SlideShare a Scribd company logo
1 of 86
Download to read offline
เตรียมสู่ครูผู้ช่วย
สอบครูดอทคอม www.sobkroo.com
หลักสูตรฯคะแนนเต็ม 500 คะแนน
ภาค ก. ความรอบรู้ ความสามารถทั่วไป และความสามารถที่ใช้เฉพาะ
ตําแหน่ง (350 คะแนน)
ความรอบรู้ (75 คะแนน)
 ความสามารถทั่วไป ( 75 คะแนน)
 ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตําแหน่ง (200 คะแนน)
- วิชาการศึกษา (100 คะแนน)
- วิชาเอกหรือเฉพาะวุฒิ (100 คะแนน)
ภาค ข ความเหมาะสมกับวิชาชีพ (150 คะแนน)
 วิชาชีพครู โดยสอบข้อเขียน (100 คะแนน)
สอบสัมภาษณ์ (50 คะแนน)
วิชาชีพครู
ความรอบรู้
ขั้นตอนการนําเสนอ
วิชาการศึกษา
ข้อสอบ
วันแรกการอบรมฯ
วันที่สองการอบรมฯ
ความสามารถทั่วไป วิชาเอก และ
การสัมภาษณ์ จะแนะนํา
ความรอบรู้
 สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน
-รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
- ความเคลื่อนไหวทางสังคม การศึกษา เศรษฐกิจและการเมือง
 นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
- นโยบายของรัฐบาล (นายสมัคร สุนรเวช)
- นโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล ของหน่วยงาน
 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น
วิชาชีพครู
 เจตคติต่อวิชาชีพครู
 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพครู
 คุณธรรม จริยธรรมครู
 วินัยและการรักษาวินัย
 มนุษย์สัมพันธ์และการปรับตัว
วิชาชีพครู
 การทํางานร่วมกับผู้อื่น
 ความคิดสร้างสรรค์ต่อวิชาชีพ
 การจัดการความรู้
 ความเป็นพลเมืองดี
 การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
- ตราไว้มีผล 24 สิงหาคม 2550
- มีการออกเสียงลงประชามติ(ประชาชนเสียงข้างมากเห็นชอบ )
- ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติสนองพระบรมราชโองการ
- มี 15 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 309 มาตรา
หมวด1 บททั่วไป
- รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ
- ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้
- พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข ทรงใช้อํานาจนั้นทางรัฐสภา
คณะรัฐมนตรี และศาล
หมวด2 พระมหากษัตริย์
- องคมนตรี มีสิบเก้าคน ประธานองคมนตรี คนหนึ่งและองคมนตรีอื่นอีก
ไม่เกินสิบแปดคน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2550
บทเฉพาะกาล
สาระสําคัญที่ควรรู้ของ รธน.พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญ2550 มุ่งแก้ปัญหาโดยดําเนินการ 4 เรื่อง
1. คุ้มครอง ส่งเสริม ขยายสิทธิ์ เสรีภาพประชาชน
2. ลดการผูกขาดอํานาจรัฐและขจัดการใช้อํานาจอย่างไม่เป็นธรรม
3. ทําให้การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรม จริยธรรม
4. การทําให้ระบบตรวจสอบมีความเข้มแข็งและทํางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
สาระสําคัญที่ควรรู้ของ รธน.พุทธศักราช 2550
สิทธิของประชาชนทางการศึกษา
• ประชาชนทั่วไปรับการศึกษาฟรี 12 ปี
• ผู้ยากไร้ ผู้พิการ ทุพลภาพ ผู้อยู่ในสภาวะยากลําบากได้รับการ
สนับสนุนให้ได้รับการศึกษา
• การศึกษาองค์กรวิชาชีพ เอกชน การศึกษาทางเลือก การเรียนรู้
ตนเอง การเรียนรู้ตลอดชีวิต(รัฐต้องคุ้มครอง)
สาระสําคัญที่ควรรู้ของ รธน.พุทธศักราช 2550
หน้าที่ของประชาชนชาวไทย
• พิทักษ์ รักษาชาติ ศาสนา กษัตรย์ การปกครองประชาธิปไตย
• ป้ องกันประเทศ รักษาประโยชน์ชาติ
• เสียภาษีอากร รับการศึกษา ปฏิบัติตามกฎหมาย
• ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง รับราชการทหาร ช่วยเหลือปกป้ องภัยพิบัติ
• สืบสานศิลปภูมิปัญญา อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
สาระสําคัญที่ควรรู้ของ รธน.พุทธศักราช 2550
หน้าที่ของข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง เจ้าหน้าที่รัฐ
• ดําเนินงานตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ของส่วนรวม
• อํานวยความสะดวก ให้บริการประชาชน
• การปฏิบัติหน้าที่ต่อประชาชนต้องวางตัวเป็นกลางทางการเมือง
• หากละเลยไม่ปฏิบัติ ประชาชนขอให้ข้าราชการหรือผู้บังคับ
บัญชาข้าราชการนั้นชี้แจ้งเหตุผล และให้ปฏิบัติตามกฎหมาย
สาระสําคัญที่ควรรู้ของ รธน.พุทธศักราช 2550
แนวนโยบายด้านการศึกษา (ม.80 )
- คุ้มครอง พัฒนาเด็กและเยาวชน อบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย
-พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท
- จัดให้มีแผนการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายพัฒนาการศึกษาของชาติ
- พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
- ปลูกฝังนักเรียนให้มีจิตสํานึก มีระเบียบวินัย ยึดมั่นประชาธิปไตย
- กระจายอํานาจให้อปท.ชุมชน องค์กรศาสนา เอกชนจัด ส่วนร่วมจัดกศ.
สาระสําคัญที่ควรรู้ของ รธน.พุทธศักราช 2550
รัฐสภา ประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา
• ผู้แทนราษฏร 480 คน
- แบ่งเขตเลือกตั้ง 400 คน
- แบบสัดส่วน 80 คน
• สมาชิกวุฒิสภา 150 คน
- เลือกตั้ง จังหวัดละ 1 คน ( 76 คน)
- สรรหา 74 คน
สาระสําคัญที่ควรรู้ของ รธน.พุทธศักราช 2550
บุคคลที่สามารถเสนอกฎหมาย (ร่างพรบ.)
• คณะรัฐมนตรี - ส.ส. 20 คน
• ศาล องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
• ประชาชนผู้มีสิทิ์เลือกตั้ง 1หมื่นคน
คณะรัฐมนตรี (ไม่เกิน 36 คน) บริหารราชการแผ่นดิน
• นายกรัฐมนตรี(เป็น ส.ส. เป็นได้ไม่เกิน 8 ปี)
• รมต.อื่น ไม่เกิน 35 คน
สาระสําคัญที่ควรรู้ของ รธน.พุทธศักราช 2550
ศาล
• ศาลรัฐธรรมนูญ ( 9 คน) พิจารณาข้อขัดแย้ง กฎหมาย รธน.
การขัดแย้งในอํานาจของรัฐสภา ครม. องค์กรตามรธน.
• ศาลยุติธรรม (ศาลชั้นต้น อุทธรณ์ ฏีกา) พิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง
• ศาลปกครอง (ชั้นต้น ชั้นสูงสุด ชั้นอุทธรณ์มีก็ได้) พิจารณาคดีทางการ
ปกครอง
• ศาลทหาร พิจารณาพิพากาคดีอาญาผู้ทําผิดเป็นบุคคลในอํานาจศาลทหาร
องค์กรตามรธน. มีองค์กรอิสระ และองค์กรอื่น
•องค์กรอิสระตามรธน. (4 องค์กร)
- คณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต.) จํานวน 5 คน วาระ 7 ปี
- ผู้ตรวจการแผ่นดิน จํานวน 3 คน วาระ 6 ปี
- ปปช. จํานวน 9 คน วาระ 9 ปี
- คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จํานวน 7 คน วาะ 6 ปี
• องค์กรอื่นตามรธน.
- องค์กรอัยการ - คณะกก.สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จํานวน 7 คน วาระ 6 ปี
- สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การตรวจสอบอํานาจรัฐ
• การตรวจสอบทรัพย์สิน
นายก รมต. สส. สว. ข้าราชการการเมือง ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น
• ห้ามการกระทําที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์
ไม่ดํารงตําแหน่ง ไม่แทรกแซงก้าวก่าย ไม่รับผลประโยชน์ นายก รมต.ไม่ถือหุ้น
• การถอดถอนออกจากตําแหน่ง (โดยวุฒิสภา)
กรณี รวยผิดปกติ ผิดต่อตําแหน่ง จงใจใช้อํานาจขัดกม. ผิดมฐ.จริยธรรมอย่างร้ายแรง
• การดําเนินคดีอาญากับผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง(รํ่ารวย ทุจริต)
สาระสําคัญที่ควรรู้ของ รธน. พุทธศักราช 2550
ประมวลจริยธรรม(มาตรฐานทางจริยธรรม)
• ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง
(ผิดร้ายแรง ปปช.พิจารณาเสนอให้ถอดถอนออกจากตําแหน่ง )
• ข้าราชการ (หากผิดเป็นการทําผิดวินัย)
•เจ้าหน้าที่ของรัฐ (หากผิดเป็นการทําผิดวินัย)
* การสรรหา แต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนตําแหน่ง เงินเดือน ลงโทษ ต้องดําเนินการตามระบบ
คุณธรรม คํานึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลด้วย
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
•มีอิสระในการกําหนดนโยบายและบริหาร
• มีสิทธิ์จัดการศึกษาอบรม ฝึกอาชีพ ตามความเหมาะสมต้องการ
•มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอบรมของรัฐ คํานึงถึงมาตรฐาน
ระบบการศึกษาของชาติ
• มีอํานาจหน้าที่ในการส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
* ให้มีสภาท้องถิ่น (สมาชิกสภามาจากเลือกตั้ง) คณะผู้บริหารท้องถิ่น ผู้บริหาร
ท้องถิ่น (มาจากการเลือกตั้งจากประชาชนหรือสภาเห็นชอบ)
* ประชาชนเห็นว่าไม่เหมาะสมลงคะแนนถอดถอนพ้นจากตําแหน่งได้
สาระสําคัญที่ควรรู้ของ รธน. พุทธศักราช 2550
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ โดย
• คณะรัฐมนตรี
• สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร (จํานวนต้อง 1ใน 5 สส.ที่มี)
• สมาชิกวุฒิสภา (จํานวนต้อง 1ใน 5 สว.ที่มี)
• ประชาชนผู้มีสิทิ์เลือกตั้ง (จํานวน 5 หมื่นรายชื่อ)
* ญัตติที่ขอแก้ไข จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองไม่ได้ (ม.2) จะเปลี่ยนแปลง
รูปของรัฐไม่ได้ (ม.1 ม. 3)
กฎหมายประกอบรธน. เกี่ยวกับการเลือกตั้ง
• พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.
2550
• พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550
• พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2550
* ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2550 ที่
ผ่านมาและมีผลบังคับใช้ในวันที่ 8 ตุลาคม 2550
กฎหมายประกอบรธน. เกี่ยวกับการเลือกตั้ง
• พ.ร.ฏ.ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป
พ.ศ. 2550
-สาระสําคัญ ให้มีการเลือกตั้ง ส.ส. ทั่วไป ในวันที่ 23 ธันวาคม 2550
* ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2550 ที่ผ่าน
มาและมีผลบังคับใช้ในวันที่ 25 ตุลาคม 2550
* เหตุผล ม.296 รธน 50 ให้เลือกตั้ง ส.ส. ให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน
นับแต่กฎหมายประกอบรธน.2550 ม.296 มีผล (พรบ. การเลือกตั้ง
ส.ส. สว. มีผล 8 ตุลาคม 2550)
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2550
• ให้ กกต.จัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป ส.ส.
- ส.ส. เขต จํานวน 400 คน 157 เขตเลือกตั้ง(ทําเป็นประกาศ)
- เขตเลือกตั้งแบบสัดส่วนเป็นกลุ่มจังหวัด 8 กลุ่มๆละ10 คน(ประกาศ)
• กําหนดวันรับสมัครและวันเลือกตั้ง
- 7-11 พ.ย รับสมัคร สส.สัดส่วน - 12-16 พ.ย. รับสมัคร สส.เขต
- 22 ต.ค. - 22 พ.ย. ยื่นคําขอ - 15-16 ธ.ค. การลงคะแนนนอกเขต จ.
- เลือกตั้งทั่วไป 23 ธันวาคม 2550
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ฉบับที่1-9 (2504-2549)
• ลักษณะแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ
– เป็นแผนระยะปานกลาง(3-5 ปี) ช่วงเวลาเป็นปีงบประมาณ
– เป็นเครื่องมือในการบริหารประเทศ (ของทุกภาคส่วน)
แผนบริหารราชการแผ่นดิน (เป็นเครื่องมือรัฐ)
– แต่ละแผนมีจุดเน้นที่แตกต่างกัน
- เป็นแผนยุทธศาสตร์หลักในเชิงวิสัยทัศน์และ พันธกิจ
ในการพัฒนาประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ฉบับที่ 1-9 (2504-2549)
• ฉบับที่ 1 (2504-2509) เป็นแผน 6 ปี เน้นเฉพาะด้านเศรษฐกิจ
• ฉบับที่ 2 (2510-2514) ให้ความสําคัญด้านเศรษฐกิจ
• ฉบับที่ 3 (2515-2519) พูดเรื่องสังคม ประชากร
• ฉบับที่ 4 (2520-2524) พูดเรื่องทรัพยากรธรรมชาติ สวล.
• ฉบับที่ 5 (2525-2529) มีนโยบายพัฒนาประเทศแนวใหม่ .
• ฉบับที่ 6 (2530-2534) ให้ความสําคัญการวางแผนล่างขึ้นบน.
• ฉบับที่ 7 (2535-2539) ให้ความสําคัญเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืน
• ฉบับที่ 8 (2540-2544) คนเป็นศูนย์กลางพัฒนา พัฒนาสมดุล
• ฉบับที่ 9 (2545-2549) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคน สมดุล
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10
1. เจ้าภาพ หน่วยงานรับผิดชอบ
2. วิสัยทัศน์ แนวคิดพื้นฐาน
3. กรอบการเชื่อมโยง
4. กรอบความคิดหลักการ
5. วัตถุประสงค์ ยุทธสาตร์
ปีงบประมาณ พ.ศ.
2550-2554
หน่วยงานหลัก
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
วิสัยทัศน์ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
Green and happiness society
แนวคิดพื้นฐาน คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ให้ความสําคัญกับ กระบวนการส่วนร่วมทุกภาคส่วน
การสร้างภูมิคุ้มกัน สร้างมูลค่าเพิ่ม
ต้นทุนสังคม การขับเคลื่อน การติดตาม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน
ในตัวที่ดี
ทางสายกลาง
พอประมาณ
เงื่อนไขความรู้
(รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
สมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน
ชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม
นําไปสู่
เงื่อนไขคุณธรรม
(ซื่อสัตย์สุจริต สติปัญญา ขยันอดทน แบ่งปัน)
กรอบการจัดทํา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10
1. นโยบายรัฐบาล
2. แผนบริหารราชการแผ่นดิน
3. บริบทของสังคมไทย
4. ต้นทุนของประเทศไทย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10
1) เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้คู่คุณธรรม
2) เพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชน
3) เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตสู่การเพิ่มคุณค่าของสินค้าและบริการ
บนฐานความรู้และนวัตกรรม
4) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน และระบบบริหารความเสี่ยงให้กับภาคการเงิน
การคลัง พลังงาน ตลาดปัจจัยการผลิต ตลาดแรงงาน และการลงทุน
5) เพื่อสร้างระบบการแข่งขันด้านการค้าและ การลงทุนให้เป็นธรรม
และคํานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศ
6) เพื่อเสริมสร้างความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและ
คุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ
7) เพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศสู่ภาครัฐ
ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน
7 วัตถุประสงค์
คน
สังคม
ชุมชน
เศรษฐกิจ
สวล.
การบริหารจัดการ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10
 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและ
การเรียนรู้
 ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของ
ประเทศ
 ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน
 ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความ
มั่นคงของฐานทรัพยากรและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ
5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา
 ปีการศึกษาเฉลี่ย 10 ปี
 คนไทยทุกคนได้รับการพัฒนารอบด้าน
 อายุคาดหมายเฉลี่ยของคนไทยสูงขึ้นเป็น 80 ปี
 ลดสัดส่วนผู้อยู่ใต้เส้นความยากจนลงเหลือร้อยละ 4
 ทุกชุมชนมีแผนชุมชนแบบมีส่วนร่วม ปัญหาอาชญากรรม
ยาเสพติด และขยายโอกาสการเข้าถึงแหล่งทุน
เป้าหมายด้านการพัฒนาคน (สิ้นแผน10)
พัฒนาชุมชน
เศรษฐกิจ ความมั่นคง สวล. ธรรมาภิบาล
คน
สรุปแผนฯ 10 (พ.ศ.2550-2554)
สังคมอยู่เย็น
เป็ นสุขร่วมกัน
พัฒนา
แบบองค์รวม
เศรษฐกิจ
พอเพียง
ยึดคนเป็ น
ศูนย์กลาง
สร้างโอกาส
การเรียน
รู้คู่คุณธรรม O 1
สร้างระบบแข่งขัน
ให้เป็ นธรรม O 4 สร้างความอุดม
สมบูรณ์ของ
ทรัพยากรกร
O 7
สร้างหลัก
ธรรมาภิบาล
O 6
สร้างภูมิคุ้มกัน
O 5
ปรับโครงสร้าง
การผลิต O 3
เพิ่มศักยภาพชุมชน
เชื่อมโยงเครือข่าย
การเรียน
รู้คู่คุณธรรมO 2
S 1
พัฒนาคุณภาพ
คนและสังคม
S 2
สร้างความ
เข้มแข็ง
ชุมชน
S 3
ปรับโครงสร้าง
เศรษฐกิจ
S 4
ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
S 5
ธรรมาภิบาล
ความเคลื่อนไหว(พลวัตร)
 การเมือง การปกครอง
 สังคม
 เศรษฐกิจ
 การศึกษา
อื่นๆ
www. นสพ วิทยุ
นโยบายรัฐบาล
(ครม.นายสมัคร สุนทรเวช)
ที่แถลงต่อรัฐสภา
18 กุมภาพันธ์ 2551
นโยบายรัฐบาล
(นายสมัคร สุนทรเวช )ที่แถลงต่อรัฐสภา เมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2551)
® หลักแนวทางการดําเนินงานของรัฐบาล
1. การสร้างความสมานฉันท์ให้แก่คน ในชาติ
2. การสร้างความสมดุลและภูมิคุ้มกันให้แก่เศรษฐกิจ
® เป้ าหมายสูงสุดของนโยบาย
ประโยชน์สุขของประเทศชาติและประชาชนชาวไทย
นโยบายรัฐบาลของรัฐบาล
1. นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดําเนินการในปีแรก
2. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
3. นโยบายเศรษฐกิจ
4. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
8 ด้าน
นโยบายรัฐบาลของรัฐบาล
6. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
7. นโยบายความมั่นคงของรัฐ
8. นโยบายการบริหารจัดการที่ดี
8 ด้าน
1. นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดําเนินการในปี
แรก ประกอบด้วย 19 ประการ
• สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย
• แก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
• เร่งรัดแก้ไขปัญหายาเสพติดและปราบปรามผู้มีอิทธิพล
• แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและผู้ ประกอบการ
• เพิ่มศักยภาพของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
• จัดสรรงบประมาณตามขนาดประชากร ( SML)
• สานต่อโครงการธนาคารประชาชน
• สนับสนุนสินเชื่อแก่ผู้ประกอบการ
• โครงการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดําเนินการในปีแรก
ประกอบด้วย 19 ประการ
• พักหนี้ของเกษตรกรรายย่อยและยากจน
• สร้างระบบประกันความเสี่ยงให้เกษตรกร
• ขยายบทบาทของศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix-it Center)
• สร้างโอกาสให้ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัยอย่างทั่วถึง
• เร่งรัดการลงทุนที่สําคัญของประเทศ
• ดําเนินมาตรการลดผลกระทบจากราคาพลังงาน
• ฟื้นความเชื่อมั่นด้านการลงทุนและส่งเสริมการท่องเที่ยว
• วางระบบการถือครองที่ดินและกําหนดแนวเขต
• ขยายพื้นที่ชลประทานและเพิ่มประสิทธิภาพระบบชลประทาน
• เร่งรัดมาตรการและโครงการเพื่อบรรเทาผลกระทบจากวิกฤติโลกร้อน
2.นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
• นโยบายการศึกษา
• นโยบายแรงงาน
• นโยบายการพัฒนาสุขภาพของประชาชน
• นโยบายศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
• นโยบายความมั่นคงของชีวิตและสังคม
นโยบายด้านการศึกษา
• ยกระดับคุณภาพการศึกษา
• พัฒนาหลักสูตร ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครู
• ส่งเสริมการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการศึกษา
• ให้บุคคลมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา 12 ปี
• ผลิตและพัฒนากําลังคนด้านอาชีวะ
• ขยายบทบาทของระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่าน
องค์กรต่าง ๆ
3.นโยบายเศรษฐกิจ
• นโยบายการเงินการคลัง
เร่งขยายตัวเศรษฐกิจ รักษาวินัยการเงินการคลัง
ส่งเสริมการออม ดูแลการเคลื่อนย้ายเงิน
ปรับปรุงตลาดทุน พัฒนารัฐวิสาหกิจ
• นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม
ภาคการท่องเที่ยวและบริการ การตลาด การค้า และการลงทุน
โครงสร้างพื้นฐานการขนส่ง นโยบายพลังงาน
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
• อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
• บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยมีส่วนร่วม
• อนุรักษ์ทรัพยากรดินและป่ าไม้
• ป้ องกันและพัฒนาระบบข้อมูลและเตือนภัยจากภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ
• การควบคุมมลพิษทางอากาศ ขยะ นํ้าเสีย กลิ่น และเสียง
• วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
• การสร้างความตระหนักทางด้านสิ่งแวดล้อม
5. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
• นํางานวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้
ในการพัฒนา ประเทศ
• สร้างเสริมความรู้ความคิดของประชาชนทางด้าน
วิทยาศาสตร์
• พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรม
• ปรับปรุงระบบการวิจัยของประเทศให้สอดคล้อง
กับการปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจ
6. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศ
• ส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน(asian)
• ส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศในเอเชีย
• มีบทบาทที่สร้างสรรค์ในองค์กรระหว่างประเทศ
• กระชับความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ กับประเทศ
สําคัญของโลก
• ดําเนินงานเชิงรุกทางการทูตเพื่อประชาชน วัฒนธรรม และการศึกษา
• คุ้มครองผลประโยชน์ของคนไทย ดูแลคนไทยและแรงงานไทยใน
ต่างประเทศ
นโยบายทีมประเทศไทย (Team Thailand)
7. นโยบายความมั่นคงของรัฐ
• เทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์
• เสริมสร้างระบบป้ องกันประเทศให้มีความมั่นคง มีศักยภาพ
• เร่งพัฒนาระบบการจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง
แรงงานต่าง ด้าวผิดกฎหมาย
• การป้ องกัน และแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายและอาชญากรรม
ข้ามชาติ
• ปฏิรูประบบข่าวกรองให้เกิดประโยชน์ต่อการรักษาความมั่นคง
• พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ
8. นโยบายการบริหารจัดการที่ดี
• การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารราชการแผ่นดิน
- ปรับปรุงการให้บริการประชาชน
- หาคนมีความรู้ความสามารถเข้ามาทํางาน
- พัฒนาสมรรถนะข้าราชการ
- พัฒนาคุณภาพชีวิตของข้าราชการ
- เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมข้าราชการ
• การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
• ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารจากทางราชการ
และสื่อสาธารณะ
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
ทิศทางการพัฒนาการศึกษาตามแผนการ
ศึกษาแห่งชาติ ตามกรอบแผนฯ10
ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการในช่วงแผนฯ10
นโยบายการขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษา
ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน(สพฐ.)
ทิศทางการพัฒนาการศึกษาตามแผนการศึกษา
แห่งชาติ ตามกรอบแผนฯ10
• โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
- การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาเพื่อให้คนไทยมีการศึกษาเฉลี่ย ๑๐ ปี
- การขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา
- การเรียนรู้ตลอดชีวิต /แหล่งเรียนรู้
- การจัดการศึกษาสําหรับผู้ด้อยโอกาสและประชากรวัยแรงงาน
• คุณภาพมาตรฐานการศึกษาและการแข่งขันของประเทศ
- การพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน การวิจัยและพัฒนา
- การผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
- การประเมินและการประกันภายใน – ภายนอก
- การเปิดเสรีทางการค้าและบริการ (FTA) ด้านการศึกษา
- การผลิตกําลังคนทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
ทิศทางการพัฒนาการศึกษาตามแผนการศึกษา
แห่งชาติ ตามกรอบแผนฯ10
• การบริหารและการจัดการศึกษา
- การกระจายอํานาจ
- การมีส่วนร่วมของเอกชน
- ทรัพยากรและการลงทุน
- การพัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ
เฉพาะกิจภาคใต้
- การนําแผนไปสู่การปฏิบัติ
เป้ าหมายการพัฒนาการศึกษาตามแผน
การศึกษาแห่งชาติ ตามกรอบแผนฯ10
• ประชากรไทยจะมีการศึกษาเฉลี่ย 10 ปี
• กําลังแรงงานจบมัธยมขึ้นไปเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 60
• เด็กด้อยโอกาสเด็กพิการทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา
• สัดส่วนการจัดการศึกษาของรัฐ-เอกชนเป็น 70:30
• สถานประกอบการร่วมโครงการทวิภาคีและสหกิจศึกษาเป็น
ร้อยละ 30
• สถานศึกษาขั้นพื้นฐานร้อยละ 70 มีความเข้มแข็ง
• อปท.เข้าร่วมจัดการศึกษาในสัดส่วนที่สูงขึ้น
แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการในช่วงแผนฯ 10
• จํานวนปีการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยเป็น 10 ปี
• ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักสูงขึ้นร้อยละ 10
• ผู้เรียนร้อยละ80 มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
• ร้อยละ 60 ของกําลังแรงงานเรียนจบม.ต้นขึ้นไป
• สถานศึกษาร้อยละ 70 มีความเข้มแข็ง คล่องตัว
แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการในช่วงแผนฯ 10
• สร้างความเสมอภาคและโอกาสเข้าถึงบริการการศึกษา
• สร้างกระบวนการเรียนรู้ ปลูกฝังจิตสํานึกค่านิยม คุณธรรม
วัฒนธรรมตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
• เร่งรัดพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
• พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
• ผลิตพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
• พัฒนาการศึกษาในเขตพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้
การนํานโยบายศธ.สู่การปฏิบัติ
1. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
2. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
4. สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
5. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
5 องค์กรหลัก
นโยบายของสพฐ.
(คุณหญิง ดร.กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา)
• คุณธรรมนําความรู้น้อมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
• ขยายโอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียนอย่างทั่วถึงและ
มีคุณภาพ
• พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
• กระจายอํานาจและสร้างความเข้มแข็ง สพท. ร.ร.
• ส่งเสริมการมีส่วนร่วม และพัฒนาองค์คณะบุคคล
• พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
พื้นฐานของเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์ )
- ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
- ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
- โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 นโยบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- ตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
- นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ.2544-2553
- แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของ ศธ.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ผ่านระบบโทรคมนาคม
ทั้งภายในหรือภายนอกหน่วยงาน
ประโยชน์ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถทํางานร่วมกันได้ เช่น
ส่งอีเมล์ หรือใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน
ประเภทระบบ เครือข่ายมีทั้งแบบ
เชื่อมโยงบริเวณแคบ LAN (Local Area Network)
ข่ายงานบริเวณกว้าง WAN (Wide Area Network)
เครือข่ายที่กว้างใหญ่ไพศาล อินเตอร์เน็ต (Internet)
อินเตอร์เน็ต(Internet): international network
คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก มีการรับ
ส่งสารสนเทศเป็นมาตรฐานเดียวกันโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็น
เครื่องมือในการรับส่ง คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถรับ
ส่งสารสนเทศได้ในรูปแบบต่าง ๆ
ได้แก่ ข้อมูล (data) ข้อความ (text) เสียง (voice) และ
ภาพลักษณ์หรือรูปภาพ (image) ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถค้นหา
สารสนเทศได้จากแหล่งต่าง ๆ โดยผ่านเครือข่ายได้อย่างรวดเร็ว
ประโยชน์อินเตอร์เน็ต
•บริการด้านการสื่อสาร
-ไปรษณีย์ (E-mail) - การสนทนาแบบออนไลน์ - กระดาษข่าว
•ค้นหาข้อมูล
- WWW หรือ Web (Word Wide Web)
•บริการด้านการศึกษา (อีเลินนิ่ง อีบุคส์ อีลิบรารี่)
•ด้านระบบราชการ(การบริการ รับส่งเอกสาร)
• ด้านธุรกิจการค้า (อีคอมเมริส์)
ตัวอย่างชื่อเว็บไซต์ที่ควรรู้
http://www.kku.ac.th (สถาบันการศึกษา)
http://www.nakonpanom.org(องค์กร)
http://www.moe.go.th(ส่วนราชการ)
http://obec.go.th (ส่วนราชการย่อย)
http://www.google.com(เอกชน)
http://www.thaistar.net (เครื่อข่าย)
ตัวอย่างชื่อเว็บไซต์ที่ควรรู้
http://www.thaigov.go.th (รัฐบาลไทย)
http://www.ksp.or.th(คุรุสภา)
http://www.ecitizen.go.th(ศูนย์รวมเว็บไซต์:เว็บท่า)
http://www.onec.go.th (สภาการศึกษา)
http://www.tkc.go.th (ศูนย์กลางความรู้แห่งชาติ)
http://www.onespa.go.th (สมศ)
การจัดการระบบสารสนเทศ
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและบันทึกไว้
เป็นหลักฐาน เช่น รายการสินค้า ปริมาณการผลิตต่อวัน การ
จําหน่ายต่อวัน ราคาวัตถุดิบ ชื่อลูกค้าที่ไม่ชําระเงินตามกําหนด
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่นํามาประมวลให้เกิดเป็นความรู้
ความเข้าใจ เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น สารสนเทศอาจผสมผสาน
ความลําเอียง ความรู้สึกของผู้รับ
Management Information System
ทรัพยากรสารสนเทศ (Information
Resources)Hardware : เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สําหรับใช้ในงาน
สารสนเทศ
Software : คําสั่งและโปรแกรมที่ใช้ควบคุมฮาร์ดแวร์ ตามที่
ต้องการ
Data : ข้อมูล ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ สถานการณ์ บุคคล
การดําเนินงานทั่วไป
Network : ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Information : ข้อมูลที่นํามาประมวลให้มีความหมาย
IT Specialist : ผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์IT
Users : ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์และIT ทั้งทางตรงและทางอ้อม
Geographic Information System: GIS
ความสัมพันธ์ระหว่าง MIS และ GIS
ข้อมูลระดับศูนย์ปฏิบัติการ
AOC
ศูนย์ปฏิบัติการระดับเขตพื้นที่การศึกษา
• ศูนย์ปฏิบัติการแห่งชาติ (National Operation Center: NOC)
• ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (Prime Minister Operation Center:
PMOC)
• ศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงต่างๆ (Ministry Operation System :MOC)
• ศูนย์ปฏิบัติการกรมต่างๆ (Depastment Operation Center: DOC)
• ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด (Province Operation Center: POC)
• ศูนย์ปฏิบัติการแขตพื้นที่การศึกษา (Area Operation Center: AOC)
ประเภทของระบบสารสนเทศศูนย์ปฏิบัติการ (Operation Center)
ระบบฐานข้อมูลระดับการ
ปฏิบัติการ(สถานศึกษา)
Student 44
(นักเรียน)
Obec
(ประถม)
EIS
(มัธยม)
B- Obec
M- Obec
P- Obec
On Web
(ปรับปรุงข้อมูลปัจจุบัน)
SMIS
(ภาพรวม)
วัฒนธรรมไทย
-วิถีการดําเนินชีวิตของมนุษย์ในสังคมไทย (The Way of life)
- แบบอย่างแห่งพฤติกรรมของคนในสังคมไทย (Behaviour patterns)
- สิ่งที่บ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรือง ความมีระเบียบวินัย ความกลมเกลียว
สามัคคีของชาติและความมีศีลธรรมอันดีของประชาชน
ความหมาย
ตัวอย่างวัฒนธรรมไทย
 การเคารพพระสงฆ์  มารยาททางใจแบบไทย  การรับประทานอาหาร
 มารยาททางกายแบบไทย เช่น การนั่ง การไหว้ การกราบ การยืน การเดินฯลฯ
 การใช้วาจาสุภาพ ยิ้มแย้ม
วัฒนธรรมไทย
1. วัฒนธรรมทางวัตถุ (Material culture) หมายถึงสิ่งที่เราสามารถสัมผัส
แตะต้องได้ เช่น โต๊ะ เตียง ตั่ง โทรทัศน์ พัดลม เสื้อผ้า ฯลฯ
2. วัฒนธรรมที่ไม่เกี่ยวกับวัตถุ (Non – material culture) หรือเรียกอีกอย่าง
หนึ่งว่าวัฒนธรรมด้านจิตใจ (Mind culture) หมายถึง สิ่งที่เราไม่สามารถ
แตะต้องได้แยกไปเป็น คติธรรม ,สหธรรมและเนติธรรม
คติธรรม คือ ธรรมที่ทําให้มนุษย์ผู้ประพฤติปฏิบัติตามสามารถมีชีวิตอยู่ได้อย่างสบาย
สหธรรม คือ ธรรมที่ทําให้มนุษย์เข้ากับสังคมได้หรืออยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
เนติธรรม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าวัฒนธรรมทางกฏหมาย ถือกฏหมายแพ่ง กฏหมายพาณิชย์
กฏหมายอาญา รวมถึงระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ของสังคมด้วย
ประเภทวัฒนธรรม
(Non – material culture)
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมหลักของไทย
คือ วัฒนธรรมที่คนไทยส่วนใหญ่ได้ยอมรับนับถือปฏิบัติสืบทอดกันมาเป็นเวลาอันยาวนาน
ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
1. อิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่อวัฒนธรรมไทย
2. พระมหากษัตริย์ไทย อักษรไทย ภาษาไทย
3. ประเพณีไทย จรรยามรรยาทของคนไทย จิตใจของคนไทย
4. ศิลปกรรมไทย มีความอ่อนช้อยสวยงามไม่แพ้อารยประเทศ เช่น นาฏศิลป์
ดนตรี เพลง ตลอดจนภาพจิตรกรรม เป็นต้น
5. สถาปัตยกรรมไทย วรรณคดีไทย
ตัวอย่าง วัฒนธรรมไทย
 ยืนเคารพธงชาติ เวลาเชิญธงชาติขึ้นเสาและลงจากเสาทุกวัน หรือได้ยิน
เพลงชาติบรรเลง
 ในพิธีต่าง ๆ เมื่อเห็นคนเชิญธงชาติผ่านหน้าต้องยืนทําความเคารพทุก
ครั้ง
เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จ
พระราชดําเนินมาถึงในงานพิธีต่าง ๆ เราต้องยืนตรงเพื่อถวายความเคารพ
ทุกครั้งที่ได้ยินเสียงเพลงสรรเสริญพระบารมีต้องหยุดยืนตรงนิ่งอยู่กับที่
จนกว่าจะจบเพลงเพื่อถวายความเคารพ
ยืนต้อนรับผู้ใหญ่ที่กําลังเดินเข้ามาในงาน
ผู้มีมารยาทดีจะยืนตรงห้อยแขนและขาตามธรรมชาติเพื่อเคารพผู้ใหญ่
การยืน (การเคารพในท่ายืน มีดังนี้)
วัฒนธรรมไทย
 การรับประทานแบบนั่งเก้าอี้ต้องนั่งตัวตรงเรียบร้อยและใช้เครื่องใช้ในการ
รับประทานอาหารที่เป็นส่วนของตน ใช้ช้อนกลางตักอาหารที่เป็นของกลาง
รับประทานโดยระมัดระวัง ไม่ทําให้เลอะเทอะมูมมาม ควรหุบปากเวลาเคี้ยว
อาหารเพื่อระวังมิให้มีเสียงดัง
 ต้องรอให้ผู้มีอาวุโสกว่านั่งก่อนจึงนั่ง แลผู้อาวุโสเริ่มรับประทานก่อนจึง
รับประทาน
ถ้านั่งเก้าอี้ควรนั่งตัวตรง ไม่ท้าวศอกบนโต๊ะอาหาร ถ้านั่งกับพื้นควรนั่ง
พับเพียบเรียบร้อย และตั้งตัวตรงไม่ท้าวแขน
 การใช้ผ้าเช็ดมือ เมื่อเข้านั่งโต๊ะอาหารก่อนจะรับประทานควรหยิบผ้าเช็ดมือ
ปูที่ตัก ก่อนดื่มควรใช้ผ้าเช็ดมือเช็ดปากก่อนทุกครั้งเพื่อมิให้แก้วเป็นคราบ
ดื่มเสร็จแล้วเช็ดอีกครั้ง
มารยาทในการรับประทานอาหาร
วัฒนธรรมไทย
 การซดนํ้าซุบหรือนํ้าแกง ย่อมซดจากข้างช้อนและซดอย่างเงียบอย่าให้มีเสียงดัง
 การรับประทานอาหารชนิดช่วยตัวเองหรือบุ๊ฟเฟ่ ท์ จัดสําหรับแขกมาก
จะวางอาหารคาวหวานแยกกันไว้เป็นหมู่ จัดอย่างสวยงาม แขกที่รับเชิญไปแบ่ง
รับประทานเองตามใจชอบ ให้หยิบเครื่องมือสําหรับรับประทานก่อน จึง
เดินเลือกอาหารตามใจชอบ
 ตักอาหารให้พอดีกับความต้องการของตน อย่าโลภตักแบ่งไปจน รับประทานไม่
หมด และอย่าแบ่งโดยคุ้ยเขี่ยทําลายความสวยงามที่เขาตบแต่งอาหารไว้
เมื่อรับประทานอาหารเสร็จแล้วก็วางไว้ที่ใดที่หนึ่งที่เหมาะแก่จานชามที่ใช้แล้ว
มารยาทในการรับประทานอาหาร
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
- นิสัยสังคมของชาวไทยซึ่งได้รับมรดกตกทอดกันมาแต่เก่า
ก่อน เรียกว่าปะเพณีเดิมหรือประเพณีปรัมปราคือเป็น
ประเพณีที่สืบ ๆ ต่อกันมา
- แบบอย่างแห่งพฤติกรรมของกลุ่มชนที่กลุ่มชนเห็น
แบบอย่างนั้นเป็นสิ่งที่ดีงามเป็นสิ่งทํ่าความพอใจมาให้เป็น
สิ่งที่ทําให้สังคมมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยนําความสงบ
สุขมาสู่สังคมกลุ่มชนจึงประพฤติปฏิบัติตาม สืบ ๆ กันมา
เป็นเวลายาวนาน
ความหมายประเพณีไทย
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
ประเพณีได้แยกเป็น 4 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1.จารีตประเพณี (Moral custom) ได้แก่ประเพณีที่สังคมถือว่า ถ้าใครสน
สังคมฝ่ าฝืนหรืองดเว้นไม่ทําตามก็เป็นความผิดและชั่ว จารีตประเพณีเป็นข้อบังคับ
ทางจรรยาหรือศีลธรรมของสังคม
2.ขนบประเพณี (Institutional custom) ได้แก่ ประเพณีที่สังคมได้ตั้ง
หรือวางเป็นระเบียบแบบแผนขึ้นไว้โดยตรงหรือทางอ้อม โดยตรงวางเป็นระเบียบไว้
ชัดเจน ส่วนทางอ้อมไม่ได้เขียนไว้ให้ชัดเจน เป็นเพียงได้รับการสืบทอดกันมาเป็น
เวลายาวนาน เช่น วิธีรดนํ้าดําหัวแบบชาวเหนือ
3.ธรรมเนียมประเพณี (Congentional custom) ได้แก่ ประเพณีที่ได้รับ
การประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมาหลายชั่วอายุคน ไม่ค่อยจะมีโทษเมื่อใครไม่ประพฤติ
ปฏิบัติตาม
4.ประเพณีท้องถิ่นแต่ละท้องถิ่น
ประเภทของประเพณีไทย
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
ตัวอย่างประเพณีไทยท้องถิ่น
 ภาคเหนือ เช่น ปอยหลวง ลอยกระทงสาย อุ้มพระดํานํ้า
ไหว้พระธาตุดอยตุง
 ภาคอีสาน เช่น ไหลเรือไฟ บุญเบิกฟ้ า บุญบั้งไฟ
ผีตาโขน แห่ปราสาทผึ้ง
 ภาคกลาง เช่น สู่ขวัญข้าว ก่อพระเจดีย์ทราย วิ่งควาย
กวนข้าวทิพย์
 ภาคใต้ เช่น แห่พระแข่งเรือ ชักพระ กินเจ การแข่ง
เรือกอแล
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
วัฒนธรรมและประเพณีได้กําหนดบทบาทของคนในสังคม
1. กําหนดพฤติกรรมของคนในสังคม
2. กําหนดระเบียบแบบแผนให้คนในสังคมได้ประพฤติ
ปฏิบัติตาม
3. กําหนดแนวทางการดําเนินชีวิตของคนในสังคม
4. เป็นเอกลักษณ์ให้เห็นความแตกต่างของคนในสังคม

More Related Content

Viewers also liked

แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551weerabong
 
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยWiseKnow Thailand
 
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part iStrategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part iSilpakorn University
 
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานีวิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานีtechno UCH
 
จักราวุธ จรรยาบรรณวิชาชีพครู ๙ ข้อ
จักราวุธ จรรยาบรรณวิชาชีพครู ๙ ข้อจักราวุธ จรรยาบรรณวิชาชีพครู ๙ ข้อ
จักราวุธ จรรยาบรรณวิชาชีพครู ๙ ข้อนายจักราวุธ คำทวี
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์earlychildhood024057
 
ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5Lahu001710
 
คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยSomchart Phaeumnart
 
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)Hinkong Sc
 
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครูจักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครูนายจักราวุธ คำทวี
 
ข้อสอบวัดแววครู Taro 47
ข้อสอบวัดแววครู Taro 47ข้อสอบวัดแววครู Taro 47
ข้อสอบวัดแววครู Taro 47FREDDO_CHIN
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

Viewers also liked (18)

แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551
 
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
 
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part iStrategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
 
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานีวิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
วิชาการ 5ส ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
 
จักราวุธ จรรยาบรรณวิชาชีพครู ๙ ข้อ
จักราวุธ จรรยาบรรณวิชาชีพครู ๙ ข้อจักราวุธ จรรยาบรรณวิชาชีพครู ๙ ข้อ
จักราวุธ จรรยาบรรณวิชาชีพครู ๙ ข้อ
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
 
ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5
 
คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
คู่มือเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
 
สรุป สอบGat pat คณะต่างๆ
สรุป สอบGat pat คณะต่างๆสรุป สอบGat pat คณะต่างๆ
สรุป สอบGat pat คณะต่างๆ
 
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครูจักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
 
ข้อสอบวัดแววครู Taro 47
ข้อสอบวัดแววครู Taro 47ข้อสอบวัดแววครู Taro 47
ข้อสอบวัดแววครู Taro 47
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
วิชาการศึกษา
วิชาการศึกษาวิชาการศึกษา
วิชาการศึกษา
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายกฎหมายการศึกษา(เก่าแล้วใช้ได้)
 
แผน12
แผน12แผน12
แผน12
 
คู่มือ Facebook
คู่มือ Facebookคู่มือ Facebook
คู่มือ Facebook
 

More from สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ

ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

More from สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ (20)

รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหารรวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
 
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
 
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษารวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
 
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค กคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
 
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุงรวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
 
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบคู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
 
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอนคู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
 
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการแนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
 

ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)