฉบับแกไข
  • 12. ~ 12 ~ ระเบียบบริษัท ขนสง จํากัดวาดวยประมวลจริยธรรมของ กรรมการและพนักงาน พ.ศ. 2553 โดยที่มาตรา 279 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 บัญญัติ ใหมีประมวลจริยธรรมเพื่อกําหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ หรือเจาหนาที่ของรัฐ แตละประเภทโดยใหมีกลไกและระบบในการบังคับใชอยาง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งกําหนดขั้นตอนการลงโทษ ตามความรายแรงแหงการกระทํา เพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณ ของบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญดังกลาวอาศัยอํานาจ ตามความในขอบังคับของบริษัทฯ ขอที่ 46 โดยความเห็นของคณะกรรมการบริษัทฯ ในการ ประชุม ครั้งที่ 2/2552 วันที่ 18 กุมภาพันธ 2553 จึงใหออกระเบียบไวดังตอไปนี้ หมวด 1 บททั่วไป ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบบริษัทขนสง จํากัด วาดวยประมวลจริยธรรมของ กรรมการและพนักงาน พ.ศ. 2553” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวนที่ 18 กุมภาพันธ 2553 เปนตนไป ั ขอ 3 ในระเบียบนี้ “กรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการและกรรมการของบริษัท ขนสง จํากัด “กรรมการผูจัดการใหญ” หมายความวา กรรมการผูจัดการใหญหรือผูจัดการใหญ ของบริษัทขนสง จํากัด “พนักงาน” หมายความวา พนักงานและลูกจางของบริษัทขนสง จํากัดและให หมายความรวมถึงกรรมการผูจัดการใหญดวย ขอ 4 ใหประธานกรรมการบริษัทขนสง จํากัด รักษาการตามระเบียบนี้ หมวดที่ 2 มาตรฐานจริยธรรม สวนที่ 1 มาตรฐานจริยธรรมอันเปนคานิยมหลัก ขอ 5 กรรมการและพนักงานทุกคน ตองปฏิบตหนาที่ โดยยึดมั่นในมาตรฐาน ั ิ จริยธรรมอันเปนคานิยมหลัก 9 ประการ ดังนี้ (1) การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม
  • 13. ~ 13 ~ (2) การมีจตสํานึกที่ดี ซื่อสัตย สุจริต และรับผิดชอบ ิ (3) การยึดถือประโยชนของประเทศชาติเหนือกวาประโยชนสวนตน และไมมี ผลประโยชนทับซอน (4) การยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกตองเปนธรรมและถูกกฎหมาย (5) การใหบริการแกประชาชนดวยความรวดเร็ว มีอัธยาศัยและไมเลือกปฏิบัติ (6) การใหขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางครบถวน ถูกตอง และไมบิดเบือน ขอเท็จจริง (7) การมุงผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษษมาตรฐานมีคุณภาพ โปรงใส และตรวจสอบได (8) การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข  (9) การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององคกร สวนที่ 2 มาตรฐานจริยธรรมขององคกร ขอ 6 กรรมการและพนักงานตองจงรักภักดีตอชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย ขอ 7 กรรมการและพนักงานตองเปฯแบบอยางที่ดีในการรักษาไวและปฏิบัตตาม ิ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยทุกประการ ขอ 8 กรรมการและพนักงาน ควรประพฤติปฏิบติและพัฒนาตนเองในทางที่เปน ั ประโยชนตอองคกรอยูเสมอ โดยศึกษาหาความรูและประสบการณืเพื่อเพิ่มพูน  ความสามารถและยึดมั่นในคุณธรรม ขอ 9 กรรมการและพนักงาน ตองรักษาความลับที่ไดจากการปฏิบัติหนาที่ การ เปดเผยขอมูลที่เปนความลับ จะกระทําไดตอเมื่อไดรับอนุญาต หรือเปนไปตามที่กฎหมาย กําหนดเทานั้น ขอ 10 กรรมการและพนักงาน ตองรักษาและเสริมสรางความสามัคคีระหวาง ผูรวมงาน พรอมกับใหความชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันในทางที่ชอบ ขอ 11 กรรมการและพนักงาน ตองไมใชสถานะหรือตําแหนงไปแสวงหาประโยชนทมิ ี่ ควรไดสําหรับตนเองหรือผูอ่น ไมวาจะเปนประโยชนในทางทรัพยสินหรือไมก็ตาม ตลอดจน ื ไดรับของขวัญ ของกํานัล หรือประโยชนอื่นใดจากผูรองเรียน หรือบุคคลที่เกี่ยวของ เพื่อ ประโยชนตางๆ อันอาจจะเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ของตน เวนแตเปนการใหโดย ธรรมจรรยาหรือการใหตามประเพณี
  • 14. ~ 14 ~ ขอ 12 กรรมการและพนักงาน ตองไมนําทรัพยสินขององคืกร ทั้งสังหาริมทรัพยและ อสังหาริมทรัพย รวมทั้งเทคโนโลยี ขอมูลการวิจัยและพัฒนา ตลอดจนสิงประดิษฐืและ ่ ขอมูลอื่นๆ ขององคกร ที่ไมพึงเปดเผยไปใชเพื่อประโยชนสวนตน หรือผูอื่นอันมิไดเกยวกับ กิจการขององคกร ขอ 13 กรรมการและพนักงาน ตองปฏิบัติหนาที่อยางเต็มกําลังความสามารถดวย ความเสียสละ ทุมเทสตติปญญา ความรูความสามารถ ใหบรรลุผลสําเร็จและมีประสิทธิภาพ ตามภาระหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประเทศชาติและประชาชน ขอ 14 กรรมการและพนักงาน ตองมุงแกปญหาความเดือดรอนของประชาชนดวย ความเปนธรรม รวดเร็ว และมุงเสริมสรางความเขาใจอันดีระหวางหนวยงานและประชาชน ขอ 15 พนักงานตองปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ คําสั่งขององคกร และคําสั่งของ ผูบังคับบัญชาในทางที่ถูกตองเหมาะสมอยางเครงครัด และเปนผูรักษา กฎ ระเบียบ วินัยใน ตนเองรวมือดูแลใหพนักบงานอื่นรวมกันรักษาระเบียบวินัยขององคกรดวย ขอ 16 พนักงาน ตองปฏิบัติหนาที่ดวยความสุภาพ เรียบรอยและใหบริการกับ ประชาชนอยางรวดเร็ว ใหความสะดวกในการติดตอ ตลอดจนตองปรับปรุงการใหบริการ อยางสม่ําเสมอ คํานึงถึงผลประโยชนและความพึงพอใจของประชาชนที่ใชบริการ ขอ 17 พนักงานตองประพฤติตนใหสามารถทํางานรวมกับผูอนดวยความสุภาพ มี ื่ น้ําใจ มีมนุษยสัมพันธอันดี ตองไมปดบังขอมูลที่จําเปนในการปฏิบัติงานของเพื่อนรวมงาน และไมนําผลงานของผูอื่นมราแอบอางเปนผลงานของตน หมวดที่ 3 กลไกและระบบการบังคับใชประมวลจริยธรรม ขอ 18 กรรมการและพนักงาน ตองประพฤติและวางตนอยูในกรอบประมวลจริยธร มนี้อยางเครงครัดและสม่ําเสมอ ตลอดจนเปนแบบอยางทีดี ควรแกการยกยองใหเปนที่ปรุ ่ จักษตอสาธารณะชนทัวไป  ่ ทั้งนี้ใหกรรมการผูจัดการใหญกกับดูแลการประพฤติปฏิบตของพนักงานใหเปนไป ั ิ ตามประมวลจริยธรรมนี้ ขอ 19 กรณีมีการรองเรียนหรือปรากฎเหตุวา มีพนักงานประพฤติปฏิบติของ ั พนักงานใหเปนไปตามประมวลจริยธรรมนี้ ขอ 19 กรณีมีการรองเรียนหรือปรากฎเหตุวา มีพนักงานประพฤติปฏิบติฝาฝน ั ประมวลจริยธรรม ใหกรรมการผูจัดการใหญเปนผูรับผิดชอบพิจารณาดําเนินการ
  • 15. ~ 15 ~ กรณีมีการรองเรียนหรือปรากฎเหตุวา กรรมการผฦจัดการใหญประพฤติปฏิบติฝาฝ ั ฝนประมวลจริยธรรมใหประธานกรรมการเปนผูรบผิดชอบพิจารณาดําเนินการ ั กรณีการรองเรียนหรือปรากฎเหตุวา กรรมการคนใดคนหนึ่งประพฤติปฏิบัติฝาฝน ประมวลจริยธรรมใหกรรมการที่เหลืออยูเปนผูรบผิดชอบพิจารณาดําเนินการ ั ขอ 20 การดําเนินการตามขอ 19 ใหผูรับผิดชอบพิจารณาดําเนินการแตงตั้ง คณะกรรมการจํานวนไมนอยกวาสามคน แตไมเกินหาคนเปนผูดําเนินการสอบสวนทาง จริยธรรม ขอ 21 หากดําเนินการสอบสวนตามขอ 20 แลวไมปรากฎขอเท็จจริงวามีการฝาฝน ประมวลจริยธรรม ใหผูรับผิดชอบพิจารณาดําเนินการตามขอ 19 สั่งยุตติเรื่อง แตหาก ปรากฎขอเท็จจริงวามีการฝาฝนประมวลจริยธรรม ใหผูรับผิดชอบพิจารณาดําเนินการตาม ขอ 19 สั่งลงโทษผูฝาฝนตามประมวลจริยธรรมนี้ ขอ 22 การดําเนินการสอบสวนตามขอ 19, 20 และขอ 21 ใหนําแนวทางและวิธีการ สอบสวนตามระเบียบพนักงานบริษทขนสง จํากัด พ.ศ. 2532 วาดวยการดําเนนการทางวินัย ั การสอบสวนและการอุทธรณมาใชบังคับโดยอนุโลม หมวดที่ 4 ขั้นตอนการลงโทษ ขอ 23 เมื่อมีการดําเนินการสอบสวนทางจริยธรรมและมีการสั่งลงโทษ ตามขอ 21 แลว ใหดําเนินการใหเปนไปตามคําสั่งดังกลาวโดยไมชักชา ขอ 24 การประพฤติปฏิบัติฝาฝนประมวลจริยธรรมนี้ จะถือเปนการฝาฝนจริยธรรม รายแรงหรือไม ใหพิจารณาจากพฤติกรรมของการฝาฝน ความจงใจหรือเจตนา มูลเหตุจูง ใจ ความสําคัญและระดับตําแหนงตลอดจนหนาที่ความรับผผิดชอบของผูฝาฝน อายุ ประวัติ และคนวามประพฤติในอดีต สภาพแวดลอมแหงกรณี ผลรายอันเกิดจากการฝาฝนและเหตุ อื่นอันควรนํามาประกอบการพิจารณา ขอ 25 การประพฤติปฏิบัติฝาฝนประมวลจริยธรรมนี้ ในกรณีอันมิใชเปนความผิด ทางวินัยหรือความผิดทางอาญาใหดําเนินการตามสมควรแกกรณี เพือใหมีการแกไขหรือ ่ ดําเนนการที่ถูกตอง หรือตักเตือน หรือนําไปประกอบการพิจารณาการแตงตั้ง การเขาสู ตําแหนง การพนจากตําแหนง การเลบื่อนขั้นเงินเดือน หรือการพิจารณาความดี ความชอบ หรือการสั่งใหผูฝาฝนนั้น ปรับปรุงตนเองหรือไดรับการพัฒนาแลวแตกรณี
  • 16. ~ 16 ~ ความรูเกี่ยวกับบัญชีเบืองตน ้ ความหมายของการบัญชี การบัญชี(Accounting) คือ “การชวยอํานวยใหการบริหารงานทางเศรษฐกิจ ของธุรกิจดําเนินไปไดอยางราบรื่น” นักบัญชีจึงมีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูลมาบันทึกรายการ ซึ่งเกิดขึ้นกับธุรกิจ เฉพาะที่สามารถตีคาเปนตัวเงินได รวมทั้งการจัดระบบการทํางาน การจัดแยกประเภท รายการคา การวิเคราะหรายการและการรายงานสรุปผลการดําเนินงานตามรายการคาที่ เกิดขึ้น “AICPA” (The American Institute of Certified Public Accountants) เปน สมาคมนักบัญชีและสถาบันผูสอบบัญชีรับอนุญาตของอเมริกา ไดใหความหมายของการ บั ญ ชี ว า “การบั ญ ชี เ ป น ศิ ล ปะของการเก็ บ รวบรวมจดบั น ทึ ก รายการ หรื อ เหตุ ก ารณ ที่ เกี่ยวกับการเงิน ไวในรูปของเงินตราและการจัดหมวดหมูรายการคาที่เกิดขึ้น เพื่อสรุปผล พรอมทั้งวิเคราะหความหมายของรายงานที่ไดจัดทําไว” จากคําจํากัดความขางตน อาจสรุปไดวา การบัญชีตองประกอบดวย กระบวนการดังตอไปนี้ 1. การบันทึกรายการที่เกิดขึ้นประจําวัน (Recording Daily Transactions) ในการดําเนินกิจการทุกวัน การบันทึกบัญชีจะเริ่มตนตอเมื่อกิจการมีรายการ คาทางธุรกิจเกิดขึ้นเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับจํานวนเงิน และตองเปนรายการคาที่เกิดขึ้นแลว เทานั้น หรือมีหลักฐานที่เชื่อถือไดวาจะเกิดขึ้นอยางแนนอนเหตุการณบางอยางซึ่งเปนเพียง การคาดการณวาจะเกิดขึ้น ไมถือวาเปนรายการที่สมบูรณพอที่จะนํามาบันทึกได ตัวอยาง รายการคาที่ถือวาเปนรายการบัญชี เชน รายการที่เกี่ยวกับการซื้อ–ขาย การรับ-จายเงิน ซึ่งรายการเหลานี้สามารถตีคาเปนจํานวนเงินได และจะนําไปบันทึกไวในสมุดรายวัน ขั้นตน (Journatasin thongsean) 2. การจัดหมวดหมูของรายการ (Classifying Recorded Data) เกิดขึ้นภายหลังจากที่ไดบันทึกรายการลงในสมุดรายวันขั้นตน จากนั้นจึงมาแยกรายการ ออกเปนหมวดหมู และแยกประเภทรายการชนิดเดียวกันใหรวมอยูในที่เดียวกัน โดยการ ฝายรายการตาง ๆ จากสมุดรายวันขั้นตน ไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ (LEDGERS) ตามหมวดหมูนั้น ๆ
  • 17. ~ 17 ~ สมการบัญชี ความสัมพันธระหวางสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ เขียนเปน สมการบัญชีไดดังนี้ สินทรัพย = หนี้สิน + สวนของเจาของ สมการบัญชี ใชเปนหลักในการวิเคราะหรายการบัญชี และการบันทึกขอมูล ทางการบัญชี ซึ่งการดําเนินงานของธุรกิจจะมีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรก็ตาม สินทรัพยทั้งสินตองเทากับ หนี้สินและสวน ้ ของเจาของรวมกันเสมอ งบกําไรขาดทุน (Income Statement) งบกําไรขาดทุนเปนงบ หรือรายงานการเงินที่แสดงใหเห็นถึงผลการ ดําเนินงานของกิจการในชวงเวลาหนึง คือ 1 ป หรืออาจจะสั้นกวา 1 ปก็ได เชน งวด ่ 1 เดือน หรือรายไตรมาส อาจเปน 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เรียกวางบระหวางกาล ทั้งนี้ เพื่อใหเปนไปตามความตองการฝายบริหารที่จะใชภายในกิจการ การคํานวณกําไรขาดทุนของกิจการกระทําไดโดย การเปรียบเทียบรายได และคาใชจายของรอบระยะเวลาบัญชีนั้น สวนเกินที่รายไดสูงกวาคาใชจาย เรียกวา กําไร สุทธิ หรือรายจายมากกวารายได เรียกวา ขาดทุนสุทธิ ดังตัวอยางตอไปนี้ บริษัท ABC การคา จํากัด งบกําไรขาดทุน สําหรับป สินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25xx ้ รายได : ขาย รายจาย : ตนทุนขาย เงินเดือน คาเชา คาน้ํา-คาไฟ 200,000 100,000 30,000 5,000 5,000
  • 18. ~ 18 ~ คาใชจายเบ็ดเตล็ด 10,000 150,000 กําไรสุทธิ 50,000 รายได (Revenues) หมายถึง สินทรัพย ซึ่งกิจการไดรับจากการขายสินคา หรือบริการใหกับลูกคา รวมถึงผลตอบแทนที่ไดรับจากการลงทุน และการไดรับสินทรัพย นั้นมีผลทําใหสวนของเจาของเพิ่มขึน ้ คาใชจาย (Expenses) หมายถึง ตนทุนของสินคาและบริการที่ใชไปหรือหมด ไปเพื่อกอใหเกิดรายได และมีผลทําใหสวนของเจาของลดลง กําไรสุทธิ (ขาดทุนสุทธิ) หมายถึง สวนเกินที่รายไดสูงกวาคาใชจายในรอบ ระยะเวลาบัญชีหนึ่ง อันเปนผลใหสวนของเจาของเพิ่มขึ้น คือ กําไรสุทธิ ตรงขาม ถา คาใชจายสูงกวารายได ทําใหสวนของเจาของลดลง คือ ขาดทุนสุทธิ ความสัมพันธระหวาง สินทรัพย หนี้สิน สวนของเจาของ รายได และ คาใชจาย อาจเขียนเปนสมการไดดังนี้ สินทรัพย = หนี้สน + สวนของเจาของ + รายได - คาใชจาย ิ สินทรัพย + คาใชจาย = หนี้สน + สวนของเจาของ + รายได ิ หรือ งบกําไรสะสม (Retained Earnings) เปนงบแสดงการเปลี่ยนแปลงของกําไร สะสมที่เกิดขึ้นในระหวางรอบบัญชี ทําใหทราบวาในการดําเนินงานมีผลกําไรเกิดขึ้นเทาไร จายเงินปนผลเทาไร ดังตัวอยาง บริษัท ABC การคา จํากัด งบกําไรสะสม สําหรับป สินสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25xx ้ กําไรสะสมตนป บวก กําไรสุทธิ หัก เงินปนผล กําไรสะสมสินป ้ 10,000 50,000 60,000 (20,000) 40,000
  • 19. ~ 19 ~ การวิเคราะหรายการคา การดําเนินธุรกิจในแตละวันยอมมีผลทําให สินทรัพย หนี้สิน และสวนของ เจาของเปลี่ยนแปลงไป เชน กิจการขายสินคาไปเปนเงินสด มีผลทําใหสินทรัพยที่เปนเงิน สดเพิ่มขึ้น และสินทรัพยที่เปนสินคาลดลง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของกิจการที่กอใหเกิด ผลกระทบเชนนี้ เรียกวา “รายการคา” (Business Transaction) เดบิต และ เครดิต หมายถึง ศัพททางบัญชีที่ควรทราบเพื่อประโยชนในการบันทึกบัญชี รายการคาที่ เกิดขึ้นทุกรายการจะมีผลกระทบตอบัญชีสองบัญชี หรือมากกวานั้นเสมอ เชน ั เดบิต “Debit” (Dr) หมายถึง ดานซายของบัญชีซึ่งใชบนทึกสินทรัพยที่ เพิ่มขึ้น และหนี้สินกับสวนของเจาของที่ลดลง รายการบัญชีที่บันทึกทางดานซาย เรียกวา รายการเดบิต เครดิต “Credit” (Cr) หมายถึง ดานขวาของบัญชีซึ่งใชบันทึกสินทรัพยที่ ลดลง และหนี้สินและสวนของเจาของที่เพิ่มขึ้น รายการบัญชีที่บันทึกทางดานขวา เรียกวา รายการเครดิต ผลตางระหวางจํานวนเงินทางดานเดบิต (ดานซาย) และจํานวนเงินทางดาน เครดิต (ดานขวา) เรียกวา ยอดคงเหลือ ถาจํานวนเงินทางดานเดบิต สูงกวา เครดิต เรียกวา ยอดคงเหลือเดบิต (Debit Balance) ถาจํานวนเงินทางดานเครดิต สูงกวา เดบิต เรียกวา ยอดคงเหลือเครดิต (Credit Balance) จากสมการบัญชี สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน กลาวคือ ในการบันทึกบัญชีถือวา สินทรัพย อยูดานซาย คือ เดบิต และ หนี้สินบวกทุนอยูดานขวา คือ เครดิต ถาผลของรายการทําใหเพิ่มขึ้น ก็จะบันทึกให ่ เพิ่มขึ้นตามดานที่อยู ถาผลของรายการทําใหลดลง ก็จะบันทึกในดานตรงกันขามทีอยู ทั้งนี้ ไมวาจะเปนสินทรัพย หนี้สน หรือทุน ิ
  • 20. ~ 20 ~ เดบิต สินทรัพย เครดิต เครดิต เพิ่ม + ลด – เดบิต หนี้สน เครดิต ิ เดบิต ทุน ลด ลด – เพิ่ม + สรุปสมการบัญชีไดดังนี้ : สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน + รายได – คาใชจาย หรือ สินทรัพย+คาใชจาย = หนี้สิน + ทุน + รายได เพิ่ม สินทรัพย ดานที่อยู เดบิต + เดบิต หนี้สิน “ เครดิต + เครดิต ทุน “ เครดิต + เครดิต รายได “ เครดิต + เครดิต คาใชจาย “ เดบิต + เดบิต - – เพิ่ม + ลด เครดิต เดบิต เดบิต เดบิต เครดิต การวิเคราะหรายการคา เมื่อมีรายการคาเกิดขึ้น จําเปนตองวิเคราะหวารายการดังกลาวมีผลกระทบ ตอ สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรบาง รวมทั้งผลกระทบตอรายไดทําให สวนของเจาของเพิ่มขึ้นและคาใชจายทําใหสวนของเจาของลดลง ตัวอยาง รายการที่เกิดขึ้นในกิจการ รานABCซักรีด ในระยะเวลา 1 เดือน เริ่ม 1 มกราคม 25xx ถึง 31 มกราคม 25xx ดังนี้ : 1. นายตนนําเงินสดมาลงทุน 25,000 บาท 2. ซื้อของใชสนเปลืองเปนเงินสด 3,000 บาท ิ้ 3. ซื้ออุปกรณซักรีดจากราน ABC เปนเงิน 14,000 บาท ตกลงชําระเงิน 15 ก.พ. 25xx 4. ระหวางเดือน กิจการมีรายไดจากการใหบริการเปนเงินสด 6,200 บาท 5. ระหวางเดือน จายเงินสดเปนคาใชจายดังนี้  เงินเดือน 1,500 บาท คาเชา 2,000 บาท
  • 21. ~ 21 ~ แนวขอสอบ นักวิชาการการเงินและบัญชี 1.สมการบัญชี คือขอใด ก. สินทรัพย + หนี้สิน = สวนของเจาของ ข. สินทรัพย = สวนของเจาของ + หนี้สิน ค. สินทรัพย = หนี้สิน – สวนของเจาของ ง. สินทรัพย + สวนของเจาของ = หนี้สิน 2.สวนไดเสียของเจาของในสินทรัพยของบริษัทหนึ่ง ๆ คือ ข. สวนของผูถือหุน ก. สินทรัพยถาวร ค. คาใชจายในการดําเนินงาน ง. ทุนหุนสามัญ 3.ณ วันสิ้นงวดบัญชีปจจุบัน ยอดคงเหลือของบัญชีตาง ๆเปนดังนี้ เงินสด 150,000 บาท ลูกหนี้ 50,000 บาท หุนสามัญ 10,000 บาท กําไรสะสม 60,000 บาท หนี้สิน ณ วันสิ้นงวดเทากับเทาใด ก. 80,000 บาท ข. 130,000 บาท ค. 140,000 บาท ง. 190,000 บาท 4.บัญชีตาง ๆ ตอไปนี้ บัญชีใดมียอดคงเหลือดานเดบิต 1. สินคาคงเหลือ 2. คาเชา 3. ทุนเรือนหุน 4. คาเสื่อมราคาสะสม 5. ขาย 6. คาเชาจายลวงหนา ก. สินคาคงเหลือ ทุนเรือนหุน ขาย คาเชาจายลวงหนา ข. สินคาคงเหลือ คาเชา คาเชาจายลวงหนา ค. ทุนเรือนหุน คาเสื่อมราคาสะสม ขาย เจาหนี้ ง. คาเชา คาเสื่อมราคาสะสม เจาหนี้ 7. เจาหนี้ 5.ขอความในขอใดเปนขอความที่ถูกตองสําหรับระบบบัญชีเดี่ยว ก.คาใชจายคางจายจะหามาไดโดยการสอบถามเจาของ ตรวจดูใบเสร็จรับเงิน และบัญชีแยก ประเภทเจาหนี้ ข.การเปรียบเทียบทุนจะทําใหทราบถึงฐานะการเงินของกิจการได แตไมสามารถทําใหทราบวา กิจการมีรายไดและคาใชจายเทาใด
  • 22. ~ 22 ~ ค.งบดุลมักถูกเรียกวางบแสดงฐานะการเงิน สวนงบกําไรขาดทุนมักถูกเรียกวางบเปรียบเทียบทุน ง.สมุดเงินสด สมุดรายวัน และสมุดบัญชีแยกประเภทมีขอมูลไมเพียงพอตอการทํางบแสดง ฐานะการเงิน 6. เงินไดของรัฐบาลเกือบทั้งหมดเกิดจากเงินของราษฎร ฉะนั้นจึงสมควรที่ราษฎรควรจะตองรู เห็น หมายความถึงหลักการงบประมาณแผนดินตามขอใด ข. หลักประชาธิปไตย ก. หลักการคาดการณไกล ค. หลักดุลยภาพ ง. หลักยุติธรรม 7.การควบคุมงบประมาณทั้งรายไดและรายจายใหถูกตอง หมายความถึงหลักงบประมาณแผนดิน ในขอใด ก. หลักสมรรถภาพ ข. หลักประชาธิปไตย ค. หลักดุลยภาพ ง. หลักยุติธรรม 8.ประโยชนทางการบัญชี เกี่ยวกับการใชระบบเงินสดยอย ก.เพื่อสะดวกในการควบคุมและปองกันการทุจริตในกิจการที่มีการรับ– จายโดยผาน ธนาคาร ข.คาใชจายเล็ก ๆ นอย ๆ ไมอาจจะจายใหผูรับเปนเช็คได ตองใชระบบเงินสดยอย ค.สมุดเงินสดยอยมิใชสวนหนึ่งของระบบบัญชีคู ง.ขอ ก. และขอ ข. ถูกตอง 9.การเริ่มตั้งวงเงินสดยอย เหรัญญิกจะบันทึกรายการโดย ก. เดบิท เงินสดยอย xx เครดิต เงินสดหรือเงินฝากธนาคาร ค. เดบิท คาใชจายตาง ๆ xx เครดิต เงินสดยอย ข. เดบิท เงินสดหรือเงินฝากธนาคาร xx xx เครดิต เงินสดยอย xx ง. ผิดทุกขอ xx 10.การจายเงินสดยอย เมื่อผูรักษาเงินสดยอยจายคาใชจายเล็กๆ นอยๆ ผูรักษาเงินสดยอยจะ บันทึกรายการโดย ก.ทําใบสําคัญเงินสดยอยเพื่อเปนหลักฐานวาจายเงินใหใครเปนเงินเทาใดและรายจายประเภทใด ข.บันทึกความจําวาไดจายคาใชจายอะไรในสมุดเงินสดยอย ค.รวบรวมหลักฐานใบสําคัญเงินสดยอยไวจนกวาเงินสดยอยเกือบจะหมดเพื่อขอเบิกเพิ่มเติม ง.ถูกตองทุกขอ
  • 23. ~ 23 ~ สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่ ่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740