SlideShare a Scribd company logo
1 of 165
Download to read offline
เตรียมสู่ครูผู้ช่วย
สอบครูดอทคอม www.sobkroo.com
หลักสูตรการสอบแข่งขันฯ
ภาค ก สอบข้อเขียน
(350 คะแนน)
ความรอบรู้ (75)
ความสามารถทั่วไป(75)
วิชาการศึกษา(100)
วิชาเอก เฉพาะวุฒิ (100)
ภาค ข สอบข้อเขียนและ
ประเมินความเหมาะสม
(150 คะแนน)
วิชาชีพครูฯ (100)
สัมภาษณ์ (50)
500
•เรียงคะแนนทุกภาคสูงไปน้อย
•ยึดคะแนนภาค ก(ข้อเขียน)
•ยึดสมัครก่อนหลัง
ลําดับ
•ขึ้นบัญชี แยกตามวิชาเอก
•ขึ้นบัญชีไม่เกิน 2 ปี
•บรรจุตามลําดับที่ขึ้นบัญชี
• เขตอื่นขอใช้บัญชีได้
ภายใน 15 วัน
ภาคข : ความเหมาะสมกับวิชาชีพ
(คะแนนเต็ม 150 คะแนน)
 ความรู้ความเข้าใจกี่ยวกับวิชาชีพครู (ข้อเขียน 100)
 ประเมินความเหมาะสมของบุคคล (สัมภาษณ์ฯ 50)
- ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา
- บุคลิกภาพ
- ปฏิภาณ ไหวพริบ
- การมีปฏิสัมพันธ์ แฟ้ มผลงาน
ภาคข : ความรู้ความเข้าใจกี่ยวกับ
วิชาชีพครู
เจตคติต่อวิชาชีพครู
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพครู
คุณธรรม จริยธรรมครู
วินัยและการรักษาวินัย
มนุษย์สัมพันธ์และการปรับตัว
ภาคข : วิชาชีพครู
การทํางานร่วมกับผู้อื่น
ความคิดสร้างสรรค์ต่อวิชาชีพ
การจัดการความรู้
ความเป็นพลเมืองดี
การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
เจตคติต่อวิชาชีพครู
 อาชีพ
- การประกอบการงาน เพื่อเกิดรายได้ เลี้ยงชีพ
- มีความรู้ ความชํานาญ ประสบการณ์
- ไม่ต้องอาศัยศาสตร์หรือวิชาเฉพาะ
 วิชาชีพ
- การประกอบการงานอาศัยศาสตร์สาขานั้นๆ
- อาศัยทักษะ ความชํานาญการเป็นพิเศษ
- เช่น ครู แพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศวกร ตํารวจ ทนาย ฯลฯ
อาชีพ-วิชาชีพ
ครู:ความหมาย
 รากศัพท์ครู
- คุรุ มีรากศัพท์มาจาก คารวะ และแผลงเป็น เคารพ
- คารวะหรือเคารพ คือการตระหนัก จดจ่อในความดี
- ครูจึงเป็นผู้ตระหนัก ในสิ่งดี-ชั่ว ถูก-ผิด ควร-มิควร และศิษย์ควรตระหนัก
 ความหมายของครู
- ครู(โบราณ) หมายถึง ผู้นํา
- ครู(ทั่วไป) ผู้อบรมสั่งสอน ถ่ายทอดวิชา
- ครู(ปัจจุบัน) ผู้ประกอบวิชาชีพชั้นสูง
อาจารย์:ความหมาย
 รากศัพท์
- อาจารย- อาจาริยะ(instructor)
- แปลว่า ผู้สอนที่เป็นพระภิกษุ
 ความหมาย
- ความหมาย (เดิม) ผู้ฝึกมารยาท ควบคุม ดูแลให้อยู่ในระเบียบ กฎเกณฑ์
- ความหมาย(ปัจจุบัน) ผู้สั่งสอนวิชาความรู้ อบรมดูแลความประพฤติศิษย์
- ลักษณะงานที่แตกต่างจากครู สอนปริญญาตรี สอนอุดม
ครู:การจําแนก
ประเภท
 ตามลักษณะงาน
- ครูประจําบ้าน บิดา มารดา(บูรพาจารย์) เป็นครูคนแรก
- ครูประจําโรงเรียน ผู้พัฒนานักเรียนซึ่งเป็นบัวสี่เหล่า
- ครูประจําวัด พระภิกษุหรือนักบวช
- ครูประจําโลก คือพระบรมศาสดาพระพุทธศาสนา ศาสดาของศาสนาอื่น
 ตามคุณธรรม
- เปลือกครู พวกด้อยคุณธรรม ความเป็นครู ไม่ศรัทธาในอาชีพครู ไม่คํานึง
ศิษย์ เปรียบเสมือนเปลือกไม้ซึ่งไม่สําคัญ
- เนื้อครู พวกนี้มีคุณธรรม มีความเป็นครูสูง ทําหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
เปรียบเหมือนเนื้อไม้ มีประโยชน์มาก
ครู:การจําแนก
ประเภท
- แก่นครู ครูที่มีคุณธรรมของความเป็นครูสูง เป็นครูในอุดมคติ เป็นครู
เพราะศรัทธาในวิชาชีพครู เปรียบเหมือนแก่นไม้ซึ่งแข็งแกร่งมี คุณค่าใช้สอย
มาก หากมีมากองค์กรเจริญ วิชาชีพเจริญก้าวหน้าประเภทเจริญก้าวหน้า
 จําแนกตามอัตตา(ความมีตัวตน)
- ครูที่เป็นบุคคล มีตัวตน ได้แก่บิดามารดา ครูอาจารย์ พระภิกษุ เพื่อน ผู้หวังดี
ตนเอง พระบรมครูสูงสุด
- ครูที่ไม่ใช่บุคคล เป็นสิ่งของและพฤติกรรมต่างๆ ที่มีอิทธิพลเป็นแบบคน เช่น
การงาน ความผิดพลาด ปัญหาอุปสรรค ประสบการณ์ สิ่งแวดล้อม ความ
เดือดร้อน ทรมารกาย ใจ เป็นต้น
อานิสงส์ความเป็นครู
 อานิสงส์ที่ครูให้แก่โลก
- ให้ความสว่างแก่โลก -ยกวิญญาณคนให้เป็นมนุษย์
- สร้างจิตวิญาณให้พ้นจากสัญชาติญาณสัตว์ – เตรียมมนุษย์สู่สวรรค
(เพิ่มคุณธรรมของความเป็นมนุษย์)
 อานิสงส์ที่ครูพึงได้รับจากความเป็นครู
- ครูเป็นปูชนีย์บุคคล
- มีอาชีพในการดํารงชีวิต และได้กุศล
- มีความก้าวหน้าในอาชีพ ชีวิตสงบสุข
วิชาชีพชั้นสูง
 วิชาชีพชั้นสูง
- อาชีพนั้นต้องมีบริการสังคมไม่ซํ้าซ้อนกับสาขาวิชาชีพอื่น
- อาชีพนั้นต้องมีบริการสังคมโดยวิธีการแห่งปัญญา
- อาชีพนั้นต้องมีความอิสระในการดําเนินการเกี่ยวกับวิชาชีพ
- สมาชิกของวิชาชีพชั้นสูงนั้นจะต้องได้รับการศึกษาในระดับสูง
- ผู้ที่ใช้วิชาชีพชั้นสูงนั้นต้องประพฤติดีและมีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
- มีสถาบัน องค์กรกลางที่จะสร้างสรรค์ จรรโลงความมั่นคงของวิชาชีพ
วิชาชีพครู
 ครู : เป็นวิชาชีพชั้นสูง
- ม. 81 รธน.40 : กําหนดให้มีการพัฒนาวิชาชีพครู
- ม. 52 (หมวด7) : พรบ. กศ. แห่งชาติ42 และแก้ไข 45
กําหนดให้มีระบบ การผลิต การพัฒนาครูให้มีคุณภาพ
และมาตรฐาน เหมาะสม กับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง
วิชาชีพครู:วิชาชีพชั้นสูง
 ให้บริการความรู้ แก่คนทุกระดับ : สอนจัดการเรียนรู้ทุกระดับ
 ให้บริการด้วยวิธีแห่งปัญญา : ใช้เทคนิคการสอน วิธีสอน จิตวิทยา
การสอน สื่อเทคโน การวัดผลที่เหมาะสม
 มีอิสระการทํางาน : คิดค้นนวัตกรรมวิธีสอน การวัดผล สื่อฯ
 การศึกษายาวนาน อบรมอย่างต่อเนื่อง : หลักสูตรครู 5 ปี
 มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ใช้ถือปฏิบัติ :ข้อบังคับคุรุสภาฯ
 มีองค์กรวิชาชีพ : คุรุสภา
ความสําคัญของวิชาชีพครู
 ครู
- บุคคลที่ทํางานหนัก สั่งสอนคน ทําหน้าที่สารพัดอย่าง
- ฝึกอบรม ให้ความรู้วิชาการ เป็นแบบอย่างที่ดี
- พัฒนาตนเอง แสวงหาความรู้ ทั้งวิชาการ เทคโนโลยีและการสื่อสาร
เทคนิควิธีสอนและการจัดการเรียนรู้
- ดูแลนักเรียน เข้าถึง เสียงภัย รับผิดชอบตนเอง ผู้อื่น
- ผู้นําความคิดให้ชุมชน สังคม ที่พึ่งของศิษย์ เป็นผู้นําจิตวิญญาณ
ความสําคัญของ : วิชาชีพครู
 ครูเป็นผู้พัฒนาบุคคล พัฒนาสังคม กระจกเงาของเด็ก
 เป็นนักวิชาการ เป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลง เป็นแม่พิมพ์ของชาติ
 เป็นผู้นําและนักพัฒนาท้องถิ่น ทหารเอกของชาติ
 สร้างสรรค์สังคม ประชาธิปไตย
 เชิดชูชาติ อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี
 สร้างค่านิยมที่ดีแก่สังคม กุมความเป็ยความตายของชาติ
 เป็นวิศวกรสังคม เป็นผู้สร้างโลก
ครู : ปฏิรูปการศึกษา
 เป็นวิชาชีพชั้นสูง (พรบ.การศึกษาแห่งชาติ)
 มีองค์กรวิชาชีพ คุรุสภา(สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา)
 ครูเป็นสมาชิกคุรุสภาประเภทสามัญ(พรบ.สภาครู)
 มีตําแหน่งเป็นครูผู้ช่วย ครู (พรบ.รบ.ครู)
 มีมาตรฐานตําแหน่งกําหนดบทบาทหน้าที่ครู(พรบ.รบ.ครู)
 มีมาตรฐานวิชาชีพครู (พรบ.สภาครู)
ครู : ตําแหน่ง
1. ตําแหน่งหน้าที่สอน (ม.38 ก.) ได้แก่
ครูผู้ช่วย  ครู
2. ตําแหน่งหน้าที่บริหาร (ม.38 ข.) ได้แก่
รองผู้อํานวยการสถานศึกษา  ผู้อํานวยการสถานศึกษา
3. ตําแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น (ม.38 ค(2) ได้แก่
จนท.การเงินบัญชี  จนท.พัสดุ
หน้าที่ : ความรับผิดชอบ
1. หน้าที่
- กิจที่ต้องทํา - สิ่งที่จําเป็นที่บุคคลต้องทํา
2. ความรับผิดชอบ
- คุณสมบัติของบุคคลที่จะทํางานในหน้าที่ มอบหมายให้สําเร็จถูกต้องเหมาะสม
3. หน้าที่ความรับผิดชอบ
- กิจที่บุคคลต้องกระทําให้สําเร็จตามคําสั่ง ตามกฎหมาย ตามหลัก ศิลธรรม
ด้วยสํานึกในความถูกต้อง
หน้าที่ : ความรับผิดชอบครู
กิจที่ผู้เป็นครูจําเป็นต้องกระทําให้เสร็จสิ้น
สมบูรณ์ ซึ่งการกระทําของครูเป็นไปโดยอาศัย
หลักคุณธรรม จริยธรรม กฏหมาย หรือด้วย
สํานึกในความถูกต้องและเหมาสม
ครูผู้ช่วย ครู : บทบาทหน้าที่
มฐ. ตําแหน่ง (หน้าที่และความรับผิดชอบ)
- ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน การส่งเสริมการเรียนรู้
พัฒนาผู้เรียน
- ปฏิบัติงานทางวิชาการของสถานศึกษา
- มีหน้าที่ในการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มก่อนแต่งตั้ง
ให้ดํารงตําแหน่งครู 2 ปี (พัฒนาตนเองวิชาชีพ)
- ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ครู : ลักษณะงาน
มฐ. ตําแหน่ง (ลักษณะงานที่ปฏิบัติ)
- ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน และส่งเสริมการเรียนรู้
ของผู้เรียน ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
- จัดอบรมสั่งสอนและจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
- ปฏิบัติงานวิชาการของสถานศึกษา
- ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
- ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
บทบาทหน้าที่ของครู
 TEACHERS
- T teaching : การสอน
- E ethice : จริยธรรม
- A academic : วิชาการ
- C cultural heritage : การสืบทอดวัฒนธรรม
- H human relationship : มนุษยสัมพันธ์
- E evaluation : การประเมินผล
-R research : การวิจัย
-S service : การบริการ
บทบาทหน้าที่ของครู
 การสั่งสอนศิลปวิทยาการต่างๆให้แก่ศิษย์
 การฝึกอบรมคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีแก่ศิษย์
 ปกครองดูแลความทุกข์สุขของศิษย์
 การประเมินผลความก้าวหน้าของศิษย์
 การแนะแนวการศึกษา อาชีพ
 การจัดกิจกรรมเพื่อความเจริญงอกงามของศิษย์
 การปฏิบัติงานในหน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมาย
 ดูแลสอดส่อง ป้ องกันภัย ทรัพย์สินโรงเรียน
 การเสริมสร้างสมรรถภาพทางวิชาการให้แก่ตนเองอย่างสมํ่า เสมอ
 รักษาวินัย เป็นแบบอย่างที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
 ตามพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาท
 ตามคําสอนของพระพุทธศาสนา
 ตามทัศนะของบุคคล นักวิชาการ
 ตามผลการวิจัย
 ตามอุดมคติ
ตามพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาท
“ครูแท้นั้นต้องเป็นผู้กระทําแต่ความดี คือ
- ขยัน หมั่นเพียร อุตสาหะ - ต้องเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ
- รักษาวินัย สํารวม - ซื่อสัตย์เมตตา หวังดี -เป็นกลาง”
“ คุณสมบัติที่ดีสําหรับครู ผู้ปรารถนาจะทํางานให้ได้ดี มีความเจริญก้าวหน้า มี
เกียรติยศชื่อเสียงและมีฐานะตําแหน่ง อันมั่นคงคุณสมบัติประการแรกคือ…
- แสดงความรู้ สามารถได้อย่างรวบรัด ชัดเจน ถูกต้อง - มีมนุษย์สัมพันธ์
- มีค่านิยมสูง - มีวิจารณาณ - มีระเบียบวินัย
ตามคําสอนในพระพุทธศาสนา
กัลยามิตตธรรม 7 ประการ
- ปิย- น่ารัก - ครุ-น่าเคารพ -ภาวนีโย –น่าเจริญ ยกย่อง
- วัตตา –รู้จักพูดให้ได้ผล
- วจนักขโมย –อดทนต่อถ้อยคํา
- คัมภีรรัญจะ กถัง กัตตาแถลงเรื่องได้ลึกซึ้ง
- โน จัฏฐาเน นิโยชเย -ไม่แนะนําเรื่องเหลวไหล
ตามอุดมคติ
- มีความรอบรู้ - มีอารมณ์ขัน
- มีความยืดหยุ่น - มีวิญญาณความเป็นครู
- มีความซื่อสัตย์ - มีความเข้าใจรวบรัด ชัดเจน
- เป็นคนเปิดเผย - มีความอดทน
- กระทําตนเป็นแบบอย่างที่ดี - นําความรู้ทาง ทบ.ไปใช้
- เรียบร้อย สะอาด สง่า ผ่าเผย
ครูตามแนวทางปฏิรูปการเรียนรู้
 จัดการเรียนการสอนเน้นผุ้เรียนเป็นสําคัญ
 เป็นผู้จัดการ อํานวยความสะดวก
 เป็นผู้จัดการเรียนรู้
 วัดและประเมินผลตามสภาพแท้จริง
 ใช้การวิจัยเพื่อการพัฒนางานและวิจัยเพื่อการเรียนรู้
คุณลักษณะของครูยุคปฏิรูปการศึกษา
 คุณลักษณะด้านศักยภาพ
- คุณลักษณะด้านความรู้ - คุณลักษณะด้านการคิด - คุณลักษณะด้านค่านิยม
 คุณลักษณะด้านความสามารถ
- ความสามารถในการปฏิบัติตน - ความสามารถในการปฏิบัติงาน
 คุณลักษณะด้านวิชาชีพ
- การพัฒนาตนเองให้งอกงามตามหลักวิชาการ
- การพัฒนาเพื่อนร่วมงานให้มีมาตรฐานทัดเทียมกัน
- การเคร่งครัดในจรรยาบรรณ
คุณลักษณะด้านศักยภาพ
 คุณลักษณะด้านความรู้
คุณลักษณะด้านศักยภาพ
 คุณลักษณะด้านการคิด
 คุณลักษณะด้านค่านิยม
 ความสามารถในการปฏิบัติตน
 ความสามารถในการปฏิบัติงาน
คุณลักษณะด้านความสามารถ
 การพัฒนาตนเอง
 การพัฒนาเพื่อนร่วมงาน
 การเคร่งครัดในจรรยาบรรณ
คุณลักษณะด้านวิชาชีพ
สรุปคุณลักษณะของครูที่ดี
 บุคลิกภาพดี
 คุณสมบัติส่วนตัวดี
 สอนดี ปกครองดี
 ประพฤติดี
 มีจรรยาและคุณธรรมสูง
 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
ความศรัทธาต่อวิชาชีพครู
ความหมาย
- ความเชื่อมั่นในความเป็นจริง ความดีงามและกฎธรรมดาแห่งเหตุผล
องค์ประกอบของความศรัทธา
- มั่นใจว่าเป็นไปได้ - มั่นใจว่ามีคุณค่า - มั่นใจว่าพิสูจน์ให้เห็นจริงได้
 ลักษณะการศรัทธาในวิชาชีพครู
- ศรัทธารักอาชีพครู - เชื่อมั่นการศึกษาจะสําเร็จได้เพราะครู
- เชื่อมั่นในปรัชญาการศึกษา - มั่นใจแนวทางปฏิรูปการศึกษา
ความคาดหวังของสังคมต่อวิชาชีพครู
 มีความรู้เข้าใจในธรรมชาติผู้เรียนและธรรมชาติของการเรียนรู้
 มีความรู้ความสามารถในเนื้อหาวิชาที่สอน
 มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับวิชาชีพครู
 มีความรู้และทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้
 มีความสามารถและทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 มีความรู้ความสามารถทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ
 มีจิตวิญญาณและบุคลิกภาพที่เหมาะสมกับวิชาชีพครู
สมรรถนะของครู(ความสามารถ)
 สมรรถนะหลัก (ครูทุกสายงานต้องมีเหมือนกัน)
- การมุ่งผลสัมฤทธิ์
- การบริการที่ดี
- การพัฒนาตนเอง
- การทํางานเป็นทีม
สมรรถนะ (competency) ของครู
 สมรรถนะประจําสายงาน (งานการสอน)
- การออกแบบการเรียนรู้ - การพัฒนาผู้เรียน
- การบริหารจัดการชั้นเรียน - การพัฒนาทักษะตนเอง
- การสื่อสารและการจูงใจ - การวิเคราะห์และการสังเคราะห์
- การมีวิสัยทัศน์ - การให้ความสําคัญแก่ผู้อื่น
การระลึกถึงวิชาชีพครู
 การจัดงานวันครู
- พ.ศ. 2499 : กําหนดให้มีการจัดงานวันครูครั้งแรก
- พ.ศ. 2550 จัดงานวันครูเป็นครั้งที่ 51 กําหนดคําขวัญว่า
:สิบหกมกรา เทิดทูน “พ่อแผ่นดิน” ภูมินทร์บรมครู
- รัฐบาลกําหนดวันครูแห่งชาติ : 16 มกราคม ทุกปี
- ยูเนสโก(UNESCO)กําหนด วันครูโลก: 5 ตุลาคม ทุกปี
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
 วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพควบคุม (พรบ.สภาครูฯ)
มาตรา 43 ให้วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา
และผู้บริหารการศึกษา เป็นวิชาชีพควบคุม
จะประกอบวิชาชีพควบคุมได้ จะต้องได้รับใบอนุญาต
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
 อาชีพ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ใบอนุญาต หมายถึง ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ซึ่งออกให้ผู้ปฏิบัติงานในตําแหน่ง
• ครู
• ผู้บริหารสถานศึกษา
• ผู้บริหารการศึกษา
• บุคลากรทางการศึกษาอื่น(ศน.)
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
 ผู้มีวุฒิทางครูขอต่อคุรุสภา ค่าธรรมเนียม 500
 ใบประกอบวิชาชีพมีอายุ 5 ปี เว้นถูกพักใช้ เพิกถอน
 ขอต่อใบประกอบวิชาชีพต้องผ่านการประเมินมาตรฐาน
จรรยาบรรณวิชาชีพ
 จะได้เลื่อนตําแหน่ง เลื่อนวิทยฐานะต้องผ่านการประเมิน
มาตรฐานจรรยาบรรณวิชาชีพ
ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘
มาตรฐานวิชาชีพครู(ตามข้อบังคับคุรุสภา)
 อาชีพข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพ ที่พึงประสงค์
ในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบัติตาม
1) มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
2) มาตรฐานการปฏิบัติงาน
3) มาตรฐานการปฏิบัติตน
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์
 อาชีพ
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์
มาตรฐานการปฏิบัติงาน (12 มฐ.)
มาตรฐานการปฏิบัติงาน (12 มฐ.)
มาตรฐานการปฏิบัติตน ( 5 ด้าน 9 ข้อ)
1) จรรยาบรรณต่อตนเอง
2) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
3) จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
4) จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
5) จรรยาบรรณต่อสังคม
จรรยาบรรณครู
หมายถึง ประมวลความประพฤติหรือกริยาอาการที่ผู้
ประกอบวิชาชีพครูควรประพฤติปฏิบัติ เพื่อรักษาส่งเสริม
เกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของความเป็นครู
ปัจจุปัน จรรยาบรรณครู กําหนดไว้ในกฎหมาย
“ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและ
จรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ. 2548”
จรรยาบรรณวิชาชีพครู ( 5 ด้าน 9 ข้อ)
1.จรรยาบรรณต่อตนเอง
1) ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเอง
ด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ
เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
2.จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
2) ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต
รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
จรรยาบรรณวิชาชีพครู ( 5 ด้าน 9 ข้อ)
3. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
3) ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม
ให้กําลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
4) ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัย
ที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ
ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
5) ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้ง
ทางกาย วาจา และจิตใจ
6)ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทําตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญ
ทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ
7) ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค
โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตําแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
จรรยาบรรณวิชาชีพครู ( 5 ด้าน 9 ข้อ)
4. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
8) ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและ
กันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีใน
หมู่คณะ
5.จรรยาบรรณต่อสังคม
9) ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นําใน
การอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา
สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของ ส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
การประพฤติผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ
ถ้าถูกกล่าวโทษ ประพฤติผิด
จรรยาบรรณของวิชาชีพ
มาตรา 54
(กก.มฐ.วิชาชีพ)
1) ยกข้อกล่าวหา
2) ตักเตือน
3) ภาคทัณฑ์
4) พักใช้ใบอนุญาต(ไม่เกิน 5 ปี)
5) เพิกถอนใบอนุญาต (5 ปี)
ผลหากไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ไม่สามารถประกอบวิชาชีพได้
ไม่สามารถเลื่อนวิทยฐานะได้
ไม่สามารถรับเงินเดือน/เงินวิทยฐานะ
บทลงโทษเกี่ยวกับใบอนุญาต(โทษอาญา)
มาตรา 78 จําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสอง
หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (ฝ่ าผืน ม.43 ที่
กําหนดให้ต้องมีใบอนุญาตถึงทําการใดๆได้)
มาตรา 79 จําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหก
หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ(ฝ่ าผืนม.56 : แสดงตน
ว่ามีสิทธิ์/ผบ.รับคนไม่มีสิทธิฯ ม. 56 : สั่งพักใช้)
คุณธรรมจริยธรรมสําหรับครู
 ความหมาย คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
คุณธรรม คือ ธรรมที่เป็นคุณความดี
คือ ความดีงามของนิสัยหรือการกระทําจนเกิดความเคยชิน
คือ คุณสมบัติที่เป็นความดี ความถูกต้องอยู่ในใจ ทําให้ทํา
พฤติกรรมเป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
คือ หลักแห่งความความประพฤติปฏิบัติที่ดีงาม
คุณธรรม คุณสมบัติที่เป็นความดีความถูกต้องซึ่งอยู่ในใจคน
เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
นามธรรม
คุณธรรมสําหรับครู
คุณธรรมของครู
คือ ความดีงามที่อยู่ในส่วนลึกจิตใจของครู เป็นแรง
ผลักดันให้ครูทําหน้าที่ของครูอย่างถูกต้อง เหมาะสม
และสมบูรณ์ยิ่ง
เช่น กัลยาณธรรม พรหมวิหารสี่ สังฆหวัตถุสี่ ฆา
รวาสธรรมสี่ เป็นต้น
จริยธรรมสําหรับครู
 ความหมาย จริยธรรม
คือ ความประพฤติหรือกริยาที่ควรประพฤติ
แนวทางการประพฤติปฏิบัติตนปฏิบัติตนให้เป็นคนดี
หลักหรือตัวกฎเกณฑ์ที่ควรปฏิบัติ
ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี อยู่ภายในบรรทัดฐานของสังคม
การแสดงออก
รูปธรรม
จริยธรรมสําหรับครู คือแนวทางประพฤติปฏิบัติที่ถูกที่ดี ที่ควรทําของครู
ค่านิยมของครู
 ความหมาย ค่านิยม
คือ - สิ่งที่สังคมถือว่ามีค่าพึงปรารถนาที่ต้องการเกิดในสังคม
ปลูกฝังให้สมาชิกปฏิบัติหรือดําเนินชีวิต
- ค่านิยมเปลี่ยนแปลงได้ เพราะค่านิยมมาจากความเชื่อ
- ค่านิยมเป็น ความรู้สึก ความเชื่อ ค่านิยมเป็นตัวกําหนด
พฤติ กรรมมนุษย์ ค่านิยมถ่ายทอดสู่รุ่นได้
ความรู้สึก ความเชื่อ
ค่านิยมใหม่จะเป็นสากลมากขึ้น เช่นยกย่องวัตถุ ความหรูหราฟุ่ มเฟือย
อิสระ ตามตะวันตก ใช้โทรศัพท์มือถือ ยึดอํานาจเกียรตินิยม รักษาสุขภาพ
ประเภทค่านิยม
 ประเภทค่านิยม
- ค่านิยมเป้ าหมายชีวิต เช่น การช่วยเหลือคน การยกย่อง การทํางานสบาย
ความสุขในครอบครัว ความสําเร็จในชีวิต ความสงบทางใจ
- ค่านิยมที่เป็นวิถีปฏิบัติ เช่น การรักษานํ้าใจ กตัญ�ู ซื่อสัตย์ เอาตัวรอด
 ค่านิยมจําแนกได้ 3 ประการ
- ค่านิยมทางวัตถุ เช่น การแต่งกาย ที่อยู่อาศัย ยานพาหนะ
- ค่านิยมทางจิตใจ เช่น ความเชื่อศาสนา ไสยศาสตร์ กริยามารยา
- ค่านิยมทางความประพฤติ เช่น สังสรรค์ ดื่ม มีภรรยาน้อย
ค่านิยมบางอย่าง ควรวิเคราะห์ ควรแก้ไขให้เหมาะกับสังคมไทย
เปรียบเทียบค่านิยม
 ค่านิยมพื้นฐาน (สําหรับคนทั่วไป)
- มีศิลธรรม - มีคุณธรรม
- รักษาธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม - เคารพ กฎหมาย
 ค่านิยมสําหรับวิชาชีพ(เฉพาะกลุ่ม)
- อุดมการณ์ในวิชาชีพของตน - วินัยของวิชาชีพของตน
- มารยาทของวิชาชีพของตน - กฎหมายวิชาชีพของตน
คุณธรรมจริยธรรมสําหรับครู
 คุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
เพราะคุณธรรมเป็นธรรมะในจิตใจเมื่อแสดงคุณธรรม
ออกมา ย่อมประจักษ์เป็นจริยธรรม
เช่น ความเมตตากรุณา ความกตัญ�ู ความเห็นใจ ความซื่อสัตย์
สุจริต ความเห็นอกเห็นใจ ความเป็นผู้รู้จักตน การปรับตัว ความ
รับผิดชอบ ความอดทนพรากเพียร ความกล้าหาญ ความมีเหตุผล
ความสําคัญคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 คุณธรรม จริยธรรมค่านิยมมีความสําคัญจําเป็นสําหรับครู
เพราะ -ครูเป็นคนดีของสังคม และถูกคาดหวังจากสังคม
- ครูเป็นวิชาชีพชั้นสูง สังคมยกย่อง นับถือ ต้องรักษาภาพ
- ครูเป็นผู้สอน สร้างคน สร้างสังคม ครูต้องทําตัวดี ให้เป็น
แบบอย่าง น่ายกย่องก่อนที่จะไปสอนผู้อื่น
คุณธรรม จริยธรรม สามารถปลูกฝัง กล่อมเกลา ปรับปรุงแก้ไข
พัฒนาให้เกิดกับครู และให้คงอยู่ได้
ประโยชน์คุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 คุณธรรม จริยธรรมค่านิยมเป็นประโยชน์ต่อครู คือ
- ประโยชน์ต่อตัวครู ได้รับการยกย่อง สรรเสริญ ดําเนินชีวิตอย่าง
เป็นสุข และเจริญก้าวหน้า
- ประโยชน์ต่อผู้เรียน นักเรียนได้แบบอย่าง ประพฤติปฏิบัติที่ดี สังเกต เอาอย่าง
เจริญรอยตาม
- ประโยชน์ต่อสถาบันวิชาชีพครู คนศรัทธาเชื่อถือ ร่วมมือ ช่วยเหลือ
- ประโยชน์ต่อสังคมความมั่นคงประเทศชาติ เพราะครูช่วยสั่งสอนอบรมศิษย์
ชุมชน สังคม เป็นแบบอย่างที่ดี
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 ตัวอย่างคุณธรรมสําหรับครู เช่น สารัตถปกาสินี 7 ประการ
- ปิยตา ทําตนเป็นที่น่ารัก เป็นที่รักของศิษย์
- ครุตา ทําตนน่าเคารพของศิษย์
- ภาวนยตา อบรมตนให้เจริญ เป็นที่เคารพยกย่อง
- วัตตุตา การอุตสาห์สั่งสอน มานะในการอบรม
- วัจนักขันติ การอดทนต่อถ้อยคํา คํารบกวนของศิษย์
- อนิโยชนัง การไม่ชักนําไปในทางที่ควร
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 กัลยาณธรรม 8 ประการ
- ศรัทธา การเชื่อกรรมและผลของกรรม
- ศิล การประพฤติ ปฏิบัติที่เป็นปกติวิสัย
- สุตะ การตั้งในมุ่งฟัง ใฝ่ ศึกษา
- จาคะ การตั้งหน้า แบ่งบัน เสียสละ
- วิริยะ การพรากเพียรด้วยใจชอบ
- สติ การรอบรู้ไม่เพ้อเจ้อ
-สมาธิ การตั้งใจมั่น ไม่หวั่นไว
- ปัญญา การรู้แจ้งชัด กว้างไกล ลึกซึ้ง
 ทศพิธราชธรรม ธรรมสําหรับพระราชา นักบริหาร ผู้ปกครอง
- ทาน การให้ เสียสละ
- ศิล การประพฤติ ปฏิบัติที่เป็นปกติวิสัย
- บริจาค เสียสละ ความสุข ความสบายของตน
- อาชชวะ ซื่อตรง ซื่อสัตย์
- มัทวะ ความสุภาพอ่อนโยน
- ตบะ การระงับ ยับยั้ง ไม่ให้กิเลสเข้าครอบงํา
-อักโกธะ การไม่โกรธ ไม่ลุอํานาจ
- อวิหิงสา การไม่เบียดเบียน
- ขันติ การอดทน อดกลั้น
- อวิโรจนะ การไม่ประพฤติผิดธรรม
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 สังคหวัตถุ4 ธรรมยึดเหนี่ยวใจให้สะอาด ได้แก่
ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา
 ฆราวาสธรรม4 ธรรมสําหรับการครองเรือน ได้แก่
สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ
 พรหมวิหาร 4 ธรรมสําหระบผู้ปกครอง ได้แก่
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
 มรรค 8 ทางปฏิบัติเพื่อพ้นทุกข์ แก้ปัญหาชีวิต แก้ปัญหาสังคม
หลักปฏิบัติทางสายกลาง
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 สุจริต 3 ได้แก่ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต
 ธรรมจักร 4 ธรรมสําหรับการทําให้ชีวิตรุ่งเรื่อง
 วุฒิธรรม 4 ธรรมที่ทําให้เกิดความเจริญงอกงาม
 อคติ 4 คือความลําเอียง 4 ประการ
 อบายมุข 6 ทางแห่งความเสื่อม 6 ประการ
 อริทรัพย์ 7 ทรัพย์อันประเสริฐ
 สัปุริสธรรม 7 ธรรมของคนดี 7 ประการ
ตัวอย่างคุณธรรม
 คุณธรรม 4 ประการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
- รักษาความสัจ ความจริงใจต่อตนเองที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม
- การรู้จัก ข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเอง ให้ประพฤติปฏิบัติในความสัจ ความดีนั้น
- การอดทน อดกลั้น อดออม จะไม่ประพฤติล่วงความสัจสุจริต ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด
- การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต รู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อยของตนเพื่อประโยชน์ส่วน
ใหญ่ของบ้านเมือง
 คุณธรรมตามหลักพระพุทธศาสนา
- หิริ โอตตัปปะ ธรรมคุ้มครองโลก
- ขันติ โสรัจจะ ธรรมที่ทําให้งาม
- สติ สัมปชัญญะ ธรรมมีอุปการะมาก
ตัวอย่างคุณธรรม
 คุณธรรม 4 ประการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(คราวฉลองครองราชย์ครบ 60 ปี ครบ9 มิ.ย.49)
- คิด พูด ทําด้วยมุ่งดี มุ่งเจริญ
- ช่วยเหลือ ประสานประโยชน์
- ประพฤติสุจริต ตามกติกา
- คิดทําด้วยเหตุผลที่ถูกต้อง ลงรอย สามัคคี
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 ตัวอย่างจริยธรรมสําหรับครู เช่น
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 ตัวอย่างจริยธรรมสําหรับครู เช่น
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 ตัวค่านิยมของครู เช่น
 ค่านิยมพื้นฐาน 5 ประการ
- การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร รับผิดชอบ
- การประหยัดและอดออม
- การมีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย
- ปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา
- ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 ตัวค่านิยมของครู เช่น
 ค่านิยมสร้างสรรค์ 5 ประการ สําหรับข้าราชการ
- กล้ายืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกต้อง
- ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ
- โปร่งใส ตรวจสอบได้
- ไม่เลือกปฏิบัติ
- มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 ตัวค่านิยมของครู เช่น
 ค่านิยมในการทํางานของบุคคล 4 ประการ
- การทํางานมุ่งผลประโยชน์ส่วนตน
- การทํางานมุ่งผลประโยชน์ส่วนรวม
- การทํางานมุ่งความสําเร็จของงาน
- การทํางานแบบลมเพลมพัด
ค่านิยมที่พึงประสงค์7 ด้าน
1) ค่านิยมในความซื่อสัตย์สุจริต
2) ค่านิยมในระบบคุณธรรม
3) ค่านิยมในหลักประชาธิปไตย
4) ค่านิยมที่ยึดถือหลักการมากกว่าตัวบุคคล
5) ค่านิยมในความประหยัดและขยัน
6) ค่านิยมของการรวมกลุ่ม
7) ค่านิยมในระเบียบวินัย
Integrity ทํางานอย่างมีศักดิ์ศรี
Active ขยัน ตั้งใจ ทํางานเชิงรุก
Moral มีศีลธรรม คุณธรรม
Relevant รู้ทันโลก ปรับตัวทันโลก ตรงกับสังคม
Efficient มุ่งเน้นประสิทธิภาพ
Accountability รับผิดชอบต่อผลงาน ต่อสังคม
Democracy มีใจและการกระทําที่เป็นระชาธิปไตย
มีส่วนร่วม โปร่งใส
Yield มีผลงาน มุ่งเน้นผลงาน 79
I AM READYค่านิยมข้าราชการยุคปฏิรูป
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 ตัวค่านิยมที่ดีของครู 12 ประการ ได้แก่
- การดูแลเอาใจใส่ห่วงใย - การเป็นพลเมืองที่ดี
- การให้ความร่วมมือ - ความกล้าหาญ ความมีนํ้าใจ
- ความยุติธรรม ความเที่ยงธรรม- ความซื่อสัตย์ ความจริงใจ
- การยึดหลักคุณธรรม - การเป็นผู้นํา แบบอย่างที่ดี
- ความจงรักภักดี - ความอุตสาหะ พรากเพียร มุ่งมั่น
- ความเคารพ ยํ่าเกรง นับถือ - ความรับผิดชอบ
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 ตัวค่านิยมที่ไม่ดีของครู ได้แก่
- การถือฤกษ์ ถือยาม - ความสนุสนาน เพลิดเพลิน
- ความฟุ่ มเฟือย - ความนิยมในศิลป วัฒนธรรมต่างชาติ
- ความนิยมของนอก - การทําตัวตามสบาย
- การยึดสิ่งศักดิ์สิทธิ์ - การแสวงหาโชคลาภ
- การใช้ยาเสพติดเป็นสื่อสัมพันธ์
- การยกย่องคนประพฤติผิด
ตัวอย่างคุณธรรมจริยธรรมค่านิยม
 ค่านิยมใหม่
- - ทันโลก ทันเหตุการณ์ เรียนรู้ปรับตัวอย่างต่อเนื่อง
- - มุ่งพัฒนาประสิทธิภาพ รู้ความคุ้มค่า คุ้มทุน
- - รับผิดชอบต่อผลงาน ต่อประชาชน
- - เป็นประชาธิปไตย มีส่วนร่วม โปร่งใส
- - มุ่งเน้นผลงาน มีผลงานประจักษ์
- - มีศิลธรรม คุณธรรม
- - ขยัน ทํางานเชิงรุก ไม่ดูดาย มีศักดิ์สรี
วินัยและการรักษาวินัย
 ความหมายของวินัย
วินัย คือ ระเบียบแบบแผนข้อปฏิบัติที่กําหนดขึ้นสําหรับให้คนในองค์กร
ปฏิบัติ (วินัยเป็นทั้งข้อห้ามและข้อปฏิบัติ)
วินัยข้าราชการ คือ ข้อกําหนดเพื่อให้ข้าราชการปฏิบัติตามระเบียบแบบ
แผนของทางราชการ รวถึงปฏิบัติต่อตนเอง ครอบครัว สังคม ส่วน
ราชการประเทศชาติ
วินัยข้าราชการครู คือ ข้อกําหนดเชิงพฤติกรรมสําหรับครูเพื่อปฏิบัติ
ตามแบบแผน ข้อบังคับ เพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุเป้ าหมาย อย่างมี
ประสิทธิภาพ
วินัยและการรักษาวินัย
 จุดมุ่งหมายของวินัยข้าราชการครู
วินัยและการรักษาวินัย
ลักษณะวินัยข้าราชการครู
- เดิมใช้ระเบียบพลเรือน
- ใหม่ กําหนดไว้ใน พรบ.รบ.ข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาพ.ศ. 2547 (ม. 82 – 95) จําแนกเป็น
- วินัยต่อประเทศชาติ - วินัยต่อระบบราชการ
- วินัยต่อผู้บังคับบัญชา – วินัยต่อผู้ร่วมงาน
- วินัยต่อประชาชน - วินัยต่อตนเอง
- วินัยในฐานะผู้บังคับบัญชา
วินัยและการรักษาวินัย
เพิ่มหลักการใหม่ๆ
- ไม่กลั่นแกล้ง ใส่ร้าย หรือร้องเรียนเป็นเท็จ
- ไม่กระทําการโดยมีความมุ่งหมายเป็นการซื้อ ขาย
(จ้าง-รับจ้างทําผลงาน) ตําแหน่งหรือวิทยฐานะ
- ไม่เป็นกลางทางการเมือง เกี่ยวข้องกับซื้อสิทธิ ขายเสียงการ
เลือกตั้ง สส. สว. สมาชิกสภาท้องถิ่น ฯลฯ
- การข่มเหง ดูหมิ่น กดขี่ เหยียดหยามผู้เรียน
- ผู้เสพยาเสพติด/ผู้สนับสนุน เล่นการพนันเป็นอาจิณ
- การล่วงละเมิดทางเพศต่อนักเรียนนักศึกษา
วินัยและการรักษาวินัย
วินัยร้ายแรง
- การทุจริตต่อหน้าที่
- การไม่ปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายฯทําให้ราชการ
เสียหายร้ายแรง
- การขัดคําสั่งผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งชอบด้วยกฎหมาย
ทําให้ราชการเสียหายร้ายแรง
- การละทิ้งทอดทิ้งหน้าที่ทําให้ราชการเสียหายร้ายแรง
- การละทิ้งหน้าที่ติดต่อกันเกินกว่า 15 วันโดยปราศจาก
เหตุผลอันสมควร
- การกลั่นแกล้ง กดขี่ ข่มเหง ดูหมิ่นเหยียดหยาม
ผู้เรียนและผู้มาติดต่อราชการ
วินัยและการรักษาวินัย
วินัยร้ายแรง(ต่อ)
- การซื้อขายหรือกระทําการเพื่อให้ได้รับการแต่งตั้งดํารง
ตําแหน่ง วิทยฐานะโดยมิชอบ การคัดลอก ลอกเลี่ยน
จ้าง รับจ้างทําผลงานวิชาการ เพื่อเลื่อนตําแหน่งหรือวิทยฐานะ
- การเข้าไปเกี่ยวข้องกับการทุจริต ซื้อขายเสียงเลือกตั้ง
ทางการเมือง
- การถูกศาลสั่งลงโทษจําคุก
- การเสพยาเสพติด สนับสนุนให้ผู้อื่นเสพยาเสพติด
เล่นการพนันเป็นอาจิณ ละเมิดทางเพศนักเรียนนักศึกษา
วินัยและการรักษาวินัย
วินัยไม่ปรากฏ (แต่อยู่ในกรณีอื่น)
- การทําหน้าที่พิเศษ ที่จะต้องสนใจ รับทราบเหตุการณ์
ความเคลื่อนไหวอันเป็นอันตรายต่อประเทศชาติหรือ
ป้ องกันภยันตรายต่อประเทศชาติ
- การรักษาความลับของทางราชการ
- การกระทําการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน
- การรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา
หลักการดําเนินการทางวินัยเบื้องต้น
แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
การดําเนินการทางวินัย
ไม่ร้ายแรง
(ผู้บังคับบัญชา)
ร้ายแรง
(ผู้มีอํานาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง)
แต่งตั้งกรรมการสอบสวน
หมวด 7สืบข้อเท็จจริง
ร ้องเรียน
 กรณีความผิดวินัยไม่ร้ายแรง
- ผู้บังคับบัญชาที่สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนสั่งลงโทษ
ตามสถานโทษที่กฎ ก.ค.ศ. กําหนด
 กรณีความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
- ต้องเสนอให้ ก.ค.ศ. หรือ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาพิจารณา
เพื่อมีมติแล้วแต่กรณี
การพิจารณาความผิดและโทษ
- ลงโทษผู้บังคับบัญชาที่ปกป้ องความผิด หรือปฏิบัติหน้าที่
โดยไม่สุจริตในการดําเนินการทางวินัยแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
- กําหนดโทษทางวินัย มี 5 สถาน
ไม่ร้ายแรง  ภาคทัณฑ์
 ตัดเงินเดือน
 ลดขั้นเงินเดือน
ร้ายแรง  ปลดออก
 ไล่ออก
โทษทางวินัยของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ไม่ร้ายแรง  ภาคทัณฑ์  ตัดเงินเดือน  ลดขั้นเงินเดือน
ร้ายแรง  ปลดออก  ไล่ออก
ผู้มีอํานาจบรรจุแต่งตั้งตามมาตรา 53 (ผอ.สถานศึกษา)โดยอนุมัติ
อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
กฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยอํานาจการลงโทษทางวินัยไม่ร้ายแรง
- สิทธิเกี่ยวกับด้านวินัย
 ร้องทุกข์ (ต่อ อ.ก.ค.ศ.เขตฯ ภายใน 30วัน)
- สั่งให้ออกจากราชการที่ไม่ใช่วินัย
- ผบ.ใช้อํานาจไม่ถูกต้อง ไม่เป็นตามกม.
- คับข้องใจจากการปฏิบัติผู้บังคับบัญชา
 อุทธรณ์ (กรณีถูกลงโทษทางวินัย)
- ไม่ร้ายแรง ต่อ อ.ก.ค.ศง ภายใน 30 วัน
- ร้ายแรง ต่อ ก.ค.ศง ภายใน 30 วัน
 ฟ้ องศาลปกครอง (อุทธรณ์แล้ว) ภายใน 90 วัน
สิทธิทางวินัย
ความเป็นพลเมืองที่ดี
 ครู
ข้าราชการ คือ เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือข้าราชการประจําเป็นหลัก
(ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ ที่กฎหมายกําหนด)
พลเมือง คือ ประชาชนในประเทศ ซึ่งมีหน้าที่ตามกฎหมาย
ตามขนบธรรมเนียมประเพณี
ข้าราชการครู ต้องปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ
 ข้าราชการ และ  ประชาชน
ความเป็นพลเมืองที่ดี
 พลเมือง
พลเมือง คือ ประชาชนซึ่งเป็นกําลังอันสําคัญของประเทศชาติ
พลเมืองดี คือ ประชาชนที่มีคุณสมบัติที่ดีที่สามารถดํารงชาติไว้ได้
พลเมืองที่ดี หมายถึง
พลเมืองที่มีคุณลักษณะที่สําคัญ คือเป็นผู้ที่ยึดมั่นในหลักศิลธรรมและ
คุณธรรมของศาสนา มีหลักการทางประชาธิปไตยในการดํารงชีวิต
ปฏิบัติตามกฎหมาย ดํารงตนเป็นประโยชน์ต่อสังคม มีการช่วยเหลือ
เกื้อกูลกัน อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาสังคม และประเทศชาติต่อไป
ความเป็นพลเมืองที่ดี
 พลเมืองที่ดี
พลเมืองที่ดี คือ บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ มีเหตุผลและมีวิจารณญาณ
ในการตัดสินใจเลือกปฏิบัติ ตระหนักในบทบาทหน้าที่รับผิดชอบในสิทธิ
หน้าที่ที่มีต่อตนเอง ต่อครอบครัว ต่อสังคม ตลอดจนมีคุณสมบัติที่
จําเป็นเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคม
ลักษณะความเป็นพลเมืองที่ดี คือ นิสัยและการกระทําของบุคคล ซึ่งสอด
คล้องกับกฏเกณฑ์ทางศาสนา และกฎหมายของบ้านเมือง รวมถึงลักษณะ
ซึ่งเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน เช่น ความรู้สึกรับผิดชอบ
มีวินัยในสังคม มีความเอื้อเฟื้อ มีความเกรงใจ
 ความเป็นพลเมืองที่ดี
 ลักษณะความเป็นพลเมืองที่ดี
-มีระเบียบวินัย - มีความซื่อสัตย์สุจริตยุติธรรม
- ขยัน ประหยัด ยึดมั่นในวิชาชีพ - สํานึกรับผิดชอบต่อประเทศชาติ
- รู้จักริเริ่ม วิจารณ์ ตัดสินด้วยเหตุผล
- กระตือรือร้นในการปกครองระบอบฯ
- มีพลานามัยที่สมบูรณ์
- พึ่งตนเอง มีอุดมคติ
- ภาคภูมิ ทํานุบํารุงศิลปวัฒธรรม
– เสียสละ เมตตา กตัญ�ู กล้าหาญ สามัคคี
 ความเป็นพลเมืองที่ดี
 ลักษณะความเป็นพลเมืองที่ดีในสังคมประชาธิปไตย
- เคารพกฎหมายบ้านเมือง
- เคารพสิทธิ เสรีภาพบุคคลอื่น
- รับผิดชอบต่อหน้าที่ต่อตน ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศ
- มีเหตุผล ใจกว้าง ยอมรับฟังเหตุผล
- มีคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิต
- ร่วมแก้ปัญหาชุมชน สังคม ประเทศชาติ
 ความเป็นพลเมืองที่ดี
 หน้าที่ครูในฐานะพลเมืองที่ดี
- มีความรักชาติ เคารพศาสนา เทิดทูนพระมหากษัตริย์
- ศรัทธาการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
- เคารพกฏหมายบ้านเมือง - เสียภาษีบํารุงรัฐ
- ซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้าที่การงาน - ขยันหมั่นเพียรประกอบอาชีพสุจริต
- ไม่ตกเป็นทาสยาเสพติดและอบายมุขทุกชนิด
- พัฒนาตนเองให้สมบูรณ์และก้าวหน้าอยู่เสมอ
- ช่วยสร้าง ป้ องกัน รักษา สาธารณสมบัติของชาติ
- เสียสละไม่เห็นแก่ตัว เมื่อชาติมีภัยก็สามารถเสียสละชีวิตเพื่อปกป้ องชาติได้
 ความเป็นพลเมืองที่ดี
 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของคนไทย (พลเมืองไทย)
 คุณลักษณะร่วม คือ ลักษณะที่คนไทยควรมี มี 9 ประการ คือ
- มีความใฝ่ รู้ -มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
- มีความสามารถด้านการวิเคราะห์และสังเคราะห์
–มีวินัยในตนเอง - มีความอาทรต่อชุมชนและระบบนิเวศ
- มีความซื่อสัตย์สุจริต ยุติธรรม -ฉันทะและวิริยะในการงาน
- มีความสามารถในการปรับตัว และมีความสามารถ
ในการทํางานเป็นทีม
 ความเป็นพลเมืองที่ดี
 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของคนไทย (พลเมืองไทย)
คุณลักษณะเฉพาะ คือ คนไทยควรมีลักษณะเฉพาะที่อาจแตก
ต่างจากชนชาติอื่น ดังนี้
- มีความสามัคคี - ประนีประนอมและรู้จักให้อภัย
- อดกลั้น -เมตตากรุณา –ละอายต่อการทําชั่ว
- มีความรักและยึดมั่นในสัจจะ -กล้าหาญทางจริยธรรม
-รับผิดชอบต่อครอบครัวและชุมชน
-รักและยึดมั่นในอหิงสธรรม
 ความเป็นพลเมืองที่ดี
 พลเมือง(คนดี) ตามหลักพระพุทธศาสนา สัปปุรุษ หรือสัตบุรุษ
ต้องยึดธรรมของคนดี คนเป็นบัณฑิต คนฉลาด (สัปปุริสธรรม7)
- ธัมมัญ�ุตา (ความเป็นผู้จักเหตุ)
- อัตถัญ�ุตา (ความเป็นผู้รู้จักผล)
- อัตตัญ�ุตา (ความเป็นผู้รู้จักตน)
- มัตตัญ�ุตา (ความเป็นผู้รู้จักประมาณ)
- กาลัญ�ุตา (ความเป็นผู้รู้จักกาล)
- ปริสัญ�ุตา (ความเป็นผู้รู้จักชุมชน)
 ความเป็นพลเมืองที่ดี
 ผลดีอันเกิดจากการเป็นพลเมืองที่ดี
- มีความเป็นอยู่ปลอดภัย
- เป็นที่นิยมรักใคร่ของคนทั่วไป
- เป็นที่ต้องการของสังคม ของชาติ เพราะเป็นคนมีประโยชน์
- ช่วยส่งเสริมการพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้าไปได้รวดเร็ว
- คนในชาติอยู่ร่วมกันด้วยความร่มเย็นเป็นสุข
- สามารถดํารงชาติไว้ได้
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 ความหมายมนุษยสัมพันธ์
คือ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน หรือระหว่าง
บุคคลกับบุคคล บุคคลกับกลุ่ม กลุ่มกับคณะหรือสังคม
คือ วิธีครองใจคน เพื่อให้คนเกิดความรัก สามัคคี ทํางาน
ร่วมกัน ด้วยความเต็มใจ ยอมรับซึ่งกันและกัน
คือ วิธีหรือกระบวนการปฏิบัติต่อกัน เพื่อให้เกิดความ
สัมพันธ์ระหว่างบุคคลในหน่วยงาน ก่อให้เกิดขวัญ
ในการทํางาน งานมีประสิทธิภาพ
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 ความสําคัญของ มนุษยสัมพันธ์
- ต่อการดําเนินชีวิตในครอบครัว
- ต่อการดําเนินชีวิตในสังคม
- ต่อการดําเนินชีวิตขององค์การ
- ต่อเศรษฐกิจ
- ต่อการเมืองของประเทศ
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 ประโยชน์ของมนุษยสัมพันธ์
- ทําให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างคนทําให้เกิดความราบรื่นในการคบหา
- เกิดความเลื่อมใส ศรัทธา เชื่อถือ ไว้วางใจ เข้าใจกันดี
- ร่วมมือร่วมใจทํางานลุล่วง บรรลุวัตถุประสงค์หน่วยงาน มีประสิทธิภาพ
- เกิดความรักใคร่สามัคคี กลมเกลียว ป้ องกันความขัดแย้ง ความหวาดระแวงสงสัย
ไม่ไว้วางใจ
- เกิดความสามัคคีในการทํางาน ความสําเร็จในกิจการร่วมกัน
- นําความหวัง ความตั้งใจสู่ความสําเร็จความรุ่งโรจน์ ความก้าวหน้า
- ทุกส่วนมีความสุข
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 วัตถุประสงค์ของมนุษยสัมพันธ์
- เพื่อให้บุคคลรู้จักและเข้าใจตนเอง
- เพื่อให้บุคคลรู้จักและเข้าใจผู้อื่น
- เพื่อให้มนุษย์รู้จักเข้าใจเพื่อนมนุษย์
- เพื่อให้บุคคลได้รับความเชื่อถือ ศรัทธา และชื่นชอบจากผู้อื่น
- เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ
- ตนมีความสุข ผู้อื่นมีความสุข สังคมมีความสุข
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์
- การเข้าใจตนเอง
- การเข้าใจผู้อื่น
- การยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
- การสร้างสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ดี
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 ปรัชญาพื้นฐานของมนุษยสัมพันธ์
- มนุษย์มีศักดิ์ศรี - มนุษย์มีความแตกต่าง
- มนุษย์ต้องการการจูงใจ
 มนุษย์สัมพันธ์จะเน้นความสําคัญ 5 ประการ
- การพัฒนาศักยภาพตนเอง –การเรียนรู้ความรับผิดชอบ
- การติดต่อสื่อสาร - การจูงใจ
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 หลักมนุษยสัมพันธ์
- การรู้จักตนเอง – มนุษย์มีความคล้ายคลึงกัน
- มนุษย์มีความแตกต่าง – การให้คุณค่าและศักดิ์สรีแก่ผู้อื่น
- การจูงใจ – การรู้จักบุคคลทั้งตัว
- การมีผลประโยชน์ร่วมกัน
- การทําให้ตนเองมีความสุข ผู้อื่นมีความสุข สังคมมี
ประสิทธิภาพ
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
มนุษยสัมพันธ์
รู้จักผู้อื่นรู้จักตนเอง รู้จัก สวล.รู้จักผู้อื่น
วิเคราะห์ตนเอง วิเคราะห์ผู้อื่น วิเคราะห์สวล.
ปรับปรุงตนเอง เข้าใจผู้อื่น ปรับตัวเข้าสวล.
พัฒนาตนเอง เข้าใจผู้อื่น สวล.
ตนเองเป็นสุข ผู้อื่นเป็นสุข สังคมดี มีประสิทธิภาพ
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 วิธีการสร้างมนุษยสัมพันธ์ของครู
- ทําความเข้าใจความต้องการ ความแตกต่าง ตลอดจนลักษณะของเพื่อ
ร่วมงาน สามารถชนะใจและเข้ามาร่วมทํางานด้วยความรัก ความพอใจ
- ยิ้ม ทําตัวกันเอง อารมณ์ขัน พูดทําจริงใจ ไม่เสแสร้ง พยายามชอบและ
สนใจคนอื่น
- รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา ยอมรับผู้อื่น ไม่เหยียบหยามใคร
- เคารพรับฟังความคิดเห็น และความสามารถของผู้อื่น
- บริการผู้อื่น อดทน มั่นคงในอารมณ์ ประมาณตน ถ่อมตน ยอมรับตนเอง
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 มนุษยสัมพันธ์ของครูกับนักเรียน
- สอนให้เกิดความรู้ความเข้าใจในวิชาการต่างๆ เต็มความสามารถ
- สอนด้วยบรรยากาศสนุกสนาน มีสาระ
- อบรมดูแลความประพฤติให้อยู่ในกรอบวินัย คุณธรรม
- ดูแล ทุกข์สุข ช่วยเหลือแก้ปัญหา
- เป็นที่ปรึกษา หารือ ช่วยเหลือ
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 มนุษยสัมพันธ์ระหว่างครูกับครู
- ร่วมมือทํา งานสังสอน สร้างสรรค์งาน
- ช่วยเหลือเกื้อกูลทางวิชาการ
- ช่วยเหลืองานส่วนตัว
- ทําหน้าที่แทนเมือคราวจําเป็น
- ให้กําลังใจซึ่งกันและกัน
- วาจาสุภาพ อ่อนน้อมต่อกัน ไม่ข่มเหงผู้อื่น
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 วิธีการสร้างมนุษยสัมพันธ์ของครูกับผู้ปกครองชุมชน
- แจ้งผลการเรียนศิษย์ให้ทราบเป็นระยะๆ
- ติดต่อผู้ปกครองแก้ปัยหาเด้ก นักเรียน
- เยี่ยมเพื่อสร้างความคุ้นเคย ร่วมกิจกรรมชุมชน
- เชิญผู้ปกครองมาร่วมกิจกรรม
- ครูร่วมมือจัดกิจกรรมเพื่อชุมชน
- โรงเรียนแจ้งข่าวสารต่อผู้ปกครอง ชุมชน
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 การปรับตัว
คือ การที่บุคคล ปรับปรุง พัฒนาตนเองทั้งเรื่องร่างกาย
จิตใจให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือสังคมที่ตนเองอยู่เพื่อให้
สามารถอยู่ได้อย่างพึงพอใจและมีความสุข
ครู ต้องปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือสังคมได้แก่
บทบาทหน้าที่ เด็ก เพื่อนครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ชุมชน
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 การปรับตัวของครู 3 แนวทาง
- ปรับปรุงตนเอง
- ปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น
- ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่ทํางาน
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 หลัก ทบ. เกี่ยวกับการปรับตัว (ปรับตนเองและปรับผู้อื่น)
 ทบ.ความสมดุลของไฮเดอร์;
- หากทราบว่าบุคคลชอบสิ่งใด เราก็ชอบสิ่งนั้นด้วย โอกาสที่เราและ
เขาจะผูกมิตรกันจะมีมากขึ้น
- หากทราบว่าบุคคลไม่ชอบสิ่งใด เราก็ไม่ชอบสิ่งนั้น โอกาสที่เราและ
เขาจะผูกมิตรกันจะมีมากขึ้น
 ทบ.ลิง 3 ตัวของขงจื้อ
-เอามือปิดหู - เอามือปิดตา -เอามือปิดปาก
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 ทบ. หน้าต่างของโจฮารี ;
ตนเองรู้ ตนเองไม่รู้
ผู้อื่นไม่รู้
ผู้อื่นรู้
เปิดเผย
เช่น พูดเสียงดัง แต่งกาย พูดดัง
จุดบอด
เช่น การยักคิ้ว การยืนกระดิกเท้า
ซ่อนเร้น
เช่น รู้สึกไม่ดีต่อเขาไม่พอใจ อิจฉา
มืดมน/อวิชชา
เช่น พูดเสียงดัง แต่งกาย พูดดัง
รับฟัง(ปรับตัว)
ปรับคนอื่น(บอก)
มนุษยสัมพันธ์และการปรับตัว
 การปรับตัวของครู
 สร้างความประทับใจในทางที่ดี
- แสดงความสามารถในการทํางาน - มีจริยธรรมและคุณธรรม
- มีความซื่อสัตย์และจงรักภักดี
ปรับตัวให้สอดคล้องในการทํางาน
- เข้าใจและรู้ใจ - ขอคําแนะนําหรือแนวทางปฏิบัติ
- เสนอข้อมูลหรือข้อคิดเห็น - รับฟังคําติชม และปรับปรุงแก้ไข
 เสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดี
- วางตัวเหมาะสมและปฏิบัติตามกฎระเบียบ - ช่วยดูแลและตรวจสอบงานให้ถูกต้อง
- ช่วยให้เป็นผู้ที่น่านับถือ - แก้ไขความเข้าใจผิดที่ผู้อื่นมีต่อตน
การทํางานร่วมกับผู้อื่น ทีม
 ความหมาย
 การทํางานเป็นทีม คือ การรวมตัวของกลุมบุคคล ที่มีเป้ าหมาย
ร่วมกันในการทํา สิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เกิดผลสําเร็จ ลุล่วงด้วยดี
 กลุ่ม(Group) คือ การรวมตัวเข้าด้วยกันของบุคคลจํานวนหนึ่ง
เพื่อบรรลุเป้ าหมายบางอย่าง
 ทีม(Team) คือ บุคคลที่ทํางานร่วมกันอย่างประสานในกลุ่ม
มีการพึงพาอาศัยกัน มีความรับผิดชอบ ทํางานให้บรรลุเป้ าหมาย
ร่วมกัน
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนNontaporn Pilawut
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครูkashinova
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 

What's hot (20)

ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรมO-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
O-NET ม.6-ลำดับและอนุกรม
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครู
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 

Similar to ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)

แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปUraiwantia
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Denpong Soodphakdee
 
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทIct Krutao
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56manus1999
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา หลักสูตรสารสนเทศศา...
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา  หลักสูตรสารสนเทศศา...การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา  หลักสูตรสารสนเทศศา...
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา หลักสูตรสารสนเทศศา...drkulthida
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556Thanaporn Sangthong
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557somdetpittayakom school
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษาการวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษาPrachyanun Nilsook
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลwasan
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง Jaru O-not
 

Similar to ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน) (20)

แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูป
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
Faculty And Curriculum Development (For Net Generation)
 
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ทในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
ในฝันสู่มาตรฐานสากล เอเชียแอร์พอร์ท
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา หลักสูตรสารสนเทศศา...
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา  หลักสูตรสารสนเทศศา...การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา  หลักสูตรสารสนเทศศา...
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา หลักสูตรสารสนเทศศา...
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
Vision for Teacher Education
Vision for Teacher EducationVision for Teacher Education
Vision for Teacher Education
 
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษาการวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
เล่มรายงานผลสอบ ปรับปรุง
 

More from สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ

ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

More from สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ (20)

รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหารรวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
 
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
 
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษารวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
 
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค กคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
 
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุงรวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
 
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบคู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
 
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอนคู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคล...
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
 
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการแนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
 

ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส่วน)