Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
มนุษย์กับการแสวงหาความจริงแ
ละความหมายของชีวิต
GEN311
กลุ่ม น้องเต่าชิกูเมะ
นักเรียนคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
By
1
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
1. นางสาวกุลนันท์ แซ่เฉิน [56130500006]
ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้
หนังสือเล่มนี้เป็นห...
2
3. นายกิตติจิต หลงคะเจ้า [56130500005]
ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้
 ทาให้รู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะ...
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité

Consultez-les par la suite

1 sur 21 Publicité

กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต

Télécharger pour lire hors ligne

มนุษย์กับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
GEN311 ETHICS IN SCIENCE-BASED SOCIETY
GEN311จริยศาสตร์ในฐานสังคมวิทยาศาสตร์

มนุษย์กับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
GEN311 ETHICS IN SCIENCE-BASED SOCIETY
GEN311จริยศาสตร์ในฐานสังคมวิทยาศาสตร์

Publicité
Publicité

Plus De Contenu Connexe

Diaporamas pour vous (20)

Les utilisateurs ont également aimé (20)

Publicité

Similaire à กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต (20)

Plus par freelance (20)

Publicité

Plus récents (20)

กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต

  1. 1. มนุษย์กับการแสวงหาความจริงแ ละความหมายของชีวิต GEN311 กลุ่ม น้องเต่าชิกูเมะ นักเรียนคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ By
  2. 2. 1 รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 1. นางสาวกุลนันท์ แซ่เฉิน [56130500006] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้ หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่รวบรวมปรัชญาและแนวคิดหลายหลายแง่มุม โดยหนังสือเล่มนี้จะแบ่งเป็นบทโดยแต่ละบทจะมีการตั้งคาถามขึ้นมาแล้วนาแนวคิ ด ห รื อ ป รั ช ญ า ม า ต อ บ ค า ถ า ม โดยในแต่ละหัวข้ออาจจะหลายๆปรัชญาที่มีแนวคิดไปในทางเดียวกับหรืออาจขัดแ ย้ ง กั น แต่ทุกๆปรัชญาล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นมาจากการมองเห็นความจริงจากการชีวิตของม นุ ษ ย์ แ ล้ ว น า ม าเป็ น แ น ว คิ ด ห รือ เห ตุ ผ ล เพื่ อ ม า เป็ น ข้ อ ส รุป ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ ไ ม่ ไ ด้ บ อ ก ว่ า สิ่ ง ใ ด ถู ก ห รื อ สิ่ ง ใ ด ผิ ด แต่จะพูดอธิบายในผู้อ่านได้คิดตามและวิเคราะห์ว่าเห็นด้วยหรือไม่ด้วยตัวเอง 2. นายปุณวัชร ปิ่นสุวรรณ [56130500042] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้ ได้รู้ถึงความสาคัญของการใช้ชีวิตและการทาเพื่อส่วนรวมว่าเรานั้นควรทา ประโยชน์เพื่อส่วนรวมบ้างมิใช่ให้ประโยชน์แก่ผู้อื่นอย่างเดียวแต่ให้ประโยชน์แก่ต นเองด้วยในแง่ที่ว่าเราใช้วิตให้มีความหมายรึยังได้เกิดสามารถหาคาตอบให้กับชีวิ ตได้รึยังว่าตนเองนั้นเกิดมาทาไม?หนังสือเรื่องนี้สอนผมหลายๆอย่างและแต่ละอย่า งสมารถนามาประยุกต์ใช้ได้จริงในการดารงชีวิตขึ้นอยู่กะว่าเราจะเอาแง่ในหนังสือม าประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
  3. 3. 2 3. นายกิตติจิต หลงคะเจ้า [56130500005] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้  ทาให้รู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด สามารถเลือกปฏิบัติในทาง ที่ถูกที่ควร  ทาให้รู้ทางดาเนินชีวิตทั้งในส่วนตัวและสังคม  ทาให้เข้าใจกฏความจริงของชีวิต เป็นสิ่งที่ชีวิตต้องการ ทาให้ชีวิตสมบูร ณ์ ก า ร ศึ ก ษ า จ ริ ย ธ ร ร ม จึ ง เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า ถึ ง ก ฏ ธรรมชาติให้รู้ว่าชีวิตที่แท้จริงคืออะไรต้องการอะไร  การประพฤติหลักจริยธรรมเป็นการพัฒนาสิ่งมีชีวิตให้สูงขึ้นเรียกว่า มีวัฒ นธรรมทาให้ชีวิตมนุษย์เป็นชีวิตที่ประเสริฐกว่าสัตว์ ถ้าขาดด้านจริยธรรม แล้วคนไม่ต่างจากสัตว์แต่อย่างใด  ทาให้รู้จักค่าของชีวิตว่า ค่าของชีวิตอยู่ที่ไหน ทาอย่างไรชีวิตจะมีค่าและ ก็เลือกทางที่ดีมีค่าชีวิตก็มีค่าตามที่ต้องการ 4. นายพงศกร ชุติมาสกุล [56130500043] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้  ได้รู้ประวัติความเป็นมา  ได้เห็นปรัชญาต่างๆ ของแต่ละบุคคล  ได้รู้หลักการทางวิทยาศาตร์และจริยศาสตร์  ทาให้รู้ และ สามารถนาไปปฎิบัติในชีวิตประจาวัน  ทาให้รู้ผิดชอบชั่วดี อะไรสมควรทา ไม่สมควรทา 5. นายกฤษฎา นาวาศรีพร [56130500088] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้ ทาให้เข้าใจถึงมนุษย์กับความคิดที่แตกต่างออกไปหลายแนวคิดแบ่งแยกเป็นก ลุ่มที่ได้มาจากการพิจารณาด้านความรู้ ความเป็นจริง สิ่งแวดล้อม ความเชื่อ ศาสนา หลายๆมุม ทาให้เราสามารถที่จะดาเนินชีวิตไปได้อย่างถูกต้องและแท้จริง
  4. 4. 3 6. นายอาทิตย์ จิตร์มงคลสุข [56130500101] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้ เป็ น ห นังสือที่ชี้ให้เห็น ถึงแนวท างการดาเนิ นชีวิต ของมนุ ษ ย์ ซึ่งสามารถเป็ นแนวท างให้เราเลือกปฏิบัติที่เห็นว่า ดี เห มาะสม ที่จะทาให้เราดาเนินชีวิตถูกต้องตามหลักจริยธรรม 7. นายณรงค์เดช นิยมาภา [56130500107] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้  ทาให้รู้จักแนวคิดต่างๆในการดารงชีวิต สิ่งไหนที่เข้ากับตัวเรา เราก็นาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์  ทาให้รู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด และสามารถเลือกปฏิบัติใน ทางที่ถูกและเหมาะสม  ทาให้รู้จักคุณค่าของชีวิตว่า ทาอย่างไรชีวิตถึงจะมีคุณค่า ถึงจะมีความสุข และอาจเลือกแนวทางปฎิบัติที่ดีให้กับตัวเองได้ 8. นายพงศกร เล็กพอใจ [56130500128] ความคิดเห็นทางจริยศาสตร์ต่อหนังสือเล่มนี้  อธิบายถึงลัทธิปรัชญาแบบต่างอย่างละเอียดและรอบคอบ  แสดงตัวอย่างที่เข้าใจได้ง่าย สามารถเชื่อมโยงแนวคิดได้ด้วยตนเอง  อธิบายถึงหลักการทางความคิดที่สามารถเห็นได้ในชีวิตประจาวัน  อธิบายถึงความรับผิดชอบต่อความคิดของตนเองฃ  ก า ร ใช้ วิธี ก า ร เขี ย น แ บ บ ชั ก จุ ง ให้ ผู้ อ่ า น ค ล้ อ ย ต า ม ทาให้เนื้อหาน่าสนใจยิ่งขึ้น
  5. 5. 4 CHAPTER 1 : มนุษย์คืออะไร ? ใ น บ ท นี้ จ ะ เ ก ริ่ น น า ว่ า เมื่อเราอธิบายมนุษย์โดยมองลึกลงไปมากกว่าศาสตร์อื่นๆเช่น วิทยาศาสตร์ ที่มองในเรื่องของสรีระหรือการทางานของอวัยวะต่างๆ โดยจะมองลึกลงไปโดย อัตยนะ (ปุณวัชร)ทฤษฎีสสารนิยม (Materialism) ทฤษฎีสสารนิยมหรือทฤษฎีวัตถุนิยม (Materialism) ได้แก่พวกที่ถือว่า ส ส า ร แ ล ะ ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ข อ ง ส ส า ร เท่ า นั้ น เป็ น ค ว า ม แ ท้ จ ริง จิตเป็นเพียงปรากฏการณ์ของสสาร ดังนั้น สรรพสิ่งในโลกล้วนแต่เป็นสสาร ทฤษ ฎีสสารนิยมยุคแรก ๆ อาจได้แก่แนวความคิดทางธรรมชาติ ที่เราเรียกว่าธรรมชาตินิยม เพ ราะถือว่า สสารเป็ นความแท้จริง ชีวิตคือพลังงานทางฟิสิกส์และเคมีที่ซับซ้อน ส่วนจิตคือปรากฏการณ์ทางสมอง สสารนิยม เชื่อว่าสสารเป็ นบ่อเกิดของโลกจักรวาล มนุ ษ ย์ มีร่างกายที่ปรากฏอยู่ประกอบด้วยกลไกต่าง ๆ และทางานได้ดุจเครื่องจักรกล ส่วนจิตนั้นเป็นสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง ลักษณะต่าง ๆ ของจิต ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึก นึกคิด ความเข้าใจ เป็นผลมาจากการรวมตัวของวัตถุหรือสสาร เ มื่ อ เ ป็ น เ ช่ น นี้ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ส ส า ร นิ ย ม จึงเป็ นความพยายามที่จะหาคาตอบเกี่ยวกับเรื่องสสารโดยเฉพาะ แนวความคิดเกี่ยวกับสสารนิยม จึงแพร่หลายมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ และมีทฤษฎีสสารนิยมเกิดขึ้นมากมายที่สาคัญที่สุดได้แก่ ทฤษฎีจักรกลนิยม (Mechanicism) ทฤษฎีจักรกลนิยม (Mechanicism) ก่อตั้งโดย โธมัส ฮ็อบส์ (Thomas Hobbes) นั ก ส ส า ร นิ ย ม ช า ว อั ง ก ฤ ษ ถื อ ว่ า ชีวิต แ ล ะค ว าม คิด ทุ ก อ ย่างเกิด ขึ้น ต าม ก ฎ ก ล ศ าส ต ร์ที่ ต าย ตัว โลกเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่ตายตัวประกอบด้วยสสารและพลังงาน ดังนั้น สสารจึงเป็นความแท้จริง ส่วนจิตคือการทาหน้าที่ของสมอง
  6. 6. 5 (กุลนันท์)ทฤษฎีจิตนิยม (Idealism) ทฤษฎีจิตนิยม (Idealism) ได้แก่พวกที่ถือว่า จิตเท่านั้นเป็นความแท้จริง สสารเป็นเพียงปรากฏการณ์ของจิตเท่านั้น ชาวจิตนิยมเชื่อว่า จิต เป็นอมตะ ไม่สูญสลาย ร่างกายของมนุษย์เป็นเพียงปรากฏการณ์ชั่วขณะหนึ่งของจิต เป็ น ที่ อ าศัย ชั่ว ค ราว ข อ งจิต เมื่ อ ร่างก าย ดับ ล ง จิต ก็ ยังค งอ ยู่ ไม่แตกดับไปตามร่างกาย พวกจิตนิยม พยายามที่จะหาคาตอบให้กับตัวเองว่า จิตคืออะไร มีบ่อเกิดมาจากอะไร มีแหล่งที่มาอย่างไร มีธรรมชาติเป็ นอย่างไร มีจุดมุ่งหมายอย่างไร เป็นการศึกษาโลกในลักษณ ะที่เป็นนามธรรม เพราะพวกเขาเชื่อว่า จิตเท่านั้นที่เป็นความแท้จริง สสารเป็นแต่เพียงสิ่งที่ปรากฏ ห รือ เป็ น ป ราก ฏ ก ารณ์ ข อ งจิต ไม่ ส าม ารถ ด ารงอ ยู่ชั่วก าล น าน หรือสสารจะต้องมีการแตกสลาย แต่จิตหรือวิญญาณไม่มีการแตกสลาย เป็นอมตะ ดั ง นั้ น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง จิ ต ห รือ วิ ญ ญ า ณ จึง มี ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆ ตามทัศนะหรือแนวความคิดของนักปรัชญาแต่ละท่าน ช า ว จิ ต นิ ย ม บ า ง ท่ า น เชื่ อ ว่ า เมื่ อ ร่ า ง ก า ย แ ต ก ดั บ จิตจะกลับไปสู่แหล่งดั้งเดิม กล่าวคือจิตจะกลับเข้าไปสู่จิตสัมบูรณ์ ซึ่ ง เ ป็ น บ่ อ เ กิ ด ข อ ง ส ร ร พ สิ่ ง ด้ ว ย ลั ก ษ ณ ะ ดั ง ก ล่ า ว นี้ จึงมีนักปรัชญ าตั้งลัทธิหรือทฤษฎีขึ้นมาใช้อธิบายอีกทฤษฎีหนึ่งว่า “ทฤษฎีวิญญาณเป็นเนื้อสาร” คาว่า “วิญญาณเป็นเนื้อสาร” ก็หมายถึงวิญญาณเป็นอมตะ คงที่ ไม่สูญสลาย ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่ว่าร่างกายจะสูญสลายหรือดับสูญไปก็ตาม แน วคิด เกี่ ย วกับ จิต วิญ ญ าณ นี้ ได้มีก ารวิวัฒ น าก ารม าเรื่อ ย ๆ ตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ จนกระทั่งถึงปัจจุบัน ส่วนลักษณะแนวคิดนั้น จะเหมือนกันบ้าง คล้ายคลึงหรือแตกต่างกันบ้าง เช่น
  7. 7. 6 เพลโต้ (Plato) นักปรัชญาเมธีที่สาคัญของกรีกโบราณ ท่านถือว่า วิญญาณเป็นเนื้อสารทางจิต ทาหน้าที่คิด รู้สึกและจงใจ วิญญาณส่วนที่ทาหน้าที่คิด เป็นอมตะ เพราะเป็นส่วนที่เป็นเหตุผล เป็นส่วนแห่งสติปัญญา จะไม่สูญสลายไปในเมื่อร่างกายสูญสลายไป เพราะไม่ถูกสร้างขึ้น ส่ ว น วิ ญ ญ า ณ ที่ ท า ห น้ า ที่ รู้ สึ ก แ ล ะ จ ง ใ จ เป็ น ก า ร ท า ห น้ า ที่ ร ะ ดั บ ต่ า เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ร่ า ง ก า ย โ ด ย ต ร ง ดังนั้นเมื่อร่างกายสูญสลายไป ความรู้สึกและความจงใจใด ๆ ก็หมดไปด้วย เพราะถือว่าเป็นกิจกรรมของร่างกายโดยเฉพาะ เ พ ล โ ต้ ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็ น นั ก จิ ต นิ ย ม ที่ เ ด่ น ดั ง ท่านได้พยายามอธิบายหรือค้นหาแหล่งที่เกิดของจิตวิญญาณ โดยท่านสรุปว่า วิญญาณมนุษย์ มีบ่อเกิดจากวิญญาณโลก (World Soul)วิญญาณโลกนี้ เป็นโลกแห่งแบบ (World of Form) หรือโลกแห่งความคิด (World of Ideas) ซึ่ งมี ม า ก่ อ น ร่างก า ย ดั งนั้ น วิญ ญ าณ จึงส าคั ญ ก ว่ าร่า งก า ย เป็นตัวบังคับกิจกรรมของร่างกาย อ ริส โต เติ้ ล (Aristotle) ถือ ว่า วิญ ญ าณ เป็ น เนื้ อ ส ารท างจิต ไม่ใช่สิ่งที่ถูกกักขังอยู่ในร่างกาย เป็นแต่เพียงรูปแบบที่ทาหน้าที่จัดระบบร่างกาย เมื่อเป็นเช่นนี้ระหว่างรูปแบบกับเนื้อสารจึงมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างแน่นแ ฟ้ น จะอย่างไรก็ตาม อริสโตเติ้ลก็ได้สรุปหน้ าที่ของวิญ ญ าณ ไว้ 2 อย่างเหมือนเพลโต้คือ หน้าที่ระดับต่า ได้ แ ก่ ก ารรับ รู้ ก ารจา ก ารคิด แล ะก ารจงใจ เป็นสิ่งที่ไม่เป็นอมตะ เมื่อร่างกายแตกดับ ก็จะสูญสลายไปพร้อมกับร่างกาย หน้าที่ระดับสูง ได้แก่ ก ารคิด ห าเห ตุ ผ ล เป็ น สิ่งที่ เป็ น อ ม ต ะ เพราะเป็นเนื้อแท้ของวิญญาณ เดส์การ์ตส์ (Descartes) บิดาแห่งปรัชญาสมัยใหม่ เป็นนักปรัชญาทวินิยม เห็นว่าวิญญาณเป็นเนื้อสาร โดยแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ 1. เนื้อสารสัมบูรณ์ ได้แก่พระเจ้า (God)
  8. 8. 7 2. เนื้อสารสัมพัทธ์ ได้แก่สสารและวิญญาณ สสารมีลักษณะกินที่ อยู่กับที่และย่อมเป็นไปตามกฎกลศาสตร์ ส่วนวิญญาณนั้น เคลื่อนไหว ไม่กินที่ มีความรู้สึกนึกคิด และจงใจ สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(ปุณวั ชร) แ น ว คิ ด ข อ ง ส ส า ร นิ ย ม คื อ ยึ ด ถื อ แ ต่ สิ่ ง ที่ จั บ ต้ อ ง ไ ด้ แ ล ะ รั บ รู้ ไ ด้ ด้ ว ย ด้ ว ย ป ร ะ ส า ท สั ม ผั ส ทั้ ง 5 ในบางครั้งแนวคิดนี้อาจจะเป็นประโยน์ต่อเราในการที่จะเตือนให้เรามีสติอย่าคิดอะ ไรไปก่อน ในสิ่งที่ยังไม่มาถึงทาให้เราใช้ชีวิตอยู่กับปัจจุบันมากขึ้น หรือการที่ไม่หลงงมงายในสิ่งเหนือธรรมชาติมากเกินไป สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(กุลนั นท์) แนวคิดของปรัชญานี้ลึกซึ้งมากว่าสิ่งที่เราสัมผัสได้ เช่นความรู้สึกหรือ สิ่งที่ เห นื อ ธ รรม ช าติเช่ น ส ว รรค์ น รก เป็ น แ น ว คิด ที่ ท าให้ ค น มีจิต ใจ อ่ อ น โย น ก ลัว ต่ อ บ าป ตั ว อ ย่ างใน ห นั งสือ ที่ ย ก ม าเช่ น เมื่ อ ใน วัน ห นึ่ งมีค น ส่ งจด ห ม าย ม าห าเราแล้วเขีย น ข้อ ค วาม ว่า คุณแม่ของคุณเสียชีวิตแล้วด้วยโรคมะเร็ง คุรเสียใจคุณร้องไห้และเป็นทุกข์ ถ า ม ว่ า ก ร ะ ด า ษ แ ผ่ น นั้ น ซึ่ ง เ ป็ น แ ค่ ส ส า ร ช นิ ด ห นึ่ ง ท า ไ ม ถึ ง ส า ม า ร ถ ท า ให้ คุ ณ เกิ ด ค ว า ม รู้สึ ก ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย หรือมีผ ลกระท บ ต่อความรู้สึกและจิต ใจของคนเรา เพ ราะฉะนั้น มนุษย์ถึงเป็นมากกว่าสสาร CHAPTER 2 : มนุษย์เป็นอย่างไร (ณรงค์เดช)ในบทที่ 2มนุษย์เป็นอย่างไร มีนักปรัชญา 3กลุ่มได้แสดงความคิดเห็นเอาไว้ แบ่งได้3กลุ่ม 1. ชาวนิยัตินิยม 2ชาวอิสระนิยม 3.ชาวทางสายกลาง
  9. 9. 8 1. ชาวนิยัตินิยม เชื่อว่ามนุษย์ไม่เคยอิสระ ชาวนิยัตินิยม มักจะสังเกตต่อสิ่งต่างๆรอบกาย ทั้งที่มี ชีวิตและไม่มีชีวิต ย ก ตัว อ ย่ าง จาก สิ่งชีวิต ใน คืน ที่ ่ น ต ก ห นั ก ใน ภ าค ใต้ ทาให้เขื่อนที่กักเก็บน้าแตก ทาให้เกิดน้าท่วมใหญ่ขึ้น ชาวนิยัตินิยมมักคิดว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต้องมีสาเหตุไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เช่น ทาไมเขื่อนแตก เพราะน้ามีปริมาณมาก ทาไมน้ามีปริมาณมาก เพราะ่นตกหนัก ทาไม่นตกหนัก เพราะเกิดมรสุม และต่อมา สิ่งที่ไม่มีชีวิต ชาวนิยัตินิยมมักจะมองเห็นตรงกันว่า ส า เห ตุ แ ล ะ เงื่ อ น ไ ข อั น เป็ น ที่ ม า ข อ ง ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ เดิ ม มันก็มักจะเกิดเหตุการณ์เช่นเดียวกันเสมอ ในมุมมองของนักจิตวิทยาเชื่อว่า ชาวนิยัตินิยมจะเสนอความคิดว่า มนุษย์ไม่เคยกระทาอะไรอย่างอสิระ มักอ้างเหตุผลหลัก ทั้ง 3 1.เหตุผลด้านสรีรวิทยา คือ สิ่งที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอยู่ตลอดเวลา และในการตอบสนอง สิ่งเร้านั้นมีกฎเกณฑ์แน่นอน เช่น เมื่อไม่มีอาหารในท้อง ก็จะหิว 2.เ ห ตุ ผ ล ด้ า น จิ ต วิ ท ย า ย ก ตั ว อ ย่ า ง คื อ เมื่อท้องหิวเราไม่สามารถสั่งท้องไม่ให้หิวได้ เราไม่มีทางอื่นที่จะระงับความคิดได้ นอกจากทาความกฎเกณฑ์ของมัน คือ กินนั้นเอง 3.เ ห ตุ ผ ล ด้ า น สั ง ค ม วิ ท ย า มักเชื่อว่ามนุษย์ที่เกิดและเติบโตท่ามกลางระบบการอมรมและขัดเกลาทางสังคมแล ะวัฒนธรรมแบบไหน มันจะมีลักษณะเป็นแบบนั้น เช่น เด็กไทยที่เติบโตที่ usa เมื่อกลับมาเมืองไทย เค้ามักจะกินอาหารไทยไม่เป็น ไม่เข้าใจวัฒนธรรมบางอย่าง หน้าตาเป็นเพียงคนไทย แต่ความคิด รสนิยม เป็นแบบคน usa 2. อิสรนิยม มนุษย์ในบางระดับเป็นอิสระ
  10. 10. 9 ชาวอิสระนิยมเชื่อว่ามนุษย์มีอิสระเต็มที่ และ จงใจ หรือ เลือกทา ด้วยตนเองไม่ได้อยู่ภายใต้อิทธิผลใดๆ หรือ แรงชักนาของอะไรทั้งสิ้น ย ก ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น ชายหนุ่มคนหนึ่งกาลังยืนรอรถเมล์เพื่อไปทางานให้ทันเวลา เพราะ ถูกเจ้านายตาหนิว่ามาทางานสายบ่อยครั้งแล้ว จึงกลัวว่าจะถูกตาหนิอีก ขณะรอรถ เขาได้พ บ ห ญิ งชราเป็ น ลม ล้มลงไป ไม่มีใค รสน ใจห ญิ งชราเรย ในเว ลาฉับพลันชายหนุ่มตัดสินใจอุ้มหญิงชราขึ้นแท็กซี่พาไปส่งที่โรงพยาบาล ท า ใ ห้ ใ ห้ เ ค้ า ม า ท า ง า น ส า ย แ ล ะ ถู ก หั ก เ งิ น เ ดื อ น ในการตัดสินใจครั้งนี้ไม่มีใครบังคับเข้าทั้งสิ้น แต่มโนธรรมในใจเค้าเป็นอิสระ และกระตุ้นให้ตัวเองออกมาจากความนึกคิด ถึ งแ ต่ ป ระโย ช น์ ส่ ว น ตัว เพื่ อ ท าค ว าม ดี แ ล ะเข าก็ ได้ ท าส าเร็จ การตัดสินใจครั้งนี้เป็นอิสระ และปราศจากความคิดเชิงผลประโยชน์ใดๆทั้งสิ้น (อาทิตย์)สรุปทางสายกลางระหว่างสองความคิดที่ขัดแย้ง นิยัตินิยม กับ อิสรนิยมมีทัศนะที่ขัดแย้งกันในเรื่องของเสรีภาพของมนุษย์ แล้วมีนักปรัชญาอีกกลุ่มหนึ่งเรียกว่าชาวท างสายกลางมีทัศนะที่ประนีประนอมว่าจ ริงๆ แล้วช าวนิ ยัตินิ ย ม กับ อิส รนิ ยม ไม่ได้มีทัศ น ะที่ ขัด แย้งกัน แต่มิได้มีการวิเคราะห์ปัญหากันอย่างรอบคอบ ชาวนิยัตินิยมนั้นมีทัศนะว่าทุกอย่างที่มนุษย์แสดงออกนั้นถูกกาหนดด้วยปัจจัยอย่า ง ใ ด อ ย่ า ง ห นึ่ ง น อ ก ตั ว ม นุ ษ ย์ ซึ่งมนุษย์ตามความคิดของนักปรัชญากลุ่มนี้คือหุ่นยนต์ที่ถูกกาหนดให้แสดงพฤติก รรมออกมาอย่างที่เห็นด้วยปัจจัยหลักๆสามประการคือ ปัจจัยด้านสรีรวิทยา ปัจจัยด้านจิตวิทยา และปัจจัยด้านสังคมวิทยา นั ก ป รั ช ญ า ก ลุ่ ม ที่ ส อ ง คื อ ช า ว อิ ส ร นิ ย ม เ ห็ น ว่ า แ ม้ ใน ห ล าย เรื่อ งที่ ม นุ ษ ย์ ดู เหมื อ น จ ะถู ก โด ย ปัจ จัย แ ว ด ล้ อ ม แต่ในหลายเรื่องสาคัญ ในชีวิตมนุ ษย์เป็ นอิสระสามารถเลือกเองได้ เรื่องที่ชาวอิสรนิยมคิดว่ามนุษย์เป็นอิสระคือ ปรากฏการณ์ทางศีลธรรม และการสร้างสรรค์งานทางศิลปะและงานสร้างสรรค์ทางสติปัญญา
  11. 11. 10 นักปรัชญากลุ่มที่สามคือชาวสายกลางมีทัศนะที่ชี้ให้เห็นว่าทั้ง2่่ ายนั้นยังไ ม่ ไ ด้ วิ เ ค ร า ะ ห์ ปั ญ ห า กั น อ ย่ า ง ร อ บ ค อ บ ชาวเดินสายกลางเชื่อว่าการที่มนุษย์ถูกกาหนดโดยปัจจัยแวดล้อมไม่ขัดกับการที่ม นุ ษ ย์ จ ะมีเส รีภ าพ คื อ ก ารที่ ม นุ ษ ย์ ถู ก ปัจ จัย แ ว ด ล้ อ ม ก าห น ด มนุษย์ยังสามารถเลือกที่จะจัดการไปตามวิถีทางที่เขาเห็นว่าเหมาะสม ก่อนที่ปัจจัยแวดล้อมจะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเหล่านั้นของมนุ ษย์ มนุษย์ได้เลือกที่จะจัดการกับปัจจัยเหล่านั้นอย่างเสรีด้วยตัวของเขาเองแล้ว มนุษย์จึงสามารถมีเสรีภาพได้ท่ามกลางสภาวะที่ถูกกาหนดโดยปัจจัยแวดล้อม ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น การที่่นตกแล้วส่งผลให้เราเปียกเป็นภาวะที่เราหลีกเลี่ยงไม่ได้แต่่นก็เป็นเพียงแ ค่ข้อมูลที่ส่งผลให้เราเปียกแล้วนามาพิจารณาว่าจะจัดการกับมันอย่างไร บางคนเลือกที่จะกางร่ม บางคนเลือกที่จะเดินต่อไปโดยไม่สนใจว่าจะเปียก บ างค น อ าจ ย ก ก ระด าษ ห นั งสือ พิ ม พ์ ที่ ติ ด มือ ม าขึ้น ปิ ด ศี รษ ะ คือมนุษย์ก็สามารถมีเสรีภาพได้แม้จะถูกกาหนดโดยปัจจัยแวดล้อมก็ตาม สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(ณรง ค์เดช) ใน บ ท นี้ จ ะ พู ด ถึ ง อิ ส ร ภ า พ ข อ ง ม นุ ษ ย์ เป็ น ส่ ว น ให ญ่ มีทั้งแนวคิดความคิดที่ว่า มนุษย์ไม่เคยอิสระมนุษย์ในบางระดับเป็นอิสระ และ มนุษย์สายกลาง จะเชื่อมโยงกับแนวคิดทางด้าน จริยศาสตร์ทั้งด้านแนวความคิด และการดารงชีวิตในสังคม มาปรับใช้กับชีวิตของเราให้เกิดความสุข ไม่สร้างความทุกข์ให้ตัวเอง ใ น ด้ า น ค ว า ม คิ ด เราสามารถนาหลักความคิดของทุกๆระดับมาปรับใช้กับตัวเองเราเอง เพราะ ปัจจุบันเราต้องเจอคนมักหน้าหลายตาที่ไม่รู้ว่าใครเป็นอาไรยั งไง หรือ เจอกับเหตุการณ์ ต่างๆนาๆ เรานาหลักความคิดนี้ มาใช้ในการพิจารณาต่างๆ การตัดสินใจทาอาไรต่างๆได้ โดยิ่งที่เราทาไปนั้น เราควรทาให้เกิดประโยชน์ แ ล ะ ไ ม่ เบี ย ด เบี ย น ผู้ อื่ น ให้ เดื อ ด ร้อ น ใน ด้ า น ก า ร ด า ร ง ชี วิต เราส าม ารถ น าห ลัก ค วาม คิด ข อ งทุ ก ๆ ระ ดับ ม าป รับ ใช้เช่ น กัน เพื่อให้เข้ากลับตัวเองเพื่อให้สามารถดารงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข
  12. 12. 11 ไม่ว่าจะเจอเหตุการณ์ใดก็ตาม เหมือนเรามีหลักความคิดอยู่ คิดในแง่ดี แค่นี้เราก็จะสามารถดารงชีวิตได้ในทุกๆสภาวะต่างๆอย่างอยู่รอด สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(อาทิ ตย์) สาระสาคัญคือ มนุษย์สามารถมีเสรีภาพในคิดหรือ กระทาสิ่งต่างๆ ต าม ที่ ต น เอ งต้ อ งก าร แ ม้ จ ะถู ก ปัจ จัย แ ว ด ล้ อ ม ก าห น ด ก็ ต าม ตามที่ชาวสายกลางได้ชี้ให้เห็น ซึ่งในชีวิตประจาวันเราได้คิดได้กระทาสิ่งต่างๆ อย่างเสรี แต่ต้องมีความเหมาะสม ไม่ทาให้คนอื่นเดือดร้อนเสียหาย CHAPTER 3 : (กฤษฎา)สรุปบทที่ 3(ส่วนแรก) ปัญญานิยม มีนักปรัชญาที่สาคัญในกลุ่มนี้ 3 คน ดังนี้ โ ส เ ค ร ตี ส ถือว่าปัญญาอันได้แก่ความรู้นั้นคือคุณธรรมที่ทาให้มนุษย์เข้าถึงความจริงอันสูงสุด ได้ เพลโต้ เขาเห็นว่าวิญญาณของมนุษย์มี 3 ภาค คือ ภาคที่อยู่ต่าที่สุด คือ ความอยาก ความหิว การสืบพันธุ์ มีทั้งในพืช สัตว์ คน ภาคกลางสูงขึ้นมา คือ ความกล้าหาญ เกียรติยศ และชื่อเสียง
  13. 13. 12 ส่ ว น ภ า ค ที่ สู ง ที่ สุ ด คื อ ภ า ค ปั ญ ญ า อั น เป็ น ลั ก ษ ณ ะ เฉ พ า ะ ที่ มี อ ยู่ ใ น ตั ว ม นุ ษ ย์ เท่ า นั้ น สามารถทาให้มนุษย์เข้าถึงโลกแบบอันเป็นโลกแห่งสัจธรรมได้ อ ริ ส โ ต เ ติ้ ล เข า พิ จ า ร ณ า ถึ ง ค ว า ม จ ริ ง ที่ มี อ ยู่ ใ น โ ล ก มองเห็นคุณสมบัติที่แตกต่างกันระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต เช่น การกินอาหาร การเคลื่อนไหว การขับถ่าย การสืบพันธุ์ การเจริญเติบโต แนวคิด กลุ่มนี้ แม้ความคิดในรายละเอียดจะมีความแต กต่างกัน แต่แนวคิดหลักก็เหมือนกันคือถือว่า ปัญญา หรือ ความรู้ดีที่สุด ปัญญา คือ ความสามารถในการใช้เหตุผลเพื่อแสวงหาความจริง ปัญญาทาให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ ปัญญาเป็นลักษณะเฉพาะของมนุษย์ที่ทาให้มนุษย์บรรลุถึงสัจธรรมได้ วิมุตินิยม นักปรัชญา กลุ่มนี้ คือ พวกซินนิค (cynic) สโตอิก (stoic) ทางศาสนา เช่น คริสต์ศาสนา พุทธศาสนา แนวคิด คือ กลุ่มที่เน้นความหลุดพ้นจากกิเลส เน้นความสงบทางจิต แนวคิดนี้มีลักษณะประชดสังคมที่บริบูรณ์ด้วยความสุข หลีกหนี กฎหมาย ระเบียบประเพณี โดยถือว่าตนเองเป็นพลเมืองโลก ไม่ได้มีอุดมการณ์ที่แน่นอน เพียงแต่เบื่อหน่ายสังคม และกระทาตนแบบไม่สนใจแยแสต่อคานินทาของคนอื่น สรุปแนวคิดวิมุตินิยม ค วาม ก ลัวผิด ห วัง ซึ่งท าให้ เกิด ค วาม ทุ ก ข์ท รม าน ท าให้ ก ลุ่ม นี้ เน้ น ที่ ก า ร ค ว บ คุ ม ต น เอ ง คื อ ก า ร ท า ใ จ ใ ห้ ว า ง เฉ ย ไม่ ค ว รท าใจให้ ผู ก พั น กับ สิ่งภ าย น อ ก คือ เงิน อ าน าจ จะได้พบกับสิ่งที่มีค่าที่สุด ได้แก่ ความสงบใจ
  14. 14. 13 (พงศกร)สรุป มนุษย์กับการแสวงหา ปัญญานิยม : ค่าของชีวิตอยู่ที่การใช้ปัญญา - พ อ ใ จ กั บ ก า ร ค้ น ค ว้ า ห า ค ว า ม รู้ ใ ส่ ตั ว เอ ง เส ม อ เพราะความรู้ของชาวปัญญานิยมคือความสุขที่สุดในชีวิต - รู้ != เข้าใจ รู้ -> ไ ด้ ม า จ า ก ก า ร อ่ า น ต า ร า ร่ า เ รี ย น หรือการคิดเชิงระบบมีเหตุมีผล เ ข้ า ใ จ -> ไ ด้ ม า จ า ก ชี วิ ต จ ริ ง ประสบการณ์ที่ได้สะสมมาจนสุดท้ายประสบการณ์จะสอนให้เข้าใจ ชีวิต อัตถิภาวนิยม : จงเลือกและรับผิดชอบ เป็ น คิ ด ที่ อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง อ สุ ข นิ ย ม กั บ สุ ข นิ ย ม ที่ จ ะ เ น้ น ก า ร มี อิ ส ร ะ ใ น ก า ร เ ลื อ ก ข อ ง ม นุ ษ ย์ เ ป็ น ห ลั ก แต่ก็มีสิ่งหนึ่งที่ขัดขว้างการมีเสรีภาพของมนุ ษย์คือจารีตประเพณี จารีตประเพณีเกิดขึ้นมาจากการมีความคิดเห็นร่วมกันของคนในสังคมนั้นๆ ว่าวิ่งไหนดีสิ่งไหนไม่ดี เพื่อที่มนุษย์จะได้อยู่ร่วมกันได้อย่างสะดวกยิ่งขึ้น บทบาทของจารีตประเพณีคือการผูกร้อยผู้คนในสังคมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หล่อหลอมคนที่แตกต่างกันในด้านพื้นเพ ชาติกาเนิน ความคิด ความเชื่อ การศึกษา เป็นต้นให้เป็นเอกภาพ หากมีคนไม่ทาตามก็จะเป็นคนที่แตกแถว ม อ ง แ ล้ ว ดู ไ ม่ ดี แ ล้ ว ก็ จ ะ ถู ก สั ง ค ม ป ร ะ น า ม จึงเป็นสิ่งที่บีบรัดชีวิตมนุษย์ให้มีเสรีภาพน้อยลง เสรีภาพ : แก่นของความเป็นมนุษย์ มนุษย์มีสิ่งที่อยากได้2สิ่งคือ 1. อ ย า ก มี ( สิ่ ง ข อ ง ) คื อ การแสวงหาสิ่งของภายนอกตัวมาครอบครองและสามารถครอ บครองสิ่งเหล่านั้นได้อย่างสมปราถนาก็จะทาให้มีความสุข 2. อยากเป็น คือ การแสวงหาชื่อเสียง ยศถาบรรดาศักดิ์อานาจ เมื่อได้มาครอบครองสมความปราถนาก็จะมีความสุข
  15. 15. 14 ใ น แ ง่ ข อ ง ช า ว อั ต ถิ ภ า ว นิ ย ม คิ ด ว่ า ก า ร มี การครอบครองสิ่งของวัตถุต่างๆ ไม่ใช่แก่นแท้ของความเป็นมนุษย์ แ ล ะ ก า ร อ ย า ก เ ป็ น ต่ า ง ๆ ก็เปรียบเสมือนการใส่หัวโขนที่คนในสังคมสมมติขึ้นมาเท่านั้น ไม่ใช่แก่นแท้ของมนุษย์เช่นกัน สิ่งที่ ช าว อัต ถิ ภ าว นิ ย ม ต้ อ งก ารที่ สุ ด คื อ เส รีภ า พ เสรีภาพในการเลือกใช้ชีวิต หากขาดไปก็ไม่ควรเรียกว่ามนุษย์ “การที่มนุษย์สามารถเลือกได้เสมอไม่ว่าจะตกอยู่ในสถานการณ์เช่นใดก็ตา ม ท า ใ ห้ ม นุ ษ ย์ พิ เศ ษ ก ว่ า สิ่ ง อื่ น เช่ น พื ช แ ล ะ สั ต ว์ ที่ทาตามสันชาติญาณเท่านั้น ไม่สามารถเลือกเองได้” เสรีภาพ : กับการหลอกตัวเอง การที่ทาตัวเข้ากับคนส่วนใหญ่ ให้เข้ากับวัฒ นธรรม จา รี ต ป ร ะ เ พ ณี ข อ ง สั ง ค ม แม้จะท าให้ตัวเองรู้สึกป ลอดภัยเห มือนกับ น กที่อยู่ในกรง แ ล ะ ไ ม่ ต้ อ ง รั บ ผิ ด ช อ บ ชี วิ ต ข อ ง ต น เ อ ง เ ต็ ม ที่ แต่สิ่งนี้ก็ทาให้เราสูญเสียสิ่งที่มีค่าที่สุดในชีวิตคือเสรีภาพและการเลือกไป เสรีภาพ : ความรับผิดชอบ ก า ร ก ร ะ ท า ทุ ก อ ย่ า ง ข อ ง ม นู ษ ย์ คื อ ก า ร เลื อ ก แม้การไม่ตัดสินใจก็ถือเป็ นการเลือกในรูปแบบหนึ่ง เพราะฉนั้น เมื่อกล่าวถึงที่สุดแล้วในสถ าน การณ์ ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เราเท่านั้นคือผู้รับผิดชอบต่อการตัดใจของตัวเองที่เกิดขึ้น สรุป อัตถิภาวนิยม ป รั ช ญ ญ า วั ติ ภ า ว นิ ย ม คื อ ร ะ บ บ ค ว า ม คิ ด ที่ เน้ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ไ ด้ ม า ซึ่ ง วิ ถี ชี วิ ต ม าก ก ว่ า วิ ถี ชี วิ ต ที่ ไ ด้ ม า จ า ก จ า รี ต ป ร ะ เ พ ณี ค น เ ร า อ า จ เ ลื อ ก วิ ถี ชี วิ ต ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น แต่ ห ากว่าวิถีชีวิต เห ล่านั้นได้มาจากการเลือกด้วยตัวเอง ชาวอัตถิภาวนิยมก็คงยอมรับวิถีชีวิตดังกล่าวนั้นได้เสมอ
  16. 16. 15 สรุปท้ายบท มนุษย์ควรใช้ชีวิตอย่างไรจึงจะถือว่าเหมาะสมและคุ้นค่ากับการที่ได้มาเป็น มนุษย์ มีนักปรัชญญาให้คาตอบโดยแบ่งเป็น 2กลุ่มหลักคือ กลุ่มที่แสวงหาความสุข กับ กลุ่มที่แสวงหาสิ่งอื่นที่ไม่ใช่ความสุข สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(กฤษ ฎา) สุขนิยม เน้นความสุขที่กายดีที่สุด } วัตถุนิยม ปัญญานิยม เน้นปัญญาดีที่สุด จิตนิยม วิมุตินิยม เน้นความหลุดพ้นจากกิเลส อัตถิภาวนิยม เน้นที่เสรีภาพในตัวมนุษย์ ทวินิยม มนุษย์นิยม มองรอบด้าน เน้นทั้งกายและจิต สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(พงศ กร) สาระสาคัญของบทนี้จะกล่าวถึงแนวคิดชีวิตของมนุษย์แบบอัตถิภาวนิยมคื อ แ น ว คิ ด ข อ ง อั ต ถิ ภ า ว นิ ย ม เป็ น ก า ร มุ่ ง ส่ ง เส ริม ม นุ ษ ย์ ใ ห้ มี ลั ก ษ ณ ะ ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แ น ว คิ ด ท า ง ป รั ช ญ า คื อ ก ารส อ น ให้ ผู้ เรีย น เป็ น ตั ว ข อ งตั ว เอ ง มีเส รีภ าพ ใน ก ารเลือ ก มี ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ห รื อ ตั ด สิ น ใ จ ใ ด ๆ ด้ ว ย ต น เ อ ง ยอมรับถึงความสามารถในการตัดสินใจต่อสิ่งต่างๆและทั้งผลอันจะเกิดตามมาด้วย ตัวของเขาเองด้วย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่ดีหรือร้าย ส่ ว น ท า ง พุ ท ธ ศ า ส น า อ า จ ก ล่ า ว ไ ด้ ว่ า พระพุทธเจ้าทรงเป็นพระศาสดาองค์แรกก็ว่าได้ ที่มีบุคลิกภาพแบบอัตถิภาวนิยม เพราะพระองค์ไม่ทรงพอพระทัยกับสภาพสังคมที่เป็นอยู่ในขณะนั้น สังคมที่มีพราหมณ์และศาสนาพราหมณ์คอยกาหนดความเป็นไปของประชาชน
  17. 17. 16 ชีวิตของผู้คนต้องล่องลอยไปตามกระแสของสังคม )่ากชีวิตไว้กับพิธีกรรมต่าง ๆ( ขึ้นอยู่กับอานาจที่มองไม่เห็น)พระพรหม พระศิวะ และพระวิษณุ( เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง ไ ร้ ศั ก ดิ์ ศ รี ข อ ง ม นุ ษ ย์)ร ะ บ บ ว ร ร ณ ะ( แต่ละอย่างล้วนสร้างความแปลกแยกในชีวิตมนุษย์ทั้งสิ้น พระพุทธเจ้าทรงสถาปนาพุทธศาสนาขึ้นมา เพื่อย้าถึงศักดิ์ศรีของมนุษย์ เป็นศาสนาของมนุษย์ โดยมนุษย์ และเพื่อมนุษย์ จึงนับเป็นท่าทีแบบอัตถิภาวนิยม ที่เกิดขึ้นก่อนลัทธิอัตถิภาวนิยมถึง 2,500 ปี ก ล่ า ว โ ด ย ส รุ ป ลั ท ธิ อั ต ถิ ภ า ว นิ ย ม ส อ น ใ ห้ ม นุ ษ ย์ แ ส ว ง ห า ต น เ อ ง เ ช่ น กั บ พุ ท ธ ศ า ส น า แต่ ก ารยึด ถือ จริย ศ าส ต ร์แบ บ อัต ถิภ าวนิ ย ม เพี ย งใน บ างแง่มุ ม อาจนาไปสู่การพอกพูนขยายอัตตาตนเองขึ้นตามการรู้จักตนเอง แม้ จัง ปอล ซาร์ต จะเคยกล่าวว่า การใช้เสรีภาพต้องควบคู่ความรับผิดชอบก็ตาม ส่ ว น ก า ร รู้ จั ก ต น เ อ ง ข อ ง พุ ท ธ ศ า ส น า เป็นการรู้จักตนเองตามสภาพเป็นจริงของสภาวธรรม เพื่อลดอัตตาของตนเอง หรือเพื่อเอาชนะจิตใจของตนเองแล้วจะไม่เป็นทาสของตนเองอีกต่อไป เพราะเกิดความเข้าใจตามความเป็นจริงว่าธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา ก า ร รู้ จั ก ต น เ อ ง นั้ น เ ป็ น สิ่ ง ที่ ดี ผ ล เสี ย จ ะ เกิ ด ขึ้ น ก็ ต ร ง ที่ เป็ น ก า ร รู้ จั ก ต น เอ ง เพื่ อ อ ะ ไ ร เพื่ อ ล ด ห รือ เพื่ อ พ อ ก พู น อัต ต าข อ งต น เอ ง ห าก เป็ น ข้ อ ห ลัง การรู้จักตนเองลักษณะนี้ย่อมเบียดเบียนทั้งตนเองและผู้อื่นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ บทส่งท้าย (กิตติจิต)บทส่งท้ายนี้ยังคงกล่าวถึง การดาเนินชีวิตของมนุษย์ ไปตามความคิดในแนวทางต่างๆโดยไม่มีวันสิ้นสุดทั้งในทางวิทยาศาสตร์หรือความ เชื่อจะมีการคิดสิ่งใหม่ๆอยู่เรื่อยๆไปตามกาลเวลาและวิวัฒนาการทางความคิดเหล่ านี้ก็จะมีกันต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ในเมื่อทุกความเชื่อล้วนแล้วแต่มีจุดอ่อนในตัว ซึ่งไม่สามารถตอบให้เป็นที่น่าพอใจได้ แต่ก็ไม่แน่ว่าในอนาคต สิ่งที่เราเรียกร้องกัน อาจจะไม่ใช่ความเชื่อมั่นในศาสนา ค่านิยม หรือศาสตร์ใดศาสตร์หนึ่ง แต่คือการเรียกร้องให้ทุกคนตระหนักว่าทุกความคิดไม่มีใครเหนือใครไม่มีใครผิดไม่
  18. 18. 17 มี ใ ค ร ถู ก ใ ค ร จ ะ เ ชื่ อ ถื อ อ ะ ไ ร ก็ ว่ า ไ ป ต า ม ร ส นิ ย ม แต่ส่วนมากปัจจัยในความคิดของมนุษย์ การแสวงหาในด้านต่างๆ จะมีอยู่ 3ทาง คื อ ก าร แ ส ว งห า ใน ท าง ป รัช ญ า ศ า ส น า แ ล ะวิท ย าศ า ส ต ร์ ท า ง ป รัช ญ า จ ะ มี ก า ร ย ก ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง ช า ว ก รีก ใน ส มั ย ก่ อ น ที่ มีก ารใช้ค ว าม คิด ส อ ด ค ล้อ งกับ ค วาม จริง ก ารใช้จิน ต น าก าร การสร้้างสรรค์ผลงาน สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุดจนถึงปัจจุบัน ใ น ท า ง ศ า ส น า จ ะ ย ก ตั ว อ ย่ า ง ถึ ง ใ น ยุ ค ที่ ศ า ส น า ค ริ ส ต์ ค ร อ บ ง า โ ล ก ต ะ วั น ต ก เ อ า ไ ว้ ทั้ ง ห ม ด ในยุคนั้นชีวิตของมนุษย์จะถูกตีกรอปให้คิดอยู่ในความเชื่อของศาสนาทั้งหมด แ ต่ สิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย์ ยึ ด ติ ด ที่ เ รี ย ก ว่ า ศ า ส น า นั้ น แ ท้ จ ริ ง ก็ เ กิ ด จ า ก ค ว า ม คิ ด ข อ ง ม นุ ษ ย์ เ อ ง ทั้ ง ห ม ด และได้ทาต่อๆกันมาจนเป็นประเพณีจนไปถึงความเชื่อ แล้วก็มาถึงวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์นั้นเกิดจากความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์เองทั้งสิ้นแต่มันก็ทาให้ม นุ ษ ย์ ไ ด้ ม อ ง เห็ น บ า ง อ ย่ า ง ที่ แ ท้ จ ริง แ ล ะ ส า ม า ร ถ พิ สู จ น์ ไ ด้ แนวคิดทางด้านนี้ล้วนเกิดมาจากความดื้อรั้นที่ไม่ยอมรับความเชื่อมคาสอนหรือตา ราที่มีและได้พยายามค้นหาความจริงจนพิสูจน์ออกมาให้เห็นและหาเหตุผลมาทาให้ เราเข้าใจได้ บุคคลประเภทนี้เราจะเรียกพวกเขาว่า นักวิทยาศาสตร์ แล ะท างใน ก ารคิด ทั้ง 3อ ย่ างนี้ ก็ อ ยู่ กับ เราม าจน ถึงปัจจุบัน แ ล ะ ยั ง มี ที ท่ า ที่ จ ะ ไ ม่ สิ้ น สุ ด ล เ ป็ น อ นั น ต์ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า มนุษย์เพียรพยายามมาจลอดประวัติศาสตร์ของเขาที่เขาจะดารงตัวเขาและเผ่าพัน ธ์ของเขาเอาไว้ แต่ยังอย่างไรก็ตาม “มนุ ษ ย์ก็ยังเป็ นสิ่งชั่วคราว ในขณะที่เวลาและกากาศ คือสิ่งนิรันดร์” (พ งศกร)สาเหตุสาคัญ ที่ทาให้ปรัชญ ายุคกลางเสื่อมลง คือ ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ มีนักวิทยาศาสตร์จานวนหนึ่งเชื่อว่า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ม่ ขั ด แ ย้ ง กั บ ค ริ ส ต์ ศ า ส น า ตรงกันข้ามวิทยาศาสตร์นั่นเองคือสิ่งเปิดเผยให้มนุษย์เห็นความยิ่งใหญ่ของพระเจ้า ปั ญ ห า ที่ ช า ว ก รี ก ส น ใ จ ก ลั บ ก ล า ย เ ป็ น ปั ญ ห า ห ลั ก ที่ ว งก ารวิท ย าศ าส ต ร์ส น ใจจ ะแ ส ว งห าค าต อ บ ค าถ าม นั้น คือ อะไรคือหน่วยมูลฐานที่สรรพสิ่งในจักรวาลนี้ก่อตัวขึ้น ทัศนะดั้งเดิมอีกประการ ข อ งป รัช ญ าก รีก โบ ราณ คื อ ห า ก เรา ต้ อ งก ารเข้ าใจ จัก รว า ล เ ร า ต้ อ ง เ ข้ า ใ จ ก ฎ ธ ร ร ม ช า ติ ที่ ค ว บ คุ ม จั ก ร ว า ล อ ยู่
  19. 19. 18 ต่ อ ม า ค ว า ม ่ั น อั น ง ด ง า ม ค่ อ ย ๆ จ ะ ริ บ ห รี่ ล ง จนวันนี้แทบไม่มีใครในวงการวิทยาศาสตร์ที่ทางานด้วยความรู้สึกว่า เ ข า ก า ลั ง ค้ น ห า ค ว า ม จ ริ ง ย่ อ ย ๆ เพื่อสะสมให้กลายเป็นความรู้ใหญ่เกี่ยวกับภาพของจักรวาลทั้งหมดในอนาคต หัวใจของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในสมัยนี้คือ วิทยาศาสตร์เป็นความรู้ อาจผิดได้ วิทยาศาสตร์ไม่ใช่สัจจะอันไม่มีวันเปลี่ยนแปลงแต่มนุษย์ก็คือมนุษย์ไม่มีอะไรมาจา กัดความอยากรู้อยากเห็นของมนุษย์ได้ นักวิทยาศาสตร์จานวนหนึ่งคิดว่า เมื่อเดินไปถึงจุกหนึ่งแล้วพบว่า เราไม่สามารถไปต่อได้ด้วยอายตนะ นั่น ก็ ไม่ ใช่ เห ตุ ผ ล ที่ เราจ ะต้ อ งล้ ม เลิก ก ารแ ส ว งห าค ว าม จ ริง เรายังส าม ารถ เดิน ท างต่ อ ไป ได้ ด้ว ย จิน ต น าก าร แ ล ะ เห ตุ ผ ล แ ล ะ นี่ ก็ คื อ ที่ ม า ข อ ง ท ฤ ษ ฎี วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น ส มั ย นี้ ที่เต็มไปด้วยการคาดคะเนในสิ่งที่อยู่พ้นการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส พุทธศาสนาเชื่อว่า ความรู้ทุกอย่างเริ่มต้นที่มนุษย์ ดังนั้นในการแสวงหาความรู้ สิ่งที่ เราต้ อ งต ระ ห นั ก อ ยู่ เส ม อ ก็ คื อ ธ รรม ช าติ ข อ งตั ว เรา เอ ง ม นุ ษ ย์ เป็ น สิ่งที่ ขัด แ ย้ งใน ตั ว เอ ง ถ้ าสังเก ต ให้ ดี เ ราจ ะพ บ ว่ า ภ า ย ใ น ตั ว เ ร า จ ะ มี ส อ ง สิ่ ง ซึ่ ง แ ต ก ต่ า ง กั น ค น ล ะ ขั้ ว บ างเรื่อ งเกี่ ย ว เนื่ อ งกับ ก ารส ร้างส รรค์ อ ารย ธ รรม ข อ งม นุ ษ ย์ การแสวงหาความรู้โดยอายตนะ แนวความคิดนี้ครอบงาวงการวิทยาศาสตร์มานาน จ น ม นุ ษ ย์ พ บ ว่ า อายตนะที่ตนเองเชื่อว่าคือที่มาของความรู้อันน่าเชื่อถือที่สุดมีข้อจากัด ไม่สามารถก้าวไปในบางมิติของความจริงเกี่ยวกับจักรวาล ถึงตรงนี้ ม นุ ษ ย์ ไ ม่ ค ว ร ดิ้ น ร น ไ ป เกิ น ก ว่ า สิ่ ง ที่ ธ ร ร ม ช า ติ อ ณุ ญ า ติ ให้ ศาสนาแบบเทวนิยมอาจกาเนิดจากความสงสัยต่อปรากฎการณ์ต่างๆในธรรมชาติ ศาสนาแบบเทวนิยม จึงเป็นศาสนาแห่งเหตุผลโดยแท้ ชีวิตมนุษย์นี้แสนสั้นไม่มีใครปฎิเสธได้ มนุษย์เกิดมาพร้อมกับทุกข์ ความทุ กข์คือป รากฎ การณ์ เฉ พ าะห น้ าที่กาลังรุมเร้าชีวิต เราอยู่ ทุกข์ที่ว่านี้เปรียบได้กับลูกธนูที่ยิงมาเสียบเข้าที่ตัวเรา สาหรับพุทธศาสนา สิ่งที่ถูกต้องสาหรับกรณีที่ผ่านมาคือ รีบถอนลูกธนูออก แล้วเยียวยาให้หาย เพื่อที่จะมีชีวิตที่รื่นรมย์
  20. 20. 19 สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(กิตติ จิต) สาระสาคัญของบทสุดท้ายนี้จะกล่าวถึงในด้านของความคิดของมนุษย์ ว่าความคิดของมนุษย์นั้นจะมีมาเรื่อยๆจนถึงปัจจุบันแบบไม่มีที่สิ้นสุด และปัจจัยที่ทาให้เกิดความคิดเหล่านั้นก็มาจาก 3ปัจจัย ดังนี้1. ปรัชญา 2. ศาสนา 3. วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น ท า ง ป รั ญ ช า นั้ น จะเชื่อมโยงกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ในด้านของการสร้างสรรค์ศิลปะมาเผื่อความ สุ ข ข อ ง ตั ว เ อ ง แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม สุ ข กั บ ผู้ อื่ น เพราะในสมัยนั้นยังไม่ได้มีการนาศิลปะมาใช้แลกเปลี่ยนเหมือนทุกวันนี้ ในทางศาสนานั้นจะตรงตัวอยู่แล้วเพราะว่ามนุษย์สร้างศาสนามาไว้เพื่อยึดเหนี่ยวจิ ตใจให้ทาแต่กรรมดีเพราะทุกศาสนานั้นล้วนแต่สอนให้ทุกคนเป็นคนดี และในด้านสุดท้ายคือทางวิทยาศาสตร์ มนุษย์นาแนวคิดทางวิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อ ดารงเผ่าพันธ์ให้อยู่รอดหรือใช้เพื่อไม่ให้เผ่าพันธ์มนุษย์สูญพันธ์ไปนั่นเองเช่นทุกวั นนี้ มีการทาเครื่องที่ช่วยเตือนภัยจากแผ่นดินไหวและสึนามิ สร้างมาเพื่อ อบยพผู้คนออกจากพื้นที่ที่อันตรายเพื่อรักษาชีวิตไว้นั่นเอง สรุปความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับเเนวคิดทางจริยศาสตร์(พงศ กร) ส า เห ตุ ส า คั ญ ที่ ท า ใ ห้ ป รัช ญ า ยุ ค ก ล า ง เสื่ อ ม ล ง คื อ ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ มีนักวิทยาศาสตร์จานวนหนึ่งเชื่อว่า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ม่ ขั ด แ ย้ ง กั บ ค ริ ส ต์ ศ า ส น า ตรงกันข้ามวิทยาศาสตร์นั่นเองคือสิ่งเปิดเผยให้มนุษย์เห็นความยิ่งใหญ่ของพระเจ้า ทั้งสองอย่างนี้อาจจะมีความขัดแย้งกันในตัวของแต่ละบุคคลเองอยู่ที่ใครจะยอมรับ ความจริงได้มากแค่ไหน
  21. 21. 20 บทบาทและวิธีทางานของสมาชิกในกลุ่ม วิธีการทางานของกลุ่มเราคือ แจกแจงหนังสือให้เพื่อนไปอ่านคนละครึ่งบทเพราะในหนังสือมีทั้งหมดประมานสี่หั วข้อรวมบทส่งท้าย และให้เพื่อนๆเข้าใจในสิ่งที่ตัวเองได้รับไปและมารายงานหน้าชั้นเรียนพร้อมตอบ คาถามข้อสงสัยของเพื่อนในห้อง โดยให้ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ตบ้านเพื่อนนามาอธิบายเพิ่มเติมและนา มาสรุปเป็นรายงานเล่มนี้ส่งอาจารย์

×