SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
Volume 33/2561
ฉบับที่ 33
FREE COPYFREE COPY
ขอเชิญบริษัทซอฟตแวรรวมลงทะเบียน
เพื่อรับบริการจับคูธุรกิจ
อีอีซี - อีอีซีไอ -
ดิจิทัล พารค - สมารท พารค
4 เรือธงนําไทยสูอุตสาหกรรม 4.0
10
ดูโรฟอรม
ใชหุนยนต
ชวยเพิ่มประสิทธ�ภาพการผลิต
ใชหุนยนต
ชวยเพิ่มประสิทธ�ภาพการผลิต
ใชหุนยนต
1515151515151515151515151515151515151515151515151515151515151515151515151515151515
สมารทสมารทสมารทสมารท
แมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่ง
08
เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจ�เนียร�่ง
สงระบบอัพไทมพีพลัสคลาวนเวอรชัวรไรด
เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจ�เนียร�่ง
สงระบบอัพไทมพีพลัสคลาวนเวอรชัวรไรด
เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจ�เนียร�่ง
โปรดักทิว�ตี้ อิมพรูฟเมนท โซลูชั่น
ตอบโจทย อุตสาหกรรม 4.0
ในยุคการแขงขันของธุรกิจที่นําเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาชวยใหการ
ดําเนินงาน การขยายตลาด รวมถึงการผลิตเขามามีบทบาทสําคัญในประเทศไทย
ที่มีจุดมุงหมายในการเปลี่ยนผานเขาสูยุคอุตสาหกรรม 4.0
Smart Industry ขอนําเสนอ การนําเทคโนโลยีเขามาเพิ่มศักยภาพของ
อุตสาหกรรมการผลิตของไทย อาทิ อุตสาหกรรมเสื้อผาสงออก อุตสาหกรรม
พลาสติกที่มีการนําเทคโนโลยีและเครื่องจักรที่ทันสมัยมาชวยในการเพิ่มศักยภาพ
ในการผลิตอยางนอย 15 เปอรเซ็นต และยังชวยใหธุรกิจสามารถลดคาใชจายลง
สามารถสงสินคาไดตรงกับความตองการของลูกคามากยิ่งขึ้น ลดความผิดพลาด
ในการทํางานในกระบวนการผลิต
นอกจากนี้ยังไดกลาวถึงทิศทางของรัฐบาลที่มุงผลักดันใหอุตสาหกรรม
การผลิตของไทยกาวเขาสู อุตสาหกรรม4.0 เพื่อรองรับการแขงขันและการเติบโต
ของประเทศอยางยั่งยืนในอนาคต พรอมทั้งแนวทางของประเทศในการสรางเขต
อุตสาหกรรมใหมถึง 3 แหง ประกอบดวย โครงการ เขตสงเสริมอุตสาหกรรมและ
นวัตกรรมดิจิทัล หรือ ดิจิทัลพารคไทยแลนด (Digital Park Thailand) ระเบียง
เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ อีอีซี (EEC) และ สมารท พารค (Smart
Park) เพื่อรองรับการเสริมสรางความแข็งแกรง เพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันของ
ประเทศสูงขึ้น ทําใหประเทศไทยสามารถกาวสูประเทศที่มีรายไดสูงในอนาคต
กองบรรณาธิการ
บทบรรณาธ�การ
เคร�่องจักรอัตโนมัติ >> 3
และอุตสาหกรรมอนาคต
ปจจัยหลักผลักดันสู
อุตสาหกรรม 4.0
อีอีซ� - อีอีซ�ไอ - >> 4
ดิจ�ทัล พารค -
สมารท พารค
4 เร�อธงนําไทยสูอุตสาหกรรม 4.0
เอ็กตรา โซลูชั่น >> 8
เอ็นจ�เนียร�่ง
สงระบบอัพไทมพีพลัสคลาวนเวอรชัวร
ไรด โปรดักทิว�ตี้ อิมพรูฟเมนท โซลูชั่น
ตอบโจทย อุตสาหกรรม 4.0
ซ�สเท็มบิท ตั้งเปา >> 9
พัฒนาเคร�่องจักรไทยสูตลาดโลก
ดูโรฟอรม ใชหุนยนต >> 10
ชวยเพิ่มประสิทธ�ภาพการผลิต
เดลิเทค >> 11
สงเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ
รองรับการกาวสูการเปลี่ยนแปลง
ทางนวัตกรรม
ว�ที กรุป >> 12
ใชระบบ เซมิออโตเมชั่น เพิ่มศักยภาพ
การผลิตกวา 50 เปอรเซ็นต
ซ�สเต็มสสโตน >> 13
สงแพลตฟอรมการจัดการโรงงาน
ผานสมารทโฟน สานรับ
อุตสาหกรรม 4.0
กิจกรรม >> 14
สมารท >> 15
แมนนูแฟคเจอร�่ง
จุลสารขาว Smart Industry จัดทําโดย เขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย (Software Park Thailand)
ภายใตสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เลขที่ 99/31 อาคาร Software Park
ถนนแจงวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท 0-2583-9992 โทรสาร 0-2583-2884
เว็บไซต: www.swpark.or.th | www.nstda.or.th
Contentสารบัญ
3Smart Industry
(Correlation) ในอดีตระหวางแท็ก
เซ็นเซอรและการแจงเตือนที่เกิดขึ้น รวม
ถึงการวิเคราะหกลุมตัวแปรสําคัญแบบ
ไดนามิกและคะแนนความผิดปกติของ
เครื่อง การแจงเตือนลวงหนาดวยหลัก
การ Predictive ในปจจุบันจะเกิดขึ้นลวง
หนาและมีความแมนยําที่สูง โดยจะแจง
เตือนก็ตอเมื่อมีสัญญาณการเกิดเหตุจริง
เทานั้น
การใช Watson IoT ชวยให ปตท.
สามารถใชประโยชนจากขอมูลเชิงลึก
จากเซ็นเซอรหลายรอยตัวจากหลาย
ระบบ รวมกับขอมูลประวัติจากระบบวัด
ประสิทธิภาพการทํางานและการบํารุง
รักษา ซึ่งทั้งหมดผนวกรวมอยูใน Data
Lakeเดียวและสรางขึ้นบนสถาปตยกรรม
ขอมูลแบบไฮบริด ชวยใหผูบริหารตลอด
จนวิศวกรของ ปตท. สามารถมองเห็นรูป
แบบของ KPI และความเชื่อมโยงของ
ขอมูลตางๆ ที่มีความเกี่ยวเนื่องกันไมวา
จะเปน แรงสั่นสะเทือนผิดปกติ ความเร็ว
ที่สูงขึ้นของ gas turbine หรือแรงดันการ
ไหลของคอมเพรสเซอร เปนตน โดย
ระบบจะตรวจจับแลวคํานวณคาดการณ
ความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นลวงหนา
พรอมแจงเตือนผูที่เกี่ยวของกอนที่จะเกิด
ปญหาความลมเหลวของระบบขึ้น
ระบบอัจฉริยะนี้สามารถทํานายและ
แจงเตือนสภาพสินทรัพยของ ปตท. ลวง
หนา อีกทั้งยังผนวกความสามารถของ
แมชชีนเลิรนนิ่งที่ชวยให ปตท. สามารถ
ลดคาใชจายจํานวนมหาศาลที่เกิดจาก
การรีเซ็ทการทํางานของชุดอุปกรณ Gas
Turbine หลังจากเกิดเหตุหยุดทํางาน
ความสําเร็จของโครงการนํารอง
ทําให ปตท. มองถึงการนําแพลตฟอรม
Watson IoT ไปประยุกตใชกับระบบอื่นๆ
ตอไป เพื่อใหสามารถผนวกรวมขอมูล
จากเซ็นเซอรและแหลงขอมูลอื่นๆ มาใช
ในการวิเคราะหไดอยางมีประสิทฺธิภาพ
ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ปตท. ยังวางแผนที่จะ
นํารูปแบบการดําเนินการที่ประสบความ
สําเร็จในครั้งนี้ไปใชกับสวนงานสําคัญๆ
ของโรงแยกกาซที่เหลืออีก 5 แหงตอไป
เครื่องจักรอัตโนมัติ (Automation
system) คือ เครื่องจักรที่มีการนํา
คอมพิวเตอรเขามาชวยในการทํางาน
ทําใหเครื่องจักรสามารถทํางานไดเอง
โดยอาจเปนเพียงสวนหนึ่งของขั้นตอน
การผลิต เทานั้นหรือเปนการผลิตแบบ
อัตโนมัติทั้งระบบ โดยคนจะมีหนาที่ใน
การออกคําสั่งและดูแลเครื่องจักรเทานั้น
การใชเครื่องจักรอัตโนมัติในการทํางาน
จะทําใหสามารถทํางานไดงาย ปรับเปลี่ยน
ไดงายและสามารถดูแลสถานะของเครื่อง
จักรและการผลิตไดทันที อีกทั้งยังชวยลด
อัตราการเกิดอุบัติเหตุอีกดวย
ศิรินทร เปงศิริ กรรมการผูจัดการ
บริษัท เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจิเนียริ่ง กลาว
วา ในอุตสาหกรรมยุคที่ 4 เปนยุคของ
ความไรพรมแดน เปนยุคที่ธุรกิจถูกขับ
เคลื่อนดวยความตองการจากลูกคา การ
แขงขันทางอุตสาหกรรมไมไดแขงเฉพาะ
ในทองถิ่น หรือในประเทศเทานั้น ยุคไร
พรมแดนนี้ ทําใหเราสามารถสั่งผลิต
สินคาจากตางประเทศที่คุณภาพดีกวา
ราคาเทากัน และไดของเร็วกวาสินคาที่
ผลิตภายในประเทศแลว เพราะฉะนั้น
อุตสาหกรรมไทยจําเปนตองปรับตัวอยาง
รวดเร็ว ถาอุตสาหกรรมใดพรอมกอน
ยอมไดเปรียบ
ศศิธร เลาตอวา ยุค 4.0 เปนยุคของ
ความไรพรมแดนและธุรกิจถูกขับเคลื่อน
โดยลูกคา ถาหากโรงงานอุตสาหกรรม
สามารถนําเสนอสินคาที่ตรงกับความ
การกาวเขาสูยุคอุตสาหกรรม4.0 ซึ่ง
เปนยุคเครื่องจักรอัตโนมัติ (Automation
system) จะเขามาชวยในการผลิต
สินคาและเขามาชวยในการทํางานใหมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Smart Industry
จึงขอนําเสนอ เทรนเทคโนโลยีที่จะเขามา
มีบทบาทสําคัญในอนาคตอันใกลนี้
เคร�่องจักรอัตโนมัติ
ปจจัยหลักผลักดันสูอุตสาหกรรม 4.0
ตองการของลูกคาไดภายในระยะเวลาที่
รวดเร็วภายใตการประมวลผลขอมูลที่ถูก
ตอง โดยไมมีอุปสรรคเรื่องการสื่อสาร
และระยะทาง ก็จะสามารถเขาถึงลูกคาได
งายมีโอกาสทางการขายมากยิ่งขึ้น ลูกคา
ก็สามารถสั่งซื้อสินคาไดมากขึ้น
เมื่อเกิดการแขงขันทางธุรกิจแบบไร
พรมแดนในยุคนี้ เปนความไดเปรียบของ
ลูกคาที่สามารถเลือกแสวงหาสินคาที่
เฉพาะไดตามที่ตนเองตองการโดยการ
ตัดสินใจสั่งซื้อสินคาจากธุรกิจใดก็ตามไม
วาในประเทศหรือตางประเทศควรตอง
พิจารณาสิ่งเหลานี้คือ
1. กระบวนการการรับคําสั่งซื้อของ
โรงงานที่ลูกคาตองสามารถติดตาม
สถานะการสั่งซื้อและสถานะการผลิต
สินคาไดดวยตนเอง ไดในทุกขั้นตอน
2. มีระบบการยืนยันคําสั่งซื้อและ
ระยะเวลาจัดสงที่ชัดเจน
3. เลือกใชบริการขนสงที่มีมาตรฐาน
และติดตามได
4. ระบบชําระเงินที่ปลอดภัย
นอกจากนี้ ยังมีตัวอยางการนํา
เทคโนโลยี Watson IoT มาใชเสริม
ศักยภาพระบบปฏิบัติการที่โรงแยกกาซ
ระยองของบริษัท ปตท. จํากัด โดยในป
พ.ศ. 2560 บริษัท ปตท. ซึ่งเปนบริษัท
ผูผลิตกาซและนํ้ามันรายใหญที่สุดใน
ประเทศไทย ไดเริ่มนําเทคโนโลยี IBM
Watson IoT มาใชเปนครั้งแรกใน
ประเทศไทย เพื่อเพิ่มผลผลิตและเสริม
ศักยภาพระบบปฏิบัติการของโรงแยกกาซ
โดยเริ่มใชกับชุดgasturbine ของโรงแยก
กาซระยอง กอนที่จะขยายไปใชกับ
เครื่องจักรที่สําคัญทั้งหมดในโรงงานแยก
กาซทั้ง 6 แหง
ในอดีต ทีมงานมักไดรับการแจง
เตือนจํานวนมากทั้งที่ระบบไมไดมีปญหา
ซึ่งทําใหการเตือนภัยเริ่มกลายเปนสิ่งที่ไร
ความหมายสําหรับผูควบคุมและทีม
อยางไรก็ตาม ดวยการระบุคาสหสัมพันธ
4Smart Industry
การกาวเขาสูอุตสาหกรรม 4.0 ของ
ธุรกิจจะตองนําเสนอผลิตภัณฑที่มีการ
สอดแทรกของนวัตกรรมและเทคโนโลยี
เขามาเกี่ยวของ อาทิ การผลิตเครื่องดื่มที่
มีสวนผสมของวิตามินบํารุงรางกาย หรือ
การผลิตขาวที่มีคุณสมบัติพิเศษสําหรับ
ผูปวยเบาหวาน เปนตน
ประเทศไทยในฐานะประเทศกําลัง
พัฒนา และเปนฐานการผลิตของอุตสาห-
กรรมที่มีความสําคัญแหงหนึ่งของโลก
จําเปนอยางยิ่งที่จะนําเทคโนโลยีและ
ระบบอัตโนมัติเขามาชวยงานในการผลิต
ใหมากขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิต
และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน
กับประเทศตางๆ เพื่อตอบสนองตอ
ความตองการของเศรษฐกิจและสังคม
ทั้งในปจจุบันและอนาคต
วิโรจน ลิ่มตระการ ที่ปรึกษาอาวุโส
ศูนยบริการปรึกษาการออกแบบและ
วิศวกรรม สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีแหงชาติกลาววา การที่จะ
ทําใหประเทศไทยบรรลุเปาหมายสู
ในยุคที่การแขงขันไรพรมแดนและในยุคที่การแขงขันไรพรมแดนและ
รุนแรง การเขาถึงลูกคาไดโดยตรงจาก
เทคโนโลยีอินเทอรเน็ต และการนําเสนอเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต และการนําเสนอ
ในรูปแบบธุรกิจและผลิตภัณฑ/บริการในรูปแบบธุรกิจและผลิตภัณฑ/บริการ
นวัตกรรมใหมๆ เขามามีทบาทในการทํา
ธุรกิจมากขึ้น การปรับตัวของธุรกิจใน
ประเทศ ตองมองหาเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมใหมเขามาทดแทนการทํางาน
ในรูปแบบเดิมเพื่อรองรับการแขงขันใน
โลกยุคดิจิทัลที่มีความสะดวก รวดเร็ว
และสามารถผลิตสินคาไดตรงกับความ
ตองการและพฤติกรรมของผูบริโภค
มากขึ้น
อุตสาหกรรม จะตองมุงเนนไปใน
อุตสาหกรรมที่มีความพรอมที่ใกลเคียง
กัน หรือโรงงานที่มีความพรอมใกลเคียง
กัน ในหลากหลายอุตสาหกรรม จะตองมี
การผลักดันเพื่อใหมีโรงงานที่ประสบ
ความสําเร็จในการนําเครื่องจักรมาชวยใน
การทํางาน(Successcase) เพื่อประโยชน
ของโรงงาน มีการนําระบบการสื่อสารเต็ม
รูปแบบผานออนไลน เชน การนําวีดีโอ
คอล มาชวยในการแกไขปญหาทําให
ธุรกิจสามารถแกไขปญหาไดอยางรวดเร็ว
มาก และเรื่องของการสื่อสารจะเปนการ
สื่อสารเต็มรูปแบบ
สําหรับอุตสาหกรรมที่มีความพรอม
และมีการเดินหนาไปสูอุตสาหกรรม 4.0
มีการนําเครื่องจักรมาชวยในการทํางาน
อยางเต็มประสิทธิภาพ อาทิ อุตสาหกรรม
ฮารดดิสกอุตสาหกรรมยานยนต และ
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส เปนตน
“ในสวนของโรงงานที่กําลังปรับตัว
และเตรียมที่จะนําเครื่องจักรมาชวย
ในการทํางาน ควรเริ่มจากโรงงานกึ่ง
อัตโนมัติ มีการติดตั้งเครื่องมือวัด
ประสิทธิภาพการทํางาน การติดตั้งเครื่อง
มือวัดตางๆ อาทิเชนวัดอุณหภูมิ ความชื้น
และ เตรียมบุคลากรที่จะรองรับการ
เปลี่ยนแปลงกับวัฒนธรรมองคกรที่จะนํา
เครื่องจักรมาชวยในการทํางาน เตรียม
ระบบไอที ไวไฟ เพื่อรองรับการสื่อสาร
เรียลไทมเทาที่จําเปน เพราะเทคโนโลยีไป
เร็วมาก การลงทุนที่จะปรับตัวของโรงงาน
จะตองมุงเนนการลงทุนที่สงผลกระทบ
กับโรงงานโดยตรง และเครื่องจักรที่จะ
เอาเขามาจะตองเปนเครื่องจักรทางดาน
การผลิตที่มีผลกระทบตอรายได กําไร
ขาดทุนของโรงงาน สามารถผลิตสินคาที่
มีมาตรฐานการผลิตระดับสากล สามารถ
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพื่อรองรับกับ
ทิศทางที่ทําใหตนทุนการผลิตของโรงงาน
ตํ่าที่สุด” วิโรจน กลาว
ดาน นพมาศ ศิวะกฤษณกุล ประธาน
แมคคินซี่ แอนด คอมพานี (ประเทศไทย)
และประธานฝายการตลาดและฝายขาย
แมคคินซี่ในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งเปนบริษัท
ที่ปรึกษาดานการบริหารจัดการธุรกิจทั้ง
ภาครัฐ เอกชน และสังคม กลาววา
ในยุคของดิจิทัล องคกรตองปรับตัวเพื่อ
รับกับเทคโนโลยีใหมที่เปลี่ยนแปลงอยู
ตลอดเวลา องคกรเริ่มมีการใชเครื่องจักร
อัตโนมัติเพื่อชวยใหการบริหารจัดการ
ขอมูลและตรวจสอบขอผิดพลาดมากขึ้น
บริษัทไดทําการวิจัย DigiThaization:
Automation and future of jobs in
Thailand เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2560
ที่ผานมา ผลการวิจัยระบุวา ประเทศไทย
ในป 2573 หรือในอีก 12 ป อุตสาหกรรม
การผลิตของไทยจะกาวสูการนําเครื่อง
จักรอัตโนมัติมาใชการทํางานแบบเต็ม
รูปแบบ เชน การนําหุนยนตมาชวยใน
โรงงานอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มผลผลิต
และ สามารถที่จะชวยเพิ่มจีดีพีของ
ประเทศ 0.8-1.4 เปอรเซ็นต
รัฐเปดแผนกาวสู
อุตสาหกรรม 4.0
ในอีก 20 ปขางหนา
ทางดานกระทรวงอุตสาหกรรมเปน
หนึ่งในแมงานที่มีบทบาทสําคัญในการขับ
เคลื่อนอุตสาหกรรม 4.0 เพื่อใหสอดรับ
กับการพัฒนาประเทศใหมีการพัฒนาทาง
ดานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมอยางตอ
เนื่อง สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมได
จัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรม
ไทย 4.0 ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579)
ภายใตวิสัยทัศน “มุงสูอุตสาหกรรมที่
ขับเคลื่อนดวยปญญาและเชื่อมโยงกับ
เศรษฐกิจโลก”
อีอีซี - อีอีซีไอ -
ดิจิทัล พารค -
สมารท พารค
4 เรือธงนําไทยสูอุตสาหกรรม 4.0เรือธงนําไทยสูอุตสาหกรรม 4.0
5Smart Industry 5Smart IndustrySmart IndustrySmart IndustrySmart Industry
เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตเชื่อมตออุปกรณ
ปญญาประดิษฐและเทคโนโลยีสมองกล
ฝงตัว และกลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค
ทุนวัฒนธรรมและบริการที่มีมูลคาสูง
เนื่องจากการพัฒนาประเทศใหหลุด
พนจากกับดักประเทศรายไดปานกลาง
แลวกาวไปสูประเทศที่มีรายไดสูงนั้น
จําเปนตองมีการปรับโครงสรางอุตสาห-
กรรมอันเปนกลไกหลักในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจของประเทศ โดยมุงเนนการ
พัฒนาอุตสาหกรรมที่มีการใชเทคโนโลยี
ขั้นสูงในการผลิต และเปนอุตสาหกรรมที่
มีการพัฒนาในดานความคิดสรางสรรค
และนวัตกรรมตางๆ
ในการขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาห-
กรรมของประเทศก็เชนเดียวกัน เพื่อ
ใหการพัฒนาอุตสาหกรรมเปนไปอยางตอ
เนื่อง ตองมีการเตรียมการเพื่อแสวงหา
นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีใหม เพื่อการ
ตอยอด S-curve เดิมที่กําลังจะถึง
จุดอิ่มตัว ใหมีการพัฒนาตอไปไดอยาง
ตอเนื่อง
ขณะที่สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) โดย
ศูนยบริการปรึกษาการออกแบบ และ
วิศวกรรม มีแผนสนับสนุนผานหนวยงาน
ที่เกี่ยวของอาทิ การใหคําปรึกษากับธุรกิจ
ในการนําเทคโนโลยีมาชวยในการพัฒนา
ผลิตภัณฑและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
รัฐหนุน 4 โครงการ
ยักษรองรับ
อุตสาหกรรม 4.0
สําหรับแนวทางการขับเคลื่อนและ
การปรับตัวของประเทศไทยเพื่อกาวเขาสู
อุตสาหกรรม 4.0 นั้น ภาครัฐ ภาคเอกชน
รวมถึงรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวของไดผลักดัน
ผาน 3 โครงการหลักที่กําลังจะเกิดขึ้น
ประกอบดวย โครงการ เขตสงเสริม
อุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล หรือ
ดิจิทัลพารคไทยแลนด (Digital Park
Thailand) ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค
ตะวันออก หรือ อีอีซี และ สมารท พารค
(Smart Park) เปนการเสริมสรางความ
แข็งแกรง และเพื่อเพิ่มศักยภาพการ
แขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศ
ไทยกาวสูประเทศที่มีรายไดสูง มีความ
มั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมในอีก 20 ป
ขางหนา
ดิจิทัลพารคศูนยกลาง
การลงทุนและการ
สรางสรรคนวัตกรรม
ดิจิทัล รองรับการ
เติบโตที่ยั่งยืน
ดวยภูมิศาสตรของประเทศไทยที่ตั้ง
อยูตรงศูนยกลางของภฺมิภาคอาเซียน
มีความอุดมสมบูรณของทรัพยากร
ธรรมชาติ มีโครงสรางพื้นฐานการสื่อสาร
โทรคมนาคมครอบคลุมทั่วประเทศ ภาย
ใตระบบนิเวศนครบวงจรที่เอื้อประโยชน
ตอการสรางสรรคนวัตกรรม โครงการ
ดิจิทัล พารค ไทยแลนด (Digital Park
Thailand) จึงเกิดขึ้นจากความรวมมือ
ระหวางCAT กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม และการนิคมอุตสาหกรรมแหง
ประเทศไทย โดยจะพัฒนาขึ้นบนพื้นที่
ขนาด 500 ไรใน อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ให
เปนศูนยกลางการลงทุน และการสราง
สรรคนวัตกรรมดานดิจิทัล
พิเชฐ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
(ดีอี) กลาววา เขตสงเสริมอุตสาหกรรม
และนวัตกรรมดิจิทัล หรือ ดิจิทัลพารค
ไทยแลนด (Digital Park Thailand) มีจุด
มุงหมายเพื่อสงเสริมใหเกิดการลงทุนและ
การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลยุคใหมผาน
ธุรกิจดิจิทัลระดับโลก (Digital Global
Player) และกลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย
ของดิจิทัลพารคไทยแลนด โดยใหดําเนิน
งานรวมกับชุมชนในพื้นที่ ถึงแนวทางที่
ประชาชนจะไดรับประโยชนจากเขตสง
เสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล
และยังจะสรางอุตสาหกรรมดิจิทัลใหม
เพื่อรองรับการแขงขันของธุรกิจในอนาคต
และสรางความมั่งคง และยั่งยืนใหกับ
อุตสาหกรรมไทยดวย
ดิจิทัล พารค ไทยแลนด นอกจากจะ
ชวยสงเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม
ดิจิทัลแลว ยังจะชวยใหเกิดการพัฒนา
บุคลากร และการพัฒนาสินคา และ
บริการดิจิทัลใหมๆ เพื่อสนับสนุนการ
เติบโตของอุตสาหกรรมอื่นๆ ตามนโยบาย
โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
(Eastern Economic Corridor) หรือ อีอีซี
ดวย
แขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศแขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศ
แข็งแกรง และเพื่อเพิ่มศักยภาพการ
แขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศ
แข็งแกรง และเพื่อเพิ่มศักยภาพการ
แขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศ
ไทยกาวสูประเทศที่มีรายไดสูง มีความ
แขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศแขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศ
เพื่อใหประเทศไทยรอดพนกับ 3 กับ
ดักที่เปนอุปสรรคตอการเติบโตตอไปใน
อนาคต ไดแก กับดักประเทศรายไดปาน
กลาง (Middle Income Trap) กับดัก
ความไมเทาเทียม (Inequality Trap)
และกับดักความไมสมดุลของการพัฒนา
(Imbalance Trap)
โดยยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาห-
กรรมไทย 4.0 มีการตั้งเปาหมายใหภาค
อุตสาหกรรมไทยมีอัตราการเติบโตของ
GDP เฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 4.5 ตอป
การลงทุนเติบโตเฉลี่ยไมนอยกวารอยละ
10 ตอป มูลคาการสงออกขยายตัวเฉลี่ย
รอยละ8 ตอป ซึ่งเปนอัตราการขยายตัวที่
จะสงผลใหประเทศไทยสามารถขยับสู
การเปนประเทศรายไดสูงภายในป 2579
ตามเปาหมายของยุทธศาสตรชาติ
อุตสาหกรรมจะตองมีการปรับ
โครงสรางเศรษฐกิจจากเดิมที่การขับ
เคลื่อนดวยการพัฒนาประสิทธิภาพใน
การผลิตภาคอุตสาหกรรม ไปสูเศรษฐกิจ
ที่ขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
(Innovation Drive Economy) และปรับ
เปลี่ยนจากการใหบริการพื้นฐานเปน
บริการที่ตองใชทักษะขั้นสูง โดยตองขับ
เคลื่อนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงใน 3 มิติ
ที่สําคัญ ไดแก
1. เปลี่ยนจากการผลิตสินคา
โภคภัณฑ ไปสูสินคาเชิงนวัตกรรม
2. เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศ
ดวยภาคอุตสาหกรรม ไปสูการขับเคลื่อน
ดวยเทคโนโลยี ความคิดสรางสรรค และ
นวัตกรรม
3. เปลี่ยนจากการเนนภาคการผลิต
สินคา ไปสูการเนนภาคบริการมากขึ้น
ซึ่งหากกลาวในบริบทของภาค
อุตสาหกรรม ก็คือการปรับโครงสราง
จากกลุมอุตสาหกรรมดั้งเดิมสูกลุม
อุตสาหกรรมที่มีมูลคาและความซับซอน
สูง ซึ่งขับเคลื่อนดวย 5 กลุมเทคโนโลยี
และนวัตกรรม ไดแก กลุมอาหาร เกษตร
และเทคโนโลยีชีวภาพ กลุมสาธารณสุข
สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย
กลุมเครื่องมืออุปกรณอัจฉริยะ หุน
ยนต และระบบเครื่องกลที่ใชระบบ
อิเล็กทรอนิกสควบคุม กลุมดิจิทัล
6Smart Industry
พิเชษฐ กลาวตอวา กระทรวงดีอี
มุงหวังที่จะขับเคลื่อนอุตสาหกรรมดิจิทัล
ใหม (New S-Curve Digital Industry)
แบงออกเปน
1. กลุมผูผลิตฮารดแวร และชิ้นสวน
ดิจิทัล อาทิ คอมพิวเตอร และสวน
ประกอบ อุปกรณอัจฉริยะ และชิ้นสวน
อัตโนมัติ หุนยนต และอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
กับระบบดิจิทัล
2. กลุมผูผลิต และใหบริการ
ซอฟตแวร อาทิ คลาวนคอมพิวติ้ง(Cloud
Computing) ระบบอัจฉริยะ (Intelligent
System) และโซลูชั่นที่เกี่ยวของกับระบบ
ดิจิทัลสมัยใหม
3. กลุมผูใหบริการดิจิทัล อาทิ
ดิจิทัล เทค สตารทอัพ (Digital Tech
Startup) กลุมผูใหบริการขอมูลดิจิทัล
(Digital Content) ภาพยนตร โฆษณา
และอื่นๆ
4. กลุมผูผลิตอุปกรณสื่อสารและ
บริการสื่อสาร อาทิ โทรคมนาคม แพร
ภาพกระจายเสียงดาวเทียม และสวน
ประกอบ อินเทอรเน็ตความเร็วสูง และ
อื่นๆ
5. กลุมผูใหบริการแพลตฟอรมการ
คาดิจิทัลรูปแบบใหมๆ เชน โซเชียล คอม
เมิรส (Social commerce) โมบายน คอม
เมิรส (Mobile commerce) และ มีเดีย
คอมเมิรส (Media commerce) เปนตน
อีอีซี และ อีอีซีไอ
ขานรับนวัตกรรมใน
ประเทศ
คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะ
กรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียง
เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ อีอีซี
เลาวา การพัฒนา อีอีซี เปนการตอยอด
จากการพัฒนาโครงการที่มีอยูเดิม โดย
คํานึงถึงการสรางนวัตกรรมที่เปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอมเพื่อสรางความมั่นคง มั่งคั่ง
และยั่งยืน โดยถือวาการพัฒนาอีอีซี เปน
กลไกขับเคลื่อน ‘ประเทศไทย 4.0’ แบบ
กาวกระโดด และเปนพื้นที่เปาหมายแรก
ในการสราง การลงทุนอุตสาหกรรมเปา
หมาย สรางระบบการถายโอนเทคโนโลยี
ขั้นสูงสูคนไทย ดวยการพัฒนาเศรษฐกิจ
แบบมีสวนรวม
การขับเคลื่อนโครงการอีอีซี ให
สําเร็จได จําเปนตองพัฒนา และยกระดับ
ขีดความสามารถการแขงขันทางธุรกิจการ
คาโดยพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน
ตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งโครงขาย
คมนาคมขนสงผูโดยสารและสินคา ทั้ง
ทางอากาศ ทางราง ทางถนน และทางนํ้า
ใหเชื่อมสูทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และผลัก
ดันใหภาคตะวันออกของไทยเปนประตูสู
ตลาดกัมพูชา พมา ลาว เวียตนาม และ
จีนตอนใต โดย 5 โครงการสําคัญในพื้นที่
พัฒนาอีอีซีที่รัฐบาลเรงผลักดันใหสําเร็จ
เปนรูปธรรม
โดยการพัฒนาอีอีซี จะครอบคลุม 3
จังหวัด ไดแก ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง
ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพอยูแลว เมื่อมี
การตอยอดการพัฒนา และมีนักลงทุน
จากตางประเทศสนใจเขามาลงทุน และ
เสนอขอรับการสงเสริมการลงทุนจาก
บีโอไอจํานวนมาก
ทั้งนี้เพื่อใหอีอีซีเปนแกนนําในการ
พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การพัฒนา
เทคโนโลยีขั้นสูงที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
อันจะเปนประโยชนตอการเพิ่มขีดความ
สามารถในการแขงขันของประเทศและยก
ระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่
เพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจในพื้นที่ สราง
โอกาสในการจางงาน และการกระจาย
รายไดใหแกประชาชนในพื้นที่หัวเมือง
สําคัญ เพื่อรองรับการขยายตัวของ
เศรษฐกิจในอนาคตดวย
นอกจากนี้จากมติคณะรัฐมนตรี มี
มติเห็นชอบหลักการโครงการพัฒนา
ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern
Economic Corridor Development) เมื่อ
วันที่ 28 มิถุนายน 2559 ใหเปนเขต
เศรษฐกิจชั้นนําของอาเซียน เพื่อสงเสริม
10 อุตสาหกรรมเปาหมายใหเปนกลไกขับ
เคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต (New
Engine of Growth) โดยดําเนินการใน 3
จังหวัดภาคตะวันออก ไดแก ชลบุรี
ระยอง และฉะเชิงเทรา นั้น กระทรวง
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเห็นวา การสง
เสริมใหเกิดการวิจัยและพัฒนาทางดาน
เทคโนโลยีและนวัตกรรมในพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจตะวันออก จะเปนกลไกสําคัญ
ประการหนึ่งที่จะสงเสริมใหระเบียง
เศรษฐกิจตะวันออกของไทยเปนศูนย
กลางการคา การลงทุน และกําลังคนของ
ประเทศและภูมิภาค เนื่องจากการพัฒนา
กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายนั้น จําเปน
ตองอาศัยองคความรู ความเชี่ยวชาญทาง
ดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูง เพื่อ
ปรับเปลี่ยนภาคอุตสาหกรรมไปสูประเทศ
ไทย 4.0 และเพื่อเชื่อมโยงระบบการคา
และการขนสงสมัยใหมดวยเทคโนโลยี
และนวัตกรรม จึงเสนอแนวทางการยก
ระดับและพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจตะวัน
ออกดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (EECi)
เพื่อสรางพื้นที่นวัตกรรมใหมในเขต
ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก ที่มีระบบ
นิเวศนวัตกรรมที่เหมาะสม ชวยสงเสริม
ใหเกิดการทําวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม
รวมกันระหวางภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย
รวมถึงชุมชนในพื้นที่ เพื่อชวยยกระดับ
และพัฒนาอุตสาหกรรมเดิม รวมถึงสราง
ใหเกิดอุตสาหกรรมใหม ทั้งในพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกและใน
พื้นที่อื่นๆ ทั่วประเทศ อันจะนําไปสูการ
เปนประเทศแหงนวัตกรรม ควบคูกับการ
ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนใน
พื้นที่ดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลอด
จนนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไปใน
อนาคต
ภายใต EECi กระทรวงวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี มอบหมายให สํานักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง
ชาติ (สวทช.) ไดจัดทํา “กรอบแนวคิด
การยกระดับและพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคตะวันออกดวยเทคโนโลยี และ
นวัตกรรม (Conceptual Framework of
Eastern Economic Corridor of
Innovation: EECi)
ซึ่งกรอบแนวคิดของเขตนวัตกรรม
ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi)
มีวัตถุประสงคหลักประกอบดวย
7Smart Industry
แหลงทุนไดอยางสะดวกรวดเร็วขึ้น โดย
จัดใหมีสินเชื่อ 2 แบบ คือ สินเชื่อเถาแก
4.0 วงเงินรวม 8,000 ลานบาท และสิน
เชื่อเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชน วงเงิน
รวม 50,000 ลานบาท
ทางดานสํานักนวัตกรรมแหงชาติ มี
การใหทุนสนับสนุนนักเรียนอาชีวศีกษา
และนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย ที่
พัฒนานวัตกรรมเพื่อรองรับธุรกิจรูปแบบ
ใหมหรือ สตารทอัพดวยทุนสนับสนุน 1.5
ลานบาทตอโครงการ และในปนี้เตรียมงบ
ประมาณใหทุนสนับสนุนประมาณ 50
ลานบาท
นอกจากนี้สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจ
ดิจิทัล(DEPA) เปนอีกหนวยงานที่มีนโยบาย
ในการสนับสนุนและสงเสริมภาคธุรกิจ
และอุตสาหกรรมในการขับเคลื่อนเขาสู
Thailand 4.0 โดยมุงเนนใหเกิดการ
พัฒนาศักยภาพผูประกอบการภาคธุรกิจ
และอุตสาหกรรมของไทยใหมีการพัฒนา
องคความรูและสรางความตระหนักเรื่อง
การเปลี่ยนผานสูยุคดิจิทัล และมุงพัฒนา
ศักยภาพ และสรางเครือขายผูเชี่ยวชาญ
และที่ปรึกษาดานดิจิทัล และสงเสริมให
เกิดการประยุกตใชดิจิทัลเพื่อยกระดับขีด
ความสามารถการดําเนินธุรกิจใหไดรับ
มาตรฐานทางดานดิจิทัล ซึ่งจะนําไปสู
ความสามารถทางการคาของผูประกอบ
การไทยในตลาดโลกไดอยางยั่งยืน โดยใน
ปนี้ ดีปาไดตั้งงบประมาณ 200 ลานบาท
ในการสนับสนุนสตารทอัพที่ตองการใช
เงินลงทุนในการทําธุรกิจ โดยดีปาจะ
ใหการสนับสนุนในรูปแบบเขาไปมีสัดสวน
การถือหุนกับบริษัทสตารทอัพ ที่ตองการ
ทุนตอยอดธุรกิจตั้งแต 500,000 บาท ถึง
5 ลานบาทตอสตารทอัพ
ดังนั้น อาจกลาวไดวาอุตสาหกรรม
การผลิตในประเทศไทย เริ่มมีการปรับตัว
และสงเสริมการนําเทคโนโลยีอัตโนมัติ
เขามาชวยงานในการผลิตมากขึ้นเพื่อเพิ่ม
ศักยภาพในการผลิต และเพิ่มขีดความ
สามารถในการแขงขันกับประเทศตางๆ
เพื่อตอบสนองตอความตองการของ
เศรษฐกิจและเพื่อเปนการลดปญหาดาน
ตนทุนแรงงานที่สูงขึ้นในปจจุบัน นอกจาก
นี้รัฐบาลและเอกชนไดรวมมือกันเพื่อมุง
เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมใหมที่มีการใช
เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมๆ เพื่อเปน
กลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่มีการ
แขงขันสูงในยุคดิจิทัลและรองรับการขับ
เคลื่อนเศรษฐกิจที่ยั่งยืนของประเทศใน
อนาคต
1. การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
และนวัตกรรม โดยมุงเนนการวิจัยเพื่อ
ตอยอดไปสูการใชงานจริง (Translational
Research)
2. ถายทอดเทคโนโลยีใหกับภาค
อุตสาหกรรม เพื่อพัฒนา10 อุตสาหกรรม
เปาหมายของประเทศ ดวยการยกระดับ
อุตสาหกรรมเดิมและสรางอุตสาหกรรม
ใหม สรางความเขมแข็งใหอุตสาหกรรรม
ในพื้นที่ควบคูไปกับการสรางอุตสาหกรรม
ใหมที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง ตลอดจนสง
เสริมใหเกิดวิสาหกิจเริ่มตน (Startup)
ทางดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมสําหรับ
เปนพื้นฐานรองรับการเติบโตของอุตสาห-
กรรมใหม ทั้งอุตสาหกรรมในระเบียง
เศรษฐกิจภาคตะวันออกและอุตสาหกรรม
อื่นๆ ทั่วประเทศ
3. เชื่อมโยงเครือขายการวิจัยและ
พัฒนาทั้งในประเทศและตางประเทศ
เพื่อสรางสังคมนวัตกรรมของประเทศ
รองรับความตองการใชเทคโนโลยีขั้นสูง
ในลักษณะบูรณาการการทํางานรวมกัน
ระหวางหนวยงานภาคเอกชน สถาบันการ
ศึกษา/สถาบันวิจัย และหนวยงานภาครัฐ
ในลักษณะการทํางานรวมแบบ Triple
Helix และขยายผลตอยอดไปสูการมีสวน
รวมของประชาชนในชุมชน ในลักษณะ
การทํางานรวมแบบ Quadruple Helix
“เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคตะวันออก” หรือเรียกวา EECi จะ
ประกอบไปดวยระบบนิเวศนวัตกรรมที่
สมบูรณ เปนพื้นที่เศรษฐกิจใหมที่มีความ
เขมขนของงานวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม
หองปฏิบัติการวิจัยทั้งภาครัฐและเอกชน
หองทดลองภาคสนาม (Living Lab) ศูนย
วิเคราะหทดสอบชั้นนํา โรงงานตนแบบ
และโรงงานสาธิต ควบคูกับการยกระดับ
คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ดวย
เทคโนโลยีและนวัตกรรม ดังมีองคประกอบ
ของระบบนิเวศนวัตกรรมและแนวทาง
การดําเนินงานหลัก อาทิ เปนแหลงวิจัย
และนวัตกรรมที่เขมขน(R&IFocus) เพื่อ
นําผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ไดไปตอบ
โจทยภาคอุตสาหกรรมทั้งในพื้นที่ EEC
และทั่วประเทศ โดยเปนการทํางานรวม
กันทั้งภาคเอกชน สถาบันการศึกษา/
สถาบันวิจัย และภาครัฐ
ศูนยรวมหองปฏิบัติการวิจัยของรัฐ
และเอกชน (Concentration of Public &
Private Laboratory) เพื่อสงเสริมใหเกิด
การทํางานรวมกัน เกิดการแลกเปลี่ยน
องคความรู ตลอดจนอุปกรณและเครื่อง
มือตางๆ เปนตน
ตั้ง สมารทพารค ขับ
เคลื่อนอุตสาหกรรม
ไฮเทค S Curve ใน
ประเทศ
วีรพงศ ไชยเพิ่ม ผูวาการการนิคม
อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.)
กลาววา กนอ. ไดจัดสรรพื้นที่ 1,466 ไร
ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด พัฒนาให
เปนนิคมอุตสาหกรรมตนแบบ ภายใชชื่อ
สมารทพารค (Smart Park) โดยจะดึง
อุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูงเขาไป
ตั้งโรงงาน เชน อุตสาหกรรมอุปกรณการ
แพทย และยา เปนตน
สําหรับการพัฒนา สมารทพารค
ขณะนี้อยูระหวางการออกแบบ การทํา
รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม
(อีไอเอ) และจะเริ่มกอสรางไดในป 2561-
2562 จากนั้นจะเปดใหบริการในป 2563
กนอ. ไดแบงพัฒนาพื้นที่นิคมสมารท
พารคในรูปแบบคลัสเตอร ใหเกิดความ
คลองตัวในการเชื่อมโยงธุรกิจ และ
อุตสาหกรรม เพื่อปนเขตสงเสริมกิจการ
อุตสาหกรรมเปาหมาย (S-curve) ที่จะ
เกิดขึ้นในพื้นที่รวม 4 กลุมคือ
1. อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร
ผสมผสานการผลิตอุปกรณทางการ
แพทยดวยระบบอิเล็กทรอนิกส
2. อุตสาหกรรมโลจิสติกสการบิน
และอวกาศ ที่จะเริ่มจากการบริการเพื่อ
ขนสง ไปถึงการผลิตชิ้นสวนอากาศยาน
ไรคนขับ (drone) และระบบนําทาง
ซอฟตแวร
3. อุตสาหกรรมอุปกรณอัจฉริยะ
หุนยนตและจักรกล
4. อุตสาหกรรมดิจิทัล เทคโนโลยี
อินเทอรเน็ต เชื่อมตอปญญาประดิษฐ
อยางเชนซอฟตแวรที่ฝงในตัวระบบหรือ
อุปกรณอิเล็กทรอนิกสบางประเภท
สําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของที่มี
บทบาทสําคัญที่ใหการสนับสนุนในการ
ขับเคลื่อนใหเกิดอุตสาหกรรม 4.0 อาทิ
กระทรวงอุตสาหกรรม มีเปาหมายใน
การพัฒนาบุคลากรที่มีความรูทางดาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ การทําธุรกิจผาน
อีคอมเมิรส ประมาณ 500,000 คน ในอีก
5 ปขางหนา และมีแผนที่จะพัฒนา
บุคลากรที่มีความรูทางดานเทคโนโลยี
สารสนเทศ ประมาณ 10,000 ภายในปนี้
นอกจากนี้รัฐบาลยังไดสรางโอกาศให
ผูประกอบการรายยอยสามารถเขาถึง
8Smart Industry
ศิรินทร เปงศิริ
อัพไทมพีพลัสพรีดิคทีฟแมนเทแนนซ
(Up-Time P+ Predictive Maintenance)
เปนระบบการติดตามการใชงานและสภาพ
เครื่องจักรตลอดเวลา (Real-Time) เพื่อ
การบํารุงรักษาแบบคาดการณ
“บริษัทนําเสนอโซลูชั่นที่ตอบ
โจทยโรงงานอุตสาหกรรมที่ตองการนํา
เทคโนโลยีมาชวยในโรงงานการผลิต
สามารถผลิตสินคาไดตรงลดขั้นตอนที่ซํ้า
ซอน ลดความสูญเสียระหวางการผลิต
และชวยทําใหติดตามและแกไขปญหา
ไดรวดเร็วในโรงงาน นอกจากนี้ยังเปน
โซลูชั่นที่ชวยใหโรงงานมีประสิทธิภาพ
การทํางานเพิ่มขึ้น 5-50 เปอรเซ็นต ชวย
ลดตนทุน ลดของเสีย ลดเวลาหยุดของ
เครื่องจักรหยุดโดยไมทราบสาเหตุ 80-
90 เปอรเซ็นต เราทําโซลูชั่นเพิ่มตอบ
โจทยลูกคาไดและเคาสามารถที่จะเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทํางานของฝายผลิต
เพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 ในอนาคต”
ศิริทร กลาวและวา
ภายในไตรสามสองปนี้บริษัทยังจะ
นําระบบ อัพไทม พีพลัส (Up-Time
P+) ซึ่งเปนนวัตกรรมการออกแบบที่รวม
เอาเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตทุกสรรพสิ่ง
(Internet of thing) หรือ IoT และระบบ
คลาวน โซลูชั่น (Cloud solution) ที่
สามารถตรวจสอบขอมูลไดทันทีทันใด
(Real time monitoring) สําหรับสภาพ
ของเครื่องจักรขณะทํางาน เชน การ
ปด-เปด การหยุด ความรอน พลังงาน
จากอุปกรณเซ็นเซอร (Sensor) แปลง
สัญญาณแจงเตือนไดทุกที่ทุกเวลา ทําให
สามารถใชงานกับเครื่องจักรไดเต็ม
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดวย ปจจุบัน
บริษัทมีลูกคามากกวา 20 ราย
อัพไทมพีพลัส อันดงบอรด (Up-
Time P+ Andon Board) เปนระบบ IIoT
พรอมหนาจอแสดงผลในไลนการผลิตที่
สามารถเชื่อมตอรับขอมูลจากเครื่องจักร
PLC และอุปกรณเซ็นเซอรในโรงงาน
อุตสาหกรรม นําแสดงผลเปนขอมูลและ
นําสงขอมูลขึ้นไปยังระบบคลาวน
อัพไทมพีพลัส โปรดัคชั่น (Up-Time
P+ Cloud) เปนแอพพลิเคชั่นระบบคราวน
ทําหนาที่บันทึกแผนการผลิตและประมวล
ผลคาประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร
หรือที่เรียก OEE (Overall Equipment
Effectiveness)
อัพไทมพีพลัส พรีเว็นทีฟ แมน
เทแนนซ (Up-Time P+ Preventive
Maintenance) เปนระบบบริการจัดการ
งานบํารุงรักษาเครื่องจักร (Computerize
Maintenance Management System)
มุงเนนการบํารุงรักษาเชิงปองกัน
ทั้งนี้ บริษัทไดพัฒนาและนําเสนอ
ระบบอัพไทมพีพลัส คลาวน เวอรชัวรไรด
โปรดักทิวิตี้อิมพรูฟเมนท โซลูชั่น (Cloud
Visualized Productivity Improvement
Solution) ซึ่งประกอบดวย
ศิรินทร เปงศิริ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจิเนียริ่งเลาวา
บริษัทฯ เกิดจากการรวมตัวของผูเชี่ยวชาญที่ปรึกษาโรงงานอุตสาหกรรม วิศวกร
โรงงาน การพัฒนาระบบงานออโตเมชั่นและพัฒนาซอฟตแวร ตลอดระยะเวลา 8 ป
ของบริษัท ไดออกแบบและพัฒนาระบบเพื่อการปรับปรุงผลิตภาพของโรงงาน
อุตสาหกรรมซึ่งอุตสาหกรรมการผลิตสามารถนําระบบสารสนเทศมาชวยในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิต รวมถึงการเพิ่มศักยภาพการแขงขันในตลาดดวยสินคาที่มี
คุณภาพ มีมาตรฐานสากล และตอบโจทยในการผลิตสินคาไดตรงตามความตองการ
ของผูบริโภคและลูกคาบริษัทจึงพัฒนาอินเทอรเน็ตของสรรพสิ่งสําหรับอุตสาหกรรม
(Industrial Internet of Things หรือ IIoT) เพื่อชวยในการปรับปรุง การผลิตในโรงงาน
อุตสาหกรรม ใหคําปรึกษา ติดตั้งระบบงานบริหารจัดการการผลิต หรือManufacturing
Execution System (MES) รองรับการผลิต รวมถึงออกแบบและพัฒนาโซลูชั่นเพื่อตอบ
โจทยความตองการของลูกคา เชน การแปลงสัญญาณทางไฟฟาอิเล็กทรอนิกส การ
เชื่อมตอสื่อสารขอมูลจากเครื่องจักร เปนขอมูลเพื่อการวิเคราะหและประมวลผลมุง
เนนดานการจัดการการผลิต การบํารุงรักษาเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อ
ตอบโจทยการพัฒนาอุตสาหกรรมสู อุตสาหกรรม 4.0 (Industrial 4.0) และเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม
เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจิเนียริ่ง
สงระบบอัพไทมพีพลัสคลาวนเวอรชัวรไรด โปรดักทิวิตี้
อิมพรูฟเมนท โซลูชั่นตอบโจทย อุตสาหกรรม 4.0
9Smart Industry
สมชาย สุภาพสุนทร
เพิ่มประสิทธิภาพการทํางานไดมากกวา
15 เปอรเซ็นต ทําใหลูกคาสามารถเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิต และกําไรจาก
การนําเครื่องจักรมาใชงานไดมากขึ้น”
สมชาย กลาวและวา
บริษัทฯ รับพัฒนาโซลูชั่นที่หลาก
หลายรองรับความตองการของลูกคา
อาทิ แอพพลิเคชั่นที่รองรับเครื่องจักร
อุตสาหกรรมอัตโนมัติ (Industrial
Automation Applications) ระบบ
ควบคุมเครื่องจักร (Industrial Controls)
ระบบเครือขายและตรวจสอบเครื่องจักร
(Machine Monitoring and Networking)
ระบบควบคุมการทํางานของเครื่องจักร
(Controlled assembly processes) และ
ระบบทดลอง (Testing process) เปนตน
สมชาย กลาววา บริษัทมุงหวังที่จะ
เปนหนึ่งในผูออกแบบและพัฒนาเครื่อง
จักรไทยเพื่อรองรับความตองการของ
ลูกคาทั้งในและตางประเทศที่สนใจจะนํา
เครื่องจักรมาชวยเพิ่มประสิทธิภาพการ
ผลิต และการทํางาน ซึ่งจะชวยใหธุรกิจ
มีความสําเร็จมากยิ่งขึ้น และปจจุบัน
บริษัทมีลูกคามากกวา 30 ราย
“เราพรอมที่จะนําเครื่องจักรจาก
ประเทศไทย ไปขยายในเวทีตางประเทศ
ในอนาคต และตลาดในประเทศไทย
เอง เปนตลาดที่มีความพรอมในการนํา
เทคโนโลยีและเครื่องจักรมาชวยในการ
ทํางานมากยิ่งขึ้นเพื่อรองรับกับการ
แขงขันและการเขามาของธุรกิจจากตาง
ประเทศที่มีมากยิ่งขึ้นในปจจุบัน” สมชาย
กลาว
ซิสเท็มบิท ตั้งเปา
พัฒนาเคร�่องจักรไทยสูตลาดโลก
สมชาย สุภาพสุนทร กรรมการ
ผูจัดการ บริษัท ซิสเท็มบิท จํากัด เลาวา
ตนเองมีประสบการณในการออกแบบ
และพัฒนาเครื่องจักรมาแลว 18 ป จาก
การพัฒนาหุนยนตเพื่อเขาแขงขันตั้งแต
เรียนในระดับอุดมศึกษา จนไดรับรางวัล
ระดับประเทศ และระดับนานาชาติที่
จากความชํานาญในการออกแบบ
และพัฒนาเครื่องจักรสําหรับอุตสาหกรรม
และความมุงมั่นในการสรางเครื่องจักรที่
มีมาตรฐาน รองรับอุตสาหกรรมการผลิต
ที่หลากหลาย สมชาย สุภาพสุนทร ไดกอ
ตั้ง บริษัท ซิสเท็มบิท จํากัด เมื่อ 6 ปที่
ผานมา เพื่อเปนบริษัทไทยที่รับออกแบบ
และพัฒนาเครื่องจักรทุกชนิดเพื่อชวย
เพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ลดคาใช
จายใหกับโรงงานอุตสาหกรรม สามารถ
ผลิตสินคาที่มีคุณภาพสูตลาด
ประเทศญี่ปุนเมื่อป 2543 ที่ผานมา
จากนั้นหลังจบการศึกษาไดทํางานในสวน
ของการออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร
อุตสาหกรรมอยางตอเนื่อง
จนกระทั่งเมื่อ 6 ปที่ผานมา ไดกอ
ตั้งบริษัทรับออกแบบและสรางเครื่องจักร
อัตโนมัติครบวงจรขึ้นเพื่อรองรับกับความ
ตองการของตลาดโรงงานอุตสาหกรรม
การผลิตที่มองหาเครื่องจักรมาชวยในการ
ทํางานดวยราคาที่สามารถเขาถึงไดและ
มีมาตรฐานในระดับสากล
สมชาย กลาววา ปจจุบันบริษัทฯ เรา
รับจางผลิตเครื่องจักรตามความตองการ
ของลูกคาที่หลากหลาย อาทิ เครื่องจักร
ในสายการผลิตเครื่องสําอางค บะหมี่กึ่ง
สําเร็จรูป เครื่องประดับ เครื่องมือแพทย
อุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรม
อาหาร เปนตน
“เราเปนเหมือนบริษัทรับจางวิจัย
และพัฒนาเครื่องจักรสําหรับลูกคา เมื่อ
เรารับโจทยความตองการเครื่องจักรจาก
ลูกคา ที่ตองการนําเครื่องจักรอัตโนมัติ
มาชวยและมาทดแทนการทํางานที่มีอยู
ในปจจุบันใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มี
ความปลอดภัย ชวยลดคาใชจายและมี
มาตรฐานในระดับสากล บริษัทจะใชเวลา
ศึกษา ออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร
ประมาณ 3-4 เดือนตอ 1 โครงการ เพื่อ
พัฒนาเครื่องจักรใหตรงกับความตองการ
ของลูกคา และชวยใหลูกคาสามารถ
10Smart Industry
นอกจากนี้บริษัทยังไดจําหนายโตะ
เกาอี้ เพื่อรองรับกับความตองการของ
สํานักงานและออฟฟศที่ตองการสินคาที่มี
คุณภาพ ISO 9001 ในราคาที่ดีกวาราคา
ตลาดทั่วไป 20 เปอรเซ็นต และบริษัท
สามารถนําชิ้นงานเฟอรนิเจอรไปติดตั้ง
ในรานคาที่กําลังจะเปดรานใหม รบกวน
เวลาหนางาน 6-8 ชั่วโมง
ชัยภัทร กลาววา การผลิตและ
จําหนายเฟอรนิเจอรที่หลากหลายรูปแบบ
ไมเพียง แตใชแรงงานมาชวยในการผลิต
ชิ้นงานใหทันกับความตองการของลูกคา
เทานั้น บริษัทยังไดนําเครื่องจักรและหุน
ยนตมาชวยปรับปรุงการผลิตดวย อาทิ
การนําหุนยนตมาชวยพนกาว สําหรับงาน
ปดผิวเฟอรนิเจอร ทําใหบริษัทสามารถ
ลดคาใชจายและเพิ่มประสิทธิภาพดวย
การทํางานของหุนยนตไดมากกวา 50
เปอรเซ็นต นอกจากนี้บริษัทยังนําระบบ
CAD/CAM มาชวยในการตัดชิ้นงานไม
สําหรับทําเฟอรนิเจอร โดยเจาหนาที่จะ
ปอนขอมูลขนาดของชิ้นงานไมลงในระบบ
CAD/CAM ระบบจะสั่งใหเครื่องจักร
ทําการตัดชิ้นไมสําหรับงานเฟอรนิเจอร
ทําใหสามารถชวยเพิ่มความถูกตองในการ
ตัดชิ้นงานไม ลดการสูญเสียวัตถุดิบ และ
ยังทําใหสามารถผลิตชิ้นงานไดมีคุณภาพ
เพื่อรองรับกับความตองการของลูกคา
อยางไรก็ตาม บริษัทมีแผนที่จะนํา
ระบบคอมพิวเตอรมาชวยในการผลิต
ชัยภัทรสีตสุวรรณผูจัดการฝายขาย
บริษัทดูโรฟอรมจํากัดผูผลิตเฟอรนิเจอร
น็อคดาวนจากไม เลาวา บริษัทกอตั้งมา
ตั้งแตป 2533 เริ่มตนธุรกิจดวยการนํา
เขาผลิตภัณฑลามิเนต จากนั้นไดปรับมา
สูธุรกิจการผลิตเฟอรนิเจอรน็อคดาวนใน
ชวง 15 ปที่ผานมาจนถึงปจจุบันบริษัท
รับจางผลิตเฟอรนิเจอร เชน เคานเตอร
เพื่อรองรับกับความตองการของรานมินิ
มารท ซุปเปอรมารเก็ต หางสรรพสินคา
ธนาคาร และรานคาทั่วไป อาทิ ราน 7/11
ท็อปซุปเปอรมารเก็ต ฟูดแลนด ธนาคาร
ไทยพานิชย เปนตน ปจจุบันบริษัทมี
สินคาเฟอรนิเจอรใหเลือกมากกวา 3,000
รายการ
ดูโรฟอรม ใชหุนยนต
ชวยเพิ่มประสิทธ�ภาพการผลิต
ดูโรฟอรมเตรียมกาวสูอุตสาหกรรม
4.0 พรอมนําหุนยนตมาชวยเสริมทับ
ธุรกิจ รองรับการแขงขันธุรกิจในยุคดิจิทัล
เตรียมพรอมนําระบบบารโคดมาชวยใน
กระบวนการผลิต
เฟอรนิเจอรมากยิ่งขึ้นและนําระบบบารโคด
มาชวยในการควบคุมกระบวนการผลิต
เพื่อทําใหกระบวนการผลิตเขาสูระบบ
อัตโนมัติมากยิ่งขึ้น เนื่องจากการนํา
เครื่องจักรและระบบคอมพิวเตอรมาชวย
ในการทํางานทําใหบริษัทสามารถผลิต
ชิ้นงานที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ลดการสูญ
เสียของวัตถุดิบ ลดขั้นตอนในการทํางาน
ลดอันตรายในการทํางาน และชวยลด
คาใชจายในกระบวนการพนกาวมากกวา
50 เปอรเซ็นต
“ผมมองวาโรงงานการผลิตมีความ
จําเปนอยางยิ่งที่จะนําระบบคอมพิวเตอร
และเครื่องจักรมาชวยในการทํางาน เพื่อ
ผลิตสินคาที่มีคุณภาพและรองรับการ
แขงขันของตลาด อยางไรก็ตามบริษัท
มีแผนที่จะกาวไปสูการผลิตเฟอรนิเจอร
ในรูปแบบของการนําเครื่องจักรมา
ชวยในการผลิตครบวงจร เพื่อรองรับ
อุตสาหกรรม 4.0 ในอนาคต” ชัยภัทร
กลาว
10Smart Industry
ชัยภัทร สีตสุวรรณ
Smart industry Vol.33/2561
Smart industry Vol.33/2561
Smart industry Vol.33/2561
Smart industry Vol.33/2561
Smart industry Vol.33/2561
Smart industry Vol.33/2561

More Related Content

Similar to Smart industry Vol.33/2561

OpenOffice.org is Right for You
OpenOffice.org is Right for YouOpenOffice.org is Right for You
OpenOffice.org is Right for YouOsdev
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
สอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนสอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนJuthaa Juni
 
ข้อสอบปลายภาค5 1
ข้อสอบปลายภาค5 1ข้อสอบปลายภาค5 1
ข้อสอบปลายภาค5 1Satta Siripronkitti
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012NECTEC
 
Business approach thailand 4.0
Business approach thailand 4.0Business approach thailand 4.0
Business approach thailand 4.0OiL Thamanoon V
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์
การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์
การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์Manoo Ordeedolchest
 
สอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนสอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนKristys Kristys
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์Surapol Imi
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ053681478
 
ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์Sarocha Makranit
 
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Adun Nanthakaew
 

Similar to Smart industry Vol.33/2561 (20)

OpenOffice.org is Right for You
OpenOffice.org is Right for YouOpenOffice.org is Right for You
OpenOffice.org is Right for You
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
สอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนสอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียน
 
ข้อสอบปลายภาค5 1
ข้อสอบปลายภาค5 1ข้อสอบปลายภาค5 1
ข้อสอบปลายภาค5 1
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
Business approach thailand 4.0
Business approach thailand 4.0Business approach thailand 4.0
Business approach thailand 4.0
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2558
 
การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์
การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์
การประมาณความต้องการบุคลากรซอฟต์แวร์
 
Fact sheet TSPA & Members
Fact sheet TSPA & MembersFact sheet TSPA & Members
Fact sheet TSPA & Members
 
สอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียนสอบปลายภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียน
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
 
20110816 oss4edu-nsru
20110816 oss4edu-nsru20110816 oss4edu-nsru
20110816 oss4edu-nsru
 
It news.
It news.It news.
It news.
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์
 
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
Internet of Things เทรนอนาคต ที่ต้องรู้
 

More from Software Park Thailand

Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556Software Park Thailand
 
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561Software Park Thailand
 
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng Version
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng VersionSolfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng Version
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng VersionSoftware Park Thailand
 
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556Software Park Thailand
 
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012Software Park Thailand
 
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013Software Park Thailand
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol4/2555
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol4/2555Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol4/2555
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol4/2555Software Park Thailand
 
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)Software Park Thailand
 
Smart Industry Vo.22/2556"E-transaction กระตุ้นธุรกิจอีคอมเมิร์สโต"
Smart Industry Vo.22/2556"E-transaction กระตุ้นธุรกิจอีคอมเมิร์สโต"Smart Industry Vo.22/2556"E-transaction กระตุ้นธุรกิจอีคอมเมิร์สโต"
Smart Industry Vo.22/2556"E-transaction กระตุ้นธุรกิจอีคอมเมิร์สโต"Software Park Thailand
 
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...Software Park Thailand
 
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English Version
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English VersionSoftware Park Newsletter Vol. 4/2012 English Version
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English VersionSoftware Park Thailand
 
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012Software Park Thailand
 
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012Software Park Thailand
 
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012 Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012 Software Park Thailand
 
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....Software Park Thailand
 

More from Software Park Thailand (20)

Softwarepark news Vol.7/2561
Softwarepark news Vol.7/2561Softwarepark news Vol.7/2561
Softwarepark news Vol.7/2561
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol2/2556
 
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561
Software Park Newsletter Thai Vol 3/25561
 
Smart Industry Vol.23
Smart Industry Vol.23Smart Industry Vol.23
Smart Industry Vol.23
 
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng Version
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng VersionSolfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng Version
Solfware park Newsletter Vol 3/2013 Eng Version
 
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556
Software Park Thailand Newsletter Vol 3/2556
 
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol3/2012
 
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013
Software Park Thailand Newsletter (Eng) Vol5/2013
 
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol4/2555
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol4/2555Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol4/2555
Software Park Thailand Newsletter (Thai) Vol4/2555
 
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)
Thai ICT Trad Mission CommunicAsia 2013 (18-21 June 2013)
 
Smart Industry Vo.22/2556"E-transaction กระตุ้นธุรกิจอีคอมเมิร์สโต"
Smart Industry Vo.22/2556"E-transaction กระตุ้นธุรกิจอีคอมเมิร์สโต"Smart Industry Vo.22/2556"E-transaction กระตุ้นธุรกิจอีคอมเมิร์สโต"
Smart Industry Vo.22/2556"E-transaction กระตุ้นธุรกิจอีคอมเมิร์สโต"
 
Software newsletter
Software newsletterSoftware newsletter
Software newsletter
 
Smart industry Vol. 21/2556
Smart industry Vol. 21/2556Smart industry Vol. 21/2556
Smart industry Vol. 21/2556
 
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...
Software Park Newsletter 2/2554 "แท็บเล็ต สมาร์ทโพน โมบายแอพพลิเคชั่น ดาวเด่น...
 
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English Version
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English VersionSoftware Park Newsletter Vol. 4/2012 English Version
Software Park Newsletter Vol. 4/2012 English Version
 
Thai IT Delegation to Japan 2012
Thai IT Delegation to Japan 2012Thai IT Delegation to Japan 2012
Thai IT Delegation to Japan 2012
 
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012
Thai IT Business Develop,emt Delegation to Tokyo, Japan, 2012
 
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012
Thai IT Trade Delegation to Tokyo, Japan 11-16 November 2012
 
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012 Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012
Thai IT Business Development Delegation to Tokyo, Japan: November 2012
 
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....
Presentation ให้นักศึกษา ม.ขอนแก่น ที่มาเยี่ยมชม Software Park ในวันที่ 17 ต....
 

Smart industry Vol.33/2561

  • 1. Volume 33/2561 ฉบับที่ 33 FREE COPYFREE COPY ขอเชิญบริษัทซอฟตแวรรวมลงทะเบียน เพื่อรับบริการจับคูธุรกิจ อีอีซี - อีอีซีไอ - ดิจิทัล พารค - สมารท พารค 4 เรือธงนําไทยสูอุตสาหกรรม 4.0 10 ดูโรฟอรม ใชหุนยนต ชวยเพิ่มประสิทธ�ภาพการผลิต ใชหุนยนต ชวยเพิ่มประสิทธ�ภาพการผลิต ใชหุนยนต 1515151515151515151515151515151515151515151515151515151515151515151515151515151515 สมารทสมารทสมารทสมารท แมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่งแมนนูแฟคเจอร�่ง 08 เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจ�เนียร�่ง สงระบบอัพไทมพีพลัสคลาวนเวอรชัวรไรด เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจ�เนียร�่ง สงระบบอัพไทมพีพลัสคลาวนเวอรชัวรไรด เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจ�เนียร�่ง โปรดักทิว�ตี้ อิมพรูฟเมนท โซลูชั่น ตอบโจทย อุตสาหกรรม 4.0
  • 2. ในยุคการแขงขันของธุรกิจที่นําเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาชวยใหการ ดําเนินงาน การขยายตลาด รวมถึงการผลิตเขามามีบทบาทสําคัญในประเทศไทย ที่มีจุดมุงหมายในการเปลี่ยนผานเขาสูยุคอุตสาหกรรม 4.0 Smart Industry ขอนําเสนอ การนําเทคโนโลยีเขามาเพิ่มศักยภาพของ อุตสาหกรรมการผลิตของไทย อาทิ อุตสาหกรรมเสื้อผาสงออก อุตสาหกรรม พลาสติกที่มีการนําเทคโนโลยีและเครื่องจักรที่ทันสมัยมาชวยในการเพิ่มศักยภาพ ในการผลิตอยางนอย 15 เปอรเซ็นต และยังชวยใหธุรกิจสามารถลดคาใชจายลง สามารถสงสินคาไดตรงกับความตองการของลูกคามากยิ่งขึ้น ลดความผิดพลาด ในการทํางานในกระบวนการผลิต นอกจากนี้ยังไดกลาวถึงทิศทางของรัฐบาลที่มุงผลักดันใหอุตสาหกรรม การผลิตของไทยกาวเขาสู อุตสาหกรรม4.0 เพื่อรองรับการแขงขันและการเติบโต ของประเทศอยางยั่งยืนในอนาคต พรอมทั้งแนวทางของประเทศในการสรางเขต อุตสาหกรรมใหมถึง 3 แหง ประกอบดวย โครงการ เขตสงเสริมอุตสาหกรรมและ นวัตกรรมดิจิทัล หรือ ดิจิทัลพารคไทยแลนด (Digital Park Thailand) ระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ อีอีซี (EEC) และ สมารท พารค (Smart Park) เพื่อรองรับการเสริมสรางความแข็งแกรง เพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันของ ประเทศสูงขึ้น ทําใหประเทศไทยสามารถกาวสูประเทศที่มีรายไดสูงในอนาคต กองบรรณาธิการ บทบรรณาธ�การ เคร�่องจักรอัตโนมัติ >> 3 และอุตสาหกรรมอนาคต ปจจัยหลักผลักดันสู อุตสาหกรรม 4.0 อีอีซ� - อีอีซ�ไอ - >> 4 ดิจ�ทัล พารค - สมารท พารค 4 เร�อธงนําไทยสูอุตสาหกรรม 4.0 เอ็กตรา โซลูชั่น >> 8 เอ็นจ�เนียร�่ง สงระบบอัพไทมพีพลัสคลาวนเวอรชัวร ไรด โปรดักทิว�ตี้ อิมพรูฟเมนท โซลูชั่น ตอบโจทย อุตสาหกรรม 4.0 ซ�สเท็มบิท ตั้งเปา >> 9 พัฒนาเคร�่องจักรไทยสูตลาดโลก ดูโรฟอรม ใชหุนยนต >> 10 ชวยเพิ่มประสิทธ�ภาพการผลิต เดลิเทค >> 11 สงเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ รองรับการกาวสูการเปลี่ยนแปลง ทางนวัตกรรม ว�ที กรุป >> 12 ใชระบบ เซมิออโตเมชั่น เพิ่มศักยภาพ การผลิตกวา 50 เปอรเซ็นต ซ�สเต็มสสโตน >> 13 สงแพลตฟอรมการจัดการโรงงาน ผานสมารทโฟน สานรับ อุตสาหกรรม 4.0 กิจกรรม >> 14 สมารท >> 15 แมนนูแฟคเจอร�่ง จุลสารขาว Smart Industry จัดทําโดย เขตอุตสาหกรรมซอฟตแวรประเทศไทย (Software Park Thailand) ภายใตสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เลขที่ 99/31 อาคาร Software Park ถนนแจงวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท 0-2583-9992 โทรสาร 0-2583-2884 เว็บไซต: www.swpark.or.th | www.nstda.or.th Contentสารบัญ
  • 3. 3Smart Industry (Correlation) ในอดีตระหวางแท็ก เซ็นเซอรและการแจงเตือนที่เกิดขึ้น รวม ถึงการวิเคราะหกลุมตัวแปรสําคัญแบบ ไดนามิกและคะแนนความผิดปกติของ เครื่อง การแจงเตือนลวงหนาดวยหลัก การ Predictive ในปจจุบันจะเกิดขึ้นลวง หนาและมีความแมนยําที่สูง โดยจะแจง เตือนก็ตอเมื่อมีสัญญาณการเกิดเหตุจริง เทานั้น การใช Watson IoT ชวยให ปตท. สามารถใชประโยชนจากขอมูลเชิงลึก จากเซ็นเซอรหลายรอยตัวจากหลาย ระบบ รวมกับขอมูลประวัติจากระบบวัด ประสิทธิภาพการทํางานและการบํารุง รักษา ซึ่งทั้งหมดผนวกรวมอยูใน Data Lakeเดียวและสรางขึ้นบนสถาปตยกรรม ขอมูลแบบไฮบริด ชวยใหผูบริหารตลอด จนวิศวกรของ ปตท. สามารถมองเห็นรูป แบบของ KPI และความเชื่อมโยงของ ขอมูลตางๆ ที่มีความเกี่ยวเนื่องกันไมวา จะเปน แรงสั่นสะเทือนผิดปกติ ความเร็ว ที่สูงขึ้นของ gas turbine หรือแรงดันการ ไหลของคอมเพรสเซอร เปนตน โดย ระบบจะตรวจจับแลวคํานวณคาดการณ ความผิดปกติที่อาจจะเกิดขึ้นลวงหนา พรอมแจงเตือนผูที่เกี่ยวของกอนที่จะเกิด ปญหาความลมเหลวของระบบขึ้น ระบบอัจฉริยะนี้สามารถทํานายและ แจงเตือนสภาพสินทรัพยของ ปตท. ลวง หนา อีกทั้งยังผนวกความสามารถของ แมชชีนเลิรนนิ่งที่ชวยให ปตท. สามารถ ลดคาใชจายจํานวนมหาศาลที่เกิดจาก การรีเซ็ทการทํางานของชุดอุปกรณ Gas Turbine หลังจากเกิดเหตุหยุดทํางาน ความสําเร็จของโครงการนํารอง ทําให ปตท. มองถึงการนําแพลตฟอรม Watson IoT ไปประยุกตใชกับระบบอื่นๆ ตอไป เพื่อใหสามารถผนวกรวมขอมูล จากเซ็นเซอรและแหลงขอมูลอื่นๆ มาใช ในการวิเคราะหไดอยางมีประสิทฺธิภาพ ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ปตท. ยังวางแผนที่จะ นํารูปแบบการดําเนินการที่ประสบความ สําเร็จในครั้งนี้ไปใชกับสวนงานสําคัญๆ ของโรงแยกกาซที่เหลืออีก 5 แหงตอไป เครื่องจักรอัตโนมัติ (Automation system) คือ เครื่องจักรที่มีการนํา คอมพิวเตอรเขามาชวยในการทํางาน ทําใหเครื่องจักรสามารถทํางานไดเอง โดยอาจเปนเพียงสวนหนึ่งของขั้นตอน การผลิต เทานั้นหรือเปนการผลิตแบบ อัตโนมัติทั้งระบบ โดยคนจะมีหนาที่ใน การออกคําสั่งและดูแลเครื่องจักรเทานั้น การใชเครื่องจักรอัตโนมัติในการทํางาน จะทําใหสามารถทํางานไดงาย ปรับเปลี่ยน ไดงายและสามารถดูแลสถานะของเครื่อง จักรและการผลิตไดทันที อีกทั้งยังชวยลด อัตราการเกิดอุบัติเหตุอีกดวย ศิรินทร เปงศิริ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจิเนียริ่ง กลาว วา ในอุตสาหกรรมยุคที่ 4 เปนยุคของ ความไรพรมแดน เปนยุคที่ธุรกิจถูกขับ เคลื่อนดวยความตองการจากลูกคา การ แขงขันทางอุตสาหกรรมไมไดแขงเฉพาะ ในทองถิ่น หรือในประเทศเทานั้น ยุคไร พรมแดนนี้ ทําใหเราสามารถสั่งผลิต สินคาจากตางประเทศที่คุณภาพดีกวา ราคาเทากัน และไดของเร็วกวาสินคาที่ ผลิตภายในประเทศแลว เพราะฉะนั้น อุตสาหกรรมไทยจําเปนตองปรับตัวอยาง รวดเร็ว ถาอุตสาหกรรมใดพรอมกอน ยอมไดเปรียบ ศศิธร เลาตอวา ยุค 4.0 เปนยุคของ ความไรพรมแดนและธุรกิจถูกขับเคลื่อน โดยลูกคา ถาหากโรงงานอุตสาหกรรม สามารถนําเสนอสินคาที่ตรงกับความ การกาวเขาสูยุคอุตสาหกรรม4.0 ซึ่ง เปนยุคเครื่องจักรอัตโนมัติ (Automation system) จะเขามาชวยในการผลิต สินคาและเขามาชวยในการทํางานใหมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Smart Industry จึงขอนําเสนอ เทรนเทคโนโลยีที่จะเขามา มีบทบาทสําคัญในอนาคตอันใกลนี้ เคร�่องจักรอัตโนมัติ ปจจัยหลักผลักดันสูอุตสาหกรรม 4.0 ตองการของลูกคาไดภายในระยะเวลาที่ รวดเร็วภายใตการประมวลผลขอมูลที่ถูก ตอง โดยไมมีอุปสรรคเรื่องการสื่อสาร และระยะทาง ก็จะสามารถเขาถึงลูกคาได งายมีโอกาสทางการขายมากยิ่งขึ้น ลูกคา ก็สามารถสั่งซื้อสินคาไดมากขึ้น เมื่อเกิดการแขงขันทางธุรกิจแบบไร พรมแดนในยุคนี้ เปนความไดเปรียบของ ลูกคาที่สามารถเลือกแสวงหาสินคาที่ เฉพาะไดตามที่ตนเองตองการโดยการ ตัดสินใจสั่งซื้อสินคาจากธุรกิจใดก็ตามไม วาในประเทศหรือตางประเทศควรตอง พิจารณาสิ่งเหลานี้คือ 1. กระบวนการการรับคําสั่งซื้อของ โรงงานที่ลูกคาตองสามารถติดตาม สถานะการสั่งซื้อและสถานะการผลิต สินคาไดดวยตนเอง ไดในทุกขั้นตอน 2. มีระบบการยืนยันคําสั่งซื้อและ ระยะเวลาจัดสงที่ชัดเจน 3. เลือกใชบริการขนสงที่มีมาตรฐาน และติดตามได 4. ระบบชําระเงินที่ปลอดภัย นอกจากนี้ ยังมีตัวอยางการนํา เทคโนโลยี Watson IoT มาใชเสริม ศักยภาพระบบปฏิบัติการที่โรงแยกกาซ ระยองของบริษัท ปตท. จํากัด โดยในป พ.ศ. 2560 บริษัท ปตท. ซึ่งเปนบริษัท ผูผลิตกาซและนํ้ามันรายใหญที่สุดใน ประเทศไทย ไดเริ่มนําเทคโนโลยี IBM Watson IoT มาใชเปนครั้งแรกใน ประเทศไทย เพื่อเพิ่มผลผลิตและเสริม ศักยภาพระบบปฏิบัติการของโรงแยกกาซ โดยเริ่มใชกับชุดgasturbine ของโรงแยก กาซระยอง กอนที่จะขยายไปใชกับ เครื่องจักรที่สําคัญทั้งหมดในโรงงานแยก กาซทั้ง 6 แหง ในอดีต ทีมงานมักไดรับการแจง เตือนจํานวนมากทั้งที่ระบบไมไดมีปญหา ซึ่งทําใหการเตือนภัยเริ่มกลายเปนสิ่งที่ไร ความหมายสําหรับผูควบคุมและทีม อยางไรก็ตาม ดวยการระบุคาสหสัมพันธ
  • 4. 4Smart Industry การกาวเขาสูอุตสาหกรรม 4.0 ของ ธุรกิจจะตองนําเสนอผลิตภัณฑที่มีการ สอดแทรกของนวัตกรรมและเทคโนโลยี เขามาเกี่ยวของ อาทิ การผลิตเครื่องดื่มที่ มีสวนผสมของวิตามินบํารุงรางกาย หรือ การผลิตขาวที่มีคุณสมบัติพิเศษสําหรับ ผูปวยเบาหวาน เปนตน ประเทศไทยในฐานะประเทศกําลัง พัฒนา และเปนฐานการผลิตของอุตสาห- กรรมที่มีความสําคัญแหงหนึ่งของโลก จําเปนอยางยิ่งที่จะนําเทคโนโลยีและ ระบบอัตโนมัติเขามาชวยงานในการผลิต ใหมากขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิต และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน กับประเทศตางๆ เพื่อตอบสนองตอ ความตองการของเศรษฐกิจและสังคม ทั้งในปจจุบันและอนาคต วิโรจน ลิ่มตระการ ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนยบริการปรึกษาการออกแบบและ วิศวกรรม สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติกลาววา การที่จะ ทําใหประเทศไทยบรรลุเปาหมายสู ในยุคที่การแขงขันไรพรมแดนและในยุคที่การแขงขันไรพรมแดนและ รุนแรง การเขาถึงลูกคาไดโดยตรงจาก เทคโนโลยีอินเทอรเน็ต และการนําเสนอเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต และการนําเสนอ ในรูปแบบธุรกิจและผลิตภัณฑ/บริการในรูปแบบธุรกิจและผลิตภัณฑ/บริการ นวัตกรรมใหมๆ เขามามีทบาทในการทํา ธุรกิจมากขึ้น การปรับตัวของธุรกิจใน ประเทศ ตองมองหาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมใหมเขามาทดแทนการทํางาน ในรูปแบบเดิมเพื่อรองรับการแขงขันใน โลกยุคดิจิทัลที่มีความสะดวก รวดเร็ว และสามารถผลิตสินคาไดตรงกับความ ตองการและพฤติกรรมของผูบริโภค มากขึ้น อุตสาหกรรม จะตองมุงเนนไปใน อุตสาหกรรมที่มีความพรอมที่ใกลเคียง กัน หรือโรงงานที่มีความพรอมใกลเคียง กัน ในหลากหลายอุตสาหกรรม จะตองมี การผลักดันเพื่อใหมีโรงงานที่ประสบ ความสําเร็จในการนําเครื่องจักรมาชวยใน การทํางาน(Successcase) เพื่อประโยชน ของโรงงาน มีการนําระบบการสื่อสารเต็ม รูปแบบผานออนไลน เชน การนําวีดีโอ คอล มาชวยในการแกไขปญหาทําให ธุรกิจสามารถแกไขปญหาไดอยางรวดเร็ว มาก และเรื่องของการสื่อสารจะเปนการ สื่อสารเต็มรูปแบบ สําหรับอุตสาหกรรมที่มีความพรอม และมีการเดินหนาไปสูอุตสาหกรรม 4.0 มีการนําเครื่องจักรมาชวยในการทํางาน อยางเต็มประสิทธิภาพ อาทิ อุตสาหกรรม ฮารดดิสกอุตสาหกรรมยานยนต และ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส เปนตน “ในสวนของโรงงานที่กําลังปรับตัว และเตรียมที่จะนําเครื่องจักรมาชวย ในการทํางาน ควรเริ่มจากโรงงานกึ่ง อัตโนมัติ มีการติดตั้งเครื่องมือวัด ประสิทธิภาพการทํางาน การติดตั้งเครื่อง มือวัดตางๆ อาทิเชนวัดอุณหภูมิ ความชื้น และ เตรียมบุคลากรที่จะรองรับการ เปลี่ยนแปลงกับวัฒนธรรมองคกรที่จะนํา เครื่องจักรมาชวยในการทํางาน เตรียม ระบบไอที ไวไฟ เพื่อรองรับการสื่อสาร เรียลไทมเทาที่จําเปน เพราะเทคโนโลยีไป เร็วมาก การลงทุนที่จะปรับตัวของโรงงาน จะตองมุงเนนการลงทุนที่สงผลกระทบ กับโรงงานโดยตรง และเครื่องจักรที่จะ เอาเขามาจะตองเปนเครื่องจักรทางดาน การผลิตที่มีผลกระทบตอรายได กําไร ขาดทุนของโรงงาน สามารถผลิตสินคาที่ มีมาตรฐานการผลิตระดับสากล สามารถ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพื่อรองรับกับ ทิศทางที่ทําใหตนทุนการผลิตของโรงงาน ตํ่าที่สุด” วิโรจน กลาว ดาน นพมาศ ศิวะกฤษณกุล ประธาน แมคคินซี่ แอนด คอมพานี (ประเทศไทย) และประธานฝายการตลาดและฝายขาย แมคคินซี่ในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งเปนบริษัท ที่ปรึกษาดานการบริหารจัดการธุรกิจทั้ง ภาครัฐ เอกชน และสังคม กลาววา ในยุคของดิจิทัล องคกรตองปรับตัวเพื่อ รับกับเทคโนโลยีใหมที่เปลี่ยนแปลงอยู ตลอดเวลา องคกรเริ่มมีการใชเครื่องจักร อัตโนมัติเพื่อชวยใหการบริหารจัดการ ขอมูลและตรวจสอบขอผิดพลาดมากขึ้น บริษัทไดทําการวิจัย DigiThaization: Automation and future of jobs in Thailand เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2560 ที่ผานมา ผลการวิจัยระบุวา ประเทศไทย ในป 2573 หรือในอีก 12 ป อุตสาหกรรม การผลิตของไทยจะกาวสูการนําเครื่อง จักรอัตโนมัติมาใชการทํางานแบบเต็ม รูปแบบ เชน การนําหุนยนตมาชวยใน โรงงานอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มผลผลิต และ สามารถที่จะชวยเพิ่มจีดีพีของ ประเทศ 0.8-1.4 เปอรเซ็นต รัฐเปดแผนกาวสู อุตสาหกรรม 4.0 ในอีก 20 ปขางหนา ทางดานกระทรวงอุตสาหกรรมเปน หนึ่งในแมงานที่มีบทบาทสําคัญในการขับ เคลื่อนอุตสาหกรรม 4.0 เพื่อใหสอดรับ กับการพัฒนาประเทศใหมีการพัฒนาทาง ดานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมอยางตอ เนื่อง สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมได จัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรม ไทย 4.0 ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) ภายใตวิสัยทัศน “มุงสูอุตสาหกรรมที่ ขับเคลื่อนดวยปญญาและเชื่อมโยงกับ เศรษฐกิจโลก” อีอีซี - อีอีซีไอ - ดิจิทัล พารค - สมารท พารค 4 เรือธงนําไทยสูอุตสาหกรรม 4.0เรือธงนําไทยสูอุตสาหกรรม 4.0
  • 5. 5Smart Industry 5Smart IndustrySmart IndustrySmart IndustrySmart Industry เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตเชื่อมตออุปกรณ ปญญาประดิษฐและเทคโนโลยีสมองกล ฝงตัว และกลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค ทุนวัฒนธรรมและบริการที่มีมูลคาสูง เนื่องจากการพัฒนาประเทศใหหลุด พนจากกับดักประเทศรายไดปานกลาง แลวกาวไปสูประเทศที่มีรายไดสูงนั้น จําเปนตองมีการปรับโครงสรางอุตสาห- กรรมอันเปนกลไกหลักในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศ โดยมุงเนนการ พัฒนาอุตสาหกรรมที่มีการใชเทคโนโลยี ขั้นสูงในการผลิต และเปนอุตสาหกรรมที่ มีการพัฒนาในดานความคิดสรางสรรค และนวัตกรรมตางๆ ในการขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาห- กรรมของประเทศก็เชนเดียวกัน เพื่อ ใหการพัฒนาอุตสาหกรรมเปนไปอยางตอ เนื่อง ตองมีการเตรียมการเพื่อแสวงหา นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีใหม เพื่อการ ตอยอด S-curve เดิมที่กําลังจะถึง จุดอิ่มตัว ใหมีการพัฒนาตอไปไดอยาง ตอเนื่อง ขณะที่สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) โดย ศูนยบริการปรึกษาการออกแบบ และ วิศวกรรม มีแผนสนับสนุนผานหนวยงาน ที่เกี่ยวของอาทิ การใหคําปรึกษากับธุรกิจ ในการนําเทคโนโลยีมาชวยในการพัฒนา ผลิตภัณฑและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต รัฐหนุน 4 โครงการ ยักษรองรับ อุตสาหกรรม 4.0 สําหรับแนวทางการขับเคลื่อนและ การปรับตัวของประเทศไทยเพื่อกาวเขาสู อุตสาหกรรม 4.0 นั้น ภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวของไดผลักดัน ผาน 3 โครงการหลักที่กําลังจะเกิดขึ้น ประกอบดวย โครงการ เขตสงเสริม อุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล หรือ ดิจิทัลพารคไทยแลนด (Digital Park Thailand) ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก หรือ อีอีซี และ สมารท พารค (Smart Park) เปนการเสริมสรางความ แข็งแกรง และเพื่อเพิ่มศักยภาพการ แขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศ ไทยกาวสูประเทศที่มีรายไดสูง มีความ มั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมในอีก 20 ป ขางหนา ดิจิทัลพารคศูนยกลาง การลงทุนและการ สรางสรรคนวัตกรรม ดิจิทัล รองรับการ เติบโตที่ยั่งยืน ดวยภูมิศาสตรของประเทศไทยที่ตั้ง อยูตรงศูนยกลางของภฺมิภาคอาเซียน มีความอุดมสมบูรณของทรัพยากร ธรรมชาติ มีโครงสรางพื้นฐานการสื่อสาร โทรคมนาคมครอบคลุมทั่วประเทศ ภาย ใตระบบนิเวศนครบวงจรที่เอื้อประโยชน ตอการสรางสรรคนวัตกรรม โครงการ ดิจิทัล พารค ไทยแลนด (Digital Park Thailand) จึงเกิดขึ้นจากความรวมมือ ระหวางCAT กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม และการนิคมอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย โดยจะพัฒนาขึ้นบนพื้นที่ ขนาด 500 ไรใน อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ให เปนศูนยกลางการลงทุน และการสราง สรรคนวัตกรรมดานดิจิทัล พิเชฐ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวาการ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) กลาววา เขตสงเสริมอุตสาหกรรม และนวัตกรรมดิจิทัล หรือ ดิจิทัลพารค ไทยแลนด (Digital Park Thailand) มีจุด มุงหมายเพื่อสงเสริมใหเกิดการลงทุนและ การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลยุคใหมผาน ธุรกิจดิจิทัลระดับโลก (Digital Global Player) และกลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย ของดิจิทัลพารคไทยแลนด โดยใหดําเนิน งานรวมกับชุมชนในพื้นที่ ถึงแนวทางที่ ประชาชนจะไดรับประโยชนจากเขตสง เสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล และยังจะสรางอุตสาหกรรมดิจิทัลใหม เพื่อรองรับการแขงขันของธุรกิจในอนาคต และสรางความมั่งคง และยั่งยืนใหกับ อุตสาหกรรมไทยดวย ดิจิทัล พารค ไทยแลนด นอกจากจะ ชวยสงเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม ดิจิทัลแลว ยังจะชวยใหเกิดการพัฒนา บุคลากร และการพัฒนาสินคา และ บริการดิจิทัลใหมๆ เพื่อสนับสนุนการ เติบโตของอุตสาหกรรมอื่นๆ ตามนโยบาย โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor) หรือ อีอีซี ดวย แขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศแขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศ แข็งแกรง และเพื่อเพิ่มศักยภาพการ แขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศ แข็งแกรง และเพื่อเพิ่มศักยภาพการ แขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศ ไทยกาวสูประเทศที่มีรายไดสูง มีความ แขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศแขงขันของประเทศสูงขึ้นเพื่อใหประเทศ เพื่อใหประเทศไทยรอดพนกับ 3 กับ ดักที่เปนอุปสรรคตอการเติบโตตอไปใน อนาคต ไดแก กับดักประเทศรายไดปาน กลาง (Middle Income Trap) กับดัก ความไมเทาเทียม (Inequality Trap) และกับดักความไมสมดุลของการพัฒนา (Imbalance Trap) โดยยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาห- กรรมไทย 4.0 มีการตั้งเปาหมายใหภาค อุตสาหกรรมไทยมีอัตราการเติบโตของ GDP เฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 4.5 ตอป การลงทุนเติบโตเฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 10 ตอป มูลคาการสงออกขยายตัวเฉลี่ย รอยละ8 ตอป ซึ่งเปนอัตราการขยายตัวที่ จะสงผลใหประเทศไทยสามารถขยับสู การเปนประเทศรายไดสูงภายในป 2579 ตามเปาหมายของยุทธศาสตรชาติ อุตสาหกรรมจะตองมีการปรับ โครงสรางเศรษฐกิจจากเดิมที่การขับ เคลื่อนดวยการพัฒนาประสิทธิภาพใน การผลิตภาคอุตสาหกรรม ไปสูเศรษฐกิจ ที่ขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Innovation Drive Economy) และปรับ เปลี่ยนจากการใหบริการพื้นฐานเปน บริการที่ตองใชทักษะขั้นสูง โดยตองขับ เคลื่อนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงใน 3 มิติ ที่สําคัญ ไดแก 1. เปลี่ยนจากการผลิตสินคา โภคภัณฑ ไปสูสินคาเชิงนวัตกรรม 2. เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศ ดวยภาคอุตสาหกรรม ไปสูการขับเคลื่อน ดวยเทคโนโลยี ความคิดสรางสรรค และ นวัตกรรม 3. เปลี่ยนจากการเนนภาคการผลิต สินคา ไปสูการเนนภาคบริการมากขึ้น ซึ่งหากกลาวในบริบทของภาค อุตสาหกรรม ก็คือการปรับโครงสราง จากกลุมอุตสาหกรรมดั้งเดิมสูกลุม อุตสาหกรรมที่มีมูลคาและความซับซอน สูง ซึ่งขับเคลื่อนดวย 5 กลุมเทคโนโลยี และนวัตกรรม ไดแก กลุมอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ กลุมสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย กลุมเครื่องมืออุปกรณอัจฉริยะ หุน ยนต และระบบเครื่องกลที่ใชระบบ อิเล็กทรอนิกสควบคุม กลุมดิจิทัล
  • 6. 6Smart Industry พิเชษฐ กลาวตอวา กระทรวงดีอี มุงหวังที่จะขับเคลื่อนอุตสาหกรรมดิจิทัล ใหม (New S-Curve Digital Industry) แบงออกเปน 1. กลุมผูผลิตฮารดแวร และชิ้นสวน ดิจิทัล อาทิ คอมพิวเตอร และสวน ประกอบ อุปกรณอัจฉริยะ และชิ้นสวน อัตโนมัติ หุนยนต และอื่นๆ ที่เกี่ยวของ กับระบบดิจิทัล 2. กลุมผูผลิต และใหบริการ ซอฟตแวร อาทิ คลาวนคอมพิวติ้ง(Cloud Computing) ระบบอัจฉริยะ (Intelligent System) และโซลูชั่นที่เกี่ยวของกับระบบ ดิจิทัลสมัยใหม 3. กลุมผูใหบริการดิจิทัล อาทิ ดิจิทัล เทค สตารทอัพ (Digital Tech Startup) กลุมผูใหบริการขอมูลดิจิทัล (Digital Content) ภาพยนตร โฆษณา และอื่นๆ 4. กลุมผูผลิตอุปกรณสื่อสารและ บริการสื่อสาร อาทิ โทรคมนาคม แพร ภาพกระจายเสียงดาวเทียม และสวน ประกอบ อินเทอรเน็ตความเร็วสูง และ อื่นๆ 5. กลุมผูใหบริการแพลตฟอรมการ คาดิจิทัลรูปแบบใหมๆ เชน โซเชียล คอม เมิรส (Social commerce) โมบายน คอม เมิรส (Mobile commerce) และ มีเดีย คอมเมิรส (Media commerce) เปนตน อีอีซี และ อีอีซีไอ ขานรับนวัตกรรมใน ประเทศ คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะ กรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ อีอีซี เลาวา การพัฒนา อีอีซี เปนการตอยอด จากการพัฒนาโครงการที่มีอยูเดิม โดย คํานึงถึงการสรางนวัตกรรมที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมเพื่อสรางความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยถือวาการพัฒนาอีอีซี เปน กลไกขับเคลื่อน ‘ประเทศไทย 4.0’ แบบ กาวกระโดด และเปนพื้นที่เปาหมายแรก ในการสราง การลงทุนอุตสาหกรรมเปา หมาย สรางระบบการถายโอนเทคโนโลยี ขั้นสูงสูคนไทย ดวยการพัฒนาเศรษฐกิจ แบบมีสวนรวม การขับเคลื่อนโครงการอีอีซี ให สําเร็จได จําเปนตองพัฒนา และยกระดับ ขีดความสามารถการแขงขันทางธุรกิจการ คาโดยพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน ตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งโครงขาย คมนาคมขนสงผูโดยสารและสินคา ทั้ง ทางอากาศ ทางราง ทางถนน และทางนํ้า ใหเชื่อมสูทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และผลัก ดันใหภาคตะวันออกของไทยเปนประตูสู ตลาดกัมพูชา พมา ลาว เวียตนาม และ จีนตอนใต โดย 5 โครงการสําคัญในพื้นที่ พัฒนาอีอีซีที่รัฐบาลเรงผลักดันใหสําเร็จ เปนรูปธรรม โดยการพัฒนาอีอีซี จะครอบคลุม 3 จังหวัด ไดแก ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพอยูแลว เมื่อมี การตอยอดการพัฒนา และมีนักลงทุน จากตางประเทศสนใจเขามาลงทุน และ เสนอขอรับการสงเสริมการลงทุนจาก บีโอไอจํานวนมาก ทั้งนี้เพื่อใหอีอีซีเปนแกนนําในการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การพัฒนา เทคโนโลยีขั้นสูงที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม อันจะเปนประโยชนตอการเพิ่มขีดความ สามารถในการแขงขันของประเทศและยก ระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ เพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจในพื้นที่ สราง โอกาสในการจางงาน และการกระจาย รายไดใหแกประชาชนในพื้นที่หัวเมือง สําคัญ เพื่อรองรับการขยายตัวของ เศรษฐกิจในอนาคตดวย นอกจากนี้จากมติคณะรัฐมนตรี มี มติเห็นชอบหลักการโครงการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor Development) เมื่อ วันที่ 28 มิถุนายน 2559 ใหเปนเขต เศรษฐกิจชั้นนําของอาเซียน เพื่อสงเสริม 10 อุตสาหกรรมเปาหมายใหเปนกลไกขับ เคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต (New Engine of Growth) โดยดําเนินการใน 3 จังหวัดภาคตะวันออก ไดแก ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา นั้น กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเห็นวา การสง เสริมใหเกิดการวิจัยและพัฒนาทางดาน เทคโนโลยีและนวัตกรรมในพื้นที่ระเบียง เศรษฐกิจตะวันออก จะเปนกลไกสําคัญ ประการหนึ่งที่จะสงเสริมใหระเบียง เศรษฐกิจตะวันออกของไทยเปนศูนย กลางการคา การลงทุน และกําลังคนของ ประเทศและภูมิภาค เนื่องจากการพัฒนา กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายนั้น จําเปน ตองอาศัยองคความรู ความเชี่ยวชาญทาง ดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูง เพื่อ ปรับเปลี่ยนภาคอุตสาหกรรมไปสูประเทศ ไทย 4.0 และเพื่อเชื่อมโยงระบบการคา และการขนสงสมัยใหมดวยเทคโนโลยี และนวัตกรรม จึงเสนอแนวทางการยก ระดับและพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจตะวัน ออกดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (EECi) เพื่อสรางพื้นที่นวัตกรรมใหมในเขต ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก ที่มีระบบ นิเวศนวัตกรรมที่เหมาะสม ชวยสงเสริม ใหเกิดการทําวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม รวมกันระหวางภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย รวมถึงชุมชนในพื้นที่ เพื่อชวยยกระดับ และพัฒนาอุตสาหกรรมเดิม รวมถึงสราง ใหเกิดอุตสาหกรรมใหม ทั้งในพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกและใน พื้นที่อื่นๆ ทั่วประเทศ อันจะนําไปสูการ เปนประเทศแหงนวัตกรรม ควบคูกับการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนใน พื้นที่ดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลอด จนนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไปใน อนาคต ภายใต EECi กระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี มอบหมายให สํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ชาติ (สวทช.) ไดจัดทํา “กรอบแนวคิด การยกระดับและพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออกดวยเทคโนโลยี และ นวัตกรรม (Conceptual Framework of Eastern Economic Corridor of Innovation: EECi) ซึ่งกรอบแนวคิดของเขตนวัตกรรม ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) มีวัตถุประสงคหลักประกอบดวย
  • 7. 7Smart Industry แหลงทุนไดอยางสะดวกรวดเร็วขึ้น โดย จัดใหมีสินเชื่อ 2 แบบ คือ สินเชื่อเถาแก 4.0 วงเงินรวม 8,000 ลานบาท และสิน เชื่อเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชน วงเงิน รวม 50,000 ลานบาท ทางดานสํานักนวัตกรรมแหงชาติ มี การใหทุนสนับสนุนนักเรียนอาชีวศีกษา และนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย ที่ พัฒนานวัตกรรมเพื่อรองรับธุรกิจรูปแบบ ใหมหรือ สตารทอัพดวยทุนสนับสนุน 1.5 ลานบาทตอโครงการ และในปนี้เตรียมงบ ประมาณใหทุนสนับสนุนประมาณ 50 ลานบาท นอกจากนี้สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจ ดิจิทัล(DEPA) เปนอีกหนวยงานที่มีนโยบาย ในการสนับสนุนและสงเสริมภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมในการขับเคลื่อนเขาสู Thailand 4.0 โดยมุงเนนใหเกิดการ พัฒนาศักยภาพผูประกอบการภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมของไทยใหมีการพัฒนา องคความรูและสรางความตระหนักเรื่อง การเปลี่ยนผานสูยุคดิจิทัล และมุงพัฒนา ศักยภาพ และสรางเครือขายผูเชี่ยวชาญ และที่ปรึกษาดานดิจิทัล และสงเสริมให เกิดการประยุกตใชดิจิทัลเพื่อยกระดับขีด ความสามารถการดําเนินธุรกิจใหไดรับ มาตรฐานทางดานดิจิทัล ซึ่งจะนําไปสู ความสามารถทางการคาของผูประกอบ การไทยในตลาดโลกไดอยางยั่งยืน โดยใน ปนี้ ดีปาไดตั้งงบประมาณ 200 ลานบาท ในการสนับสนุนสตารทอัพที่ตองการใช เงินลงทุนในการทําธุรกิจ โดยดีปาจะ ใหการสนับสนุนในรูปแบบเขาไปมีสัดสวน การถือหุนกับบริษัทสตารทอัพ ที่ตองการ ทุนตอยอดธุรกิจตั้งแต 500,000 บาท ถึง 5 ลานบาทตอสตารทอัพ ดังนั้น อาจกลาวไดวาอุตสาหกรรม การผลิตในประเทศไทย เริ่มมีการปรับตัว และสงเสริมการนําเทคโนโลยีอัตโนมัติ เขามาชวยงานในการผลิตมากขึ้นเพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการผลิต และเพิ่มขีดความ สามารถในการแขงขันกับประเทศตางๆ เพื่อตอบสนองตอความตองการของ เศรษฐกิจและเพื่อเปนการลดปญหาดาน ตนทุนแรงงานที่สูงขึ้นในปจจุบัน นอกจาก นี้รัฐบาลและเอกชนไดรวมมือกันเพื่อมุง เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมใหมที่มีการใช เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมๆ เพื่อเปน กลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่มีการ แขงขันสูงในยุคดิจิทัลและรองรับการขับ เคลื่อนเศรษฐกิจที่ยั่งยืนของประเทศใน อนาคต 1. การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรม โดยมุงเนนการวิจัยเพื่อ ตอยอดไปสูการใชงานจริง (Translational Research) 2. ถายทอดเทคโนโลยีใหกับภาค อุตสาหกรรม เพื่อพัฒนา10 อุตสาหกรรม เปาหมายของประเทศ ดวยการยกระดับ อุตสาหกรรมเดิมและสรางอุตสาหกรรม ใหม สรางความเขมแข็งใหอุตสาหกรรรม ในพื้นที่ควบคูไปกับการสรางอุตสาหกรรม ใหมที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง ตลอดจนสง เสริมใหเกิดวิสาหกิจเริ่มตน (Startup) ทางดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมสําหรับ เปนพื้นฐานรองรับการเติบโตของอุตสาห- กรรมใหม ทั้งอุตสาหกรรมในระเบียง เศรษฐกิจภาคตะวันออกและอุตสาหกรรม อื่นๆ ทั่วประเทศ 3. เชื่อมโยงเครือขายการวิจัยและ พัฒนาทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อสรางสังคมนวัตกรรมของประเทศ รองรับความตองการใชเทคโนโลยีขั้นสูง ในลักษณะบูรณาการการทํางานรวมกัน ระหวางหนวยงานภาคเอกชน สถาบันการ ศึกษา/สถาบันวิจัย และหนวยงานภาครัฐ ในลักษณะการทํางานรวมแบบ Triple Helix และขยายผลตอยอดไปสูการมีสวน รวมของประชาชนในชุมชน ในลักษณะ การทํางานรวมแบบ Quadruple Helix “เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก” หรือเรียกวา EECi จะ ประกอบไปดวยระบบนิเวศนวัตกรรมที่ สมบูรณ เปนพื้นที่เศรษฐกิจใหมที่มีความ เขมขนของงานวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม หองปฏิบัติการวิจัยทั้งภาครัฐและเอกชน หองทดลองภาคสนาม (Living Lab) ศูนย วิเคราะหทดสอบชั้นนํา โรงงานตนแบบ และโรงงานสาธิต ควบคูกับการยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ดวย เทคโนโลยีและนวัตกรรม ดังมีองคประกอบ ของระบบนิเวศนวัตกรรมและแนวทาง การดําเนินงานหลัก อาทิ เปนแหลงวิจัย และนวัตกรรมที่เขมขน(R&IFocus) เพื่อ นําผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ไดไปตอบ โจทยภาคอุตสาหกรรมทั้งในพื้นที่ EEC และทั่วประเทศ โดยเปนการทํางานรวม กันทั้งภาคเอกชน สถาบันการศึกษา/ สถาบันวิจัย และภาครัฐ ศูนยรวมหองปฏิบัติการวิจัยของรัฐ และเอกชน (Concentration of Public & Private Laboratory) เพื่อสงเสริมใหเกิด การทํางานรวมกัน เกิดการแลกเปลี่ยน องคความรู ตลอดจนอุปกรณและเครื่อง มือตางๆ เปนตน ตั้ง สมารทพารค ขับ เคลื่อนอุตสาหกรรม ไฮเทค S Curve ใน ประเทศ วีรพงศ ไชยเพิ่ม ผูวาการการนิคม อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) กลาววา กนอ. ไดจัดสรรพื้นที่ 1,466 ไร ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด พัฒนาให เปนนิคมอุตสาหกรรมตนแบบ ภายใชชื่อ สมารทพารค (Smart Park) โดยจะดึง อุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูงเขาไป ตั้งโรงงาน เชน อุตสาหกรรมอุปกรณการ แพทย และยา เปนตน สําหรับการพัฒนา สมารทพารค ขณะนี้อยูระหวางการออกแบบ การทํา รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (อีไอเอ) และจะเริ่มกอสรางไดในป 2561- 2562 จากนั้นจะเปดใหบริการในป 2563 กนอ. ไดแบงพัฒนาพื้นที่นิคมสมารท พารคในรูปแบบคลัสเตอร ใหเกิดความ คลองตัวในการเชื่อมโยงธุรกิจ และ อุตสาหกรรม เพื่อปนเขตสงเสริมกิจการ อุตสาหกรรมเปาหมาย (S-curve) ที่จะ เกิดขึ้นในพื้นที่รวม 4 กลุมคือ 1. อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร ผสมผสานการผลิตอุปกรณทางการ แพทยดวยระบบอิเล็กทรอนิกส 2. อุตสาหกรรมโลจิสติกสการบิน และอวกาศ ที่จะเริ่มจากการบริการเพื่อ ขนสง ไปถึงการผลิตชิ้นสวนอากาศยาน ไรคนขับ (drone) และระบบนําทาง ซอฟตแวร 3. อุตสาหกรรมอุปกรณอัจฉริยะ หุนยนตและจักรกล 4. อุตสาหกรรมดิจิทัล เทคโนโลยี อินเทอรเน็ต เชื่อมตอปญญาประดิษฐ อยางเชนซอฟตแวรที่ฝงในตัวระบบหรือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสบางประเภท สําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของที่มี บทบาทสําคัญที่ใหการสนับสนุนในการ ขับเคลื่อนใหเกิดอุตสาหกรรม 4.0 อาทิ กระทรวงอุตสาหกรรม มีเปาหมายใน การพัฒนาบุคลากรที่มีความรูทางดาน เทคโนโลยีสารสนเทศ การทําธุรกิจผาน อีคอมเมิรส ประมาณ 500,000 คน ในอีก 5 ปขางหนา และมีแผนที่จะพัฒนา บุคลากรที่มีความรูทางดานเทคโนโลยี สารสนเทศ ประมาณ 10,000 ภายในปนี้ นอกจากนี้รัฐบาลยังไดสรางโอกาศให ผูประกอบการรายยอยสามารถเขาถึง
  • 8. 8Smart Industry ศิรินทร เปงศิริ อัพไทมพีพลัสพรีดิคทีฟแมนเทแนนซ (Up-Time P+ Predictive Maintenance) เปนระบบการติดตามการใชงานและสภาพ เครื่องจักรตลอดเวลา (Real-Time) เพื่อ การบํารุงรักษาแบบคาดการณ “บริษัทนําเสนอโซลูชั่นที่ตอบ โจทยโรงงานอุตสาหกรรมที่ตองการนํา เทคโนโลยีมาชวยในโรงงานการผลิต สามารถผลิตสินคาไดตรงลดขั้นตอนที่ซํ้า ซอน ลดความสูญเสียระหวางการผลิต และชวยทําใหติดตามและแกไขปญหา ไดรวดเร็วในโรงงาน นอกจากนี้ยังเปน โซลูชั่นที่ชวยใหโรงงานมีประสิทธิภาพ การทํางานเพิ่มขึ้น 5-50 เปอรเซ็นต ชวย ลดตนทุน ลดของเสีย ลดเวลาหยุดของ เครื่องจักรหยุดโดยไมทราบสาเหตุ 80- 90 เปอรเซ็นต เราทําโซลูชั่นเพิ่มตอบ โจทยลูกคาไดและเคาสามารถที่จะเพิ่ม ประสิทธิภาพการทํางานของฝายผลิต เพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 ในอนาคต” ศิริทร กลาวและวา ภายในไตรสามสองปนี้บริษัทยังจะ นําระบบ อัพไทม พีพลัส (Up-Time P+) ซึ่งเปนนวัตกรรมการออกแบบที่รวม เอาเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตทุกสรรพสิ่ง (Internet of thing) หรือ IoT และระบบ คลาวน โซลูชั่น (Cloud solution) ที่ สามารถตรวจสอบขอมูลไดทันทีทันใด (Real time monitoring) สําหรับสภาพ ของเครื่องจักรขณะทํางาน เชน การ ปด-เปด การหยุด ความรอน พลังงาน จากอุปกรณเซ็นเซอร (Sensor) แปลง สัญญาณแจงเตือนไดทุกที่ทุกเวลา ทําให สามารถใชงานกับเครื่องจักรไดเต็ม ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดวย ปจจุบัน บริษัทมีลูกคามากกวา 20 ราย อัพไทมพีพลัส อันดงบอรด (Up- Time P+ Andon Board) เปนระบบ IIoT พรอมหนาจอแสดงผลในไลนการผลิตที่ สามารถเชื่อมตอรับขอมูลจากเครื่องจักร PLC และอุปกรณเซ็นเซอรในโรงงาน อุตสาหกรรม นําแสดงผลเปนขอมูลและ นําสงขอมูลขึ้นไปยังระบบคลาวน อัพไทมพีพลัส โปรดัคชั่น (Up-Time P+ Cloud) เปนแอพพลิเคชั่นระบบคราวน ทําหนาที่บันทึกแผนการผลิตและประมวล ผลคาประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร หรือที่เรียก OEE (Overall Equipment Effectiveness) อัพไทมพีพลัส พรีเว็นทีฟ แมน เทแนนซ (Up-Time P+ Preventive Maintenance) เปนระบบบริการจัดการ งานบํารุงรักษาเครื่องจักร (Computerize Maintenance Management System) มุงเนนการบํารุงรักษาเชิงปองกัน ทั้งนี้ บริษัทไดพัฒนาและนําเสนอ ระบบอัพไทมพีพลัส คลาวน เวอรชัวรไรด โปรดักทิวิตี้อิมพรูฟเมนท โซลูชั่น (Cloud Visualized Productivity Improvement Solution) ซึ่งประกอบดวย ศิรินทร เปงศิริ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจิเนียริ่งเลาวา บริษัทฯ เกิดจากการรวมตัวของผูเชี่ยวชาญที่ปรึกษาโรงงานอุตสาหกรรม วิศวกร โรงงาน การพัฒนาระบบงานออโตเมชั่นและพัฒนาซอฟตแวร ตลอดระยะเวลา 8 ป ของบริษัท ไดออกแบบและพัฒนาระบบเพื่อการปรับปรุงผลิตภาพของโรงงาน อุตสาหกรรมซึ่งอุตสาหกรรมการผลิตสามารถนําระบบสารสนเทศมาชวยในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต รวมถึงการเพิ่มศักยภาพการแขงขันในตลาดดวยสินคาที่มี คุณภาพ มีมาตรฐานสากล และตอบโจทยในการผลิตสินคาไดตรงตามความตองการ ของผูบริโภคและลูกคาบริษัทจึงพัฒนาอินเทอรเน็ตของสรรพสิ่งสําหรับอุตสาหกรรม (Industrial Internet of Things หรือ IIoT) เพื่อชวยในการปรับปรุง การผลิตในโรงงาน อุตสาหกรรม ใหคําปรึกษา ติดตั้งระบบงานบริหารจัดการการผลิต หรือManufacturing Execution System (MES) รองรับการผลิต รวมถึงออกแบบและพัฒนาโซลูชั่นเพื่อตอบ โจทยความตองการของลูกคา เชน การแปลงสัญญาณทางไฟฟาอิเล็กทรอนิกส การ เชื่อมตอสื่อสารขอมูลจากเครื่องจักร เปนขอมูลเพื่อการวิเคราะหและประมวลผลมุง เนนดานการจัดการการผลิต การบํารุงรักษาเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อ ตอบโจทยการพัฒนาอุตสาหกรรมสู อุตสาหกรรม 4.0 (Industrial 4.0) และเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม เอ็กตรา โซลูชั่น เอ็นจิเนียริ่ง สงระบบอัพไทมพีพลัสคลาวนเวอรชัวรไรด โปรดักทิวิตี้ อิมพรูฟเมนท โซลูชั่นตอบโจทย อุตสาหกรรม 4.0
  • 9. 9Smart Industry สมชาย สุภาพสุนทร เพิ่มประสิทธิภาพการทํางานไดมากกวา 15 เปอรเซ็นต ทําใหลูกคาสามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต และกําไรจาก การนําเครื่องจักรมาใชงานไดมากขึ้น” สมชาย กลาวและวา บริษัทฯ รับพัฒนาโซลูชั่นที่หลาก หลายรองรับความตองการของลูกคา อาทิ แอพพลิเคชั่นที่รองรับเครื่องจักร อุตสาหกรรมอัตโนมัติ (Industrial Automation Applications) ระบบ ควบคุมเครื่องจักร (Industrial Controls) ระบบเครือขายและตรวจสอบเครื่องจักร (Machine Monitoring and Networking) ระบบควบคุมการทํางานของเครื่องจักร (Controlled assembly processes) และ ระบบทดลอง (Testing process) เปนตน สมชาย กลาววา บริษัทมุงหวังที่จะ เปนหนึ่งในผูออกแบบและพัฒนาเครื่อง จักรไทยเพื่อรองรับความตองการของ ลูกคาทั้งในและตางประเทศที่สนใจจะนํา เครื่องจักรมาชวยเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต และการทํางาน ซึ่งจะชวยใหธุรกิจ มีความสําเร็จมากยิ่งขึ้น และปจจุบัน บริษัทมีลูกคามากกวา 30 ราย “เราพรอมที่จะนําเครื่องจักรจาก ประเทศไทย ไปขยายในเวทีตางประเทศ ในอนาคต และตลาดในประเทศไทย เอง เปนตลาดที่มีความพรอมในการนํา เทคโนโลยีและเครื่องจักรมาชวยในการ ทํางานมากยิ่งขึ้นเพื่อรองรับกับการ แขงขันและการเขามาของธุรกิจจากตาง ประเทศที่มีมากยิ่งขึ้นในปจจุบัน” สมชาย กลาว ซิสเท็มบิท ตั้งเปา พัฒนาเคร�่องจักรไทยสูตลาดโลก สมชาย สุภาพสุนทร กรรมการ ผูจัดการ บริษัท ซิสเท็มบิท จํากัด เลาวา ตนเองมีประสบการณในการออกแบบ และพัฒนาเครื่องจักรมาแลว 18 ป จาก การพัฒนาหุนยนตเพื่อเขาแขงขันตั้งแต เรียนในระดับอุดมศึกษา จนไดรับรางวัล ระดับประเทศ และระดับนานาชาติที่ จากความชํานาญในการออกแบบ และพัฒนาเครื่องจักรสําหรับอุตสาหกรรม และความมุงมั่นในการสรางเครื่องจักรที่ มีมาตรฐาน รองรับอุตสาหกรรมการผลิต ที่หลากหลาย สมชาย สุภาพสุนทร ไดกอ ตั้ง บริษัท ซิสเท็มบิท จํากัด เมื่อ 6 ปที่ ผานมา เพื่อเปนบริษัทไทยที่รับออกแบบ และพัฒนาเครื่องจักรทุกชนิดเพื่อชวย เพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ลดคาใช จายใหกับโรงงานอุตสาหกรรม สามารถ ผลิตสินคาที่มีคุณภาพสูตลาด ประเทศญี่ปุนเมื่อป 2543 ที่ผานมา จากนั้นหลังจบการศึกษาไดทํางานในสวน ของการออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร อุตสาหกรรมอยางตอเนื่อง จนกระทั่งเมื่อ 6 ปที่ผานมา ไดกอ ตั้งบริษัทรับออกแบบและสรางเครื่องจักร อัตโนมัติครบวงจรขึ้นเพื่อรองรับกับความ ตองการของตลาดโรงงานอุตสาหกรรม การผลิตที่มองหาเครื่องจักรมาชวยในการ ทํางานดวยราคาที่สามารถเขาถึงไดและ มีมาตรฐานในระดับสากล สมชาย กลาววา ปจจุบันบริษัทฯ เรา รับจางผลิตเครื่องจักรตามความตองการ ของลูกคาที่หลากหลาย อาทิ เครื่องจักร ในสายการผลิตเครื่องสําอางค บะหมี่กึ่ง สําเร็จรูป เครื่องประดับ เครื่องมือแพทย อุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรม อาหาร เปนตน “เราเปนเหมือนบริษัทรับจางวิจัย และพัฒนาเครื่องจักรสําหรับลูกคา เมื่อ เรารับโจทยความตองการเครื่องจักรจาก ลูกคา ที่ตองการนําเครื่องจักรอัตโนมัติ มาชวยและมาทดแทนการทํางานที่มีอยู ในปจจุบันใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มี ความปลอดภัย ชวยลดคาใชจายและมี มาตรฐานในระดับสากล บริษัทจะใชเวลา ศึกษา ออกแบบและพัฒนาเครื่องจักร ประมาณ 3-4 เดือนตอ 1 โครงการ เพื่อ พัฒนาเครื่องจักรใหตรงกับความตองการ ของลูกคา และชวยใหลูกคาสามารถ
  • 10. 10Smart Industry นอกจากนี้บริษัทยังไดจําหนายโตะ เกาอี้ เพื่อรองรับกับความตองการของ สํานักงานและออฟฟศที่ตองการสินคาที่มี คุณภาพ ISO 9001 ในราคาที่ดีกวาราคา ตลาดทั่วไป 20 เปอรเซ็นต และบริษัท สามารถนําชิ้นงานเฟอรนิเจอรไปติดตั้ง ในรานคาที่กําลังจะเปดรานใหม รบกวน เวลาหนางาน 6-8 ชั่วโมง ชัยภัทร กลาววา การผลิตและ จําหนายเฟอรนิเจอรที่หลากหลายรูปแบบ ไมเพียง แตใชแรงงานมาชวยในการผลิต ชิ้นงานใหทันกับความตองการของลูกคา เทานั้น บริษัทยังไดนําเครื่องจักรและหุน ยนตมาชวยปรับปรุงการผลิตดวย อาทิ การนําหุนยนตมาชวยพนกาว สําหรับงาน ปดผิวเฟอรนิเจอร ทําใหบริษัทสามารถ ลดคาใชจายและเพิ่มประสิทธิภาพดวย การทํางานของหุนยนตไดมากกวา 50 เปอรเซ็นต นอกจากนี้บริษัทยังนําระบบ CAD/CAM มาชวยในการตัดชิ้นงานไม สําหรับทําเฟอรนิเจอร โดยเจาหนาที่จะ ปอนขอมูลขนาดของชิ้นงานไมลงในระบบ CAD/CAM ระบบจะสั่งใหเครื่องจักร ทําการตัดชิ้นไมสําหรับงานเฟอรนิเจอร ทําใหสามารถชวยเพิ่มความถูกตองในการ ตัดชิ้นงานไม ลดการสูญเสียวัตถุดิบ และ ยังทําใหสามารถผลิตชิ้นงานไดมีคุณภาพ เพื่อรองรับกับความตองการของลูกคา อยางไรก็ตาม บริษัทมีแผนที่จะนํา ระบบคอมพิวเตอรมาชวยในการผลิต ชัยภัทรสีตสุวรรณผูจัดการฝายขาย บริษัทดูโรฟอรมจํากัดผูผลิตเฟอรนิเจอร น็อคดาวนจากไม เลาวา บริษัทกอตั้งมา ตั้งแตป 2533 เริ่มตนธุรกิจดวยการนํา เขาผลิตภัณฑลามิเนต จากนั้นไดปรับมา สูธุรกิจการผลิตเฟอรนิเจอรน็อคดาวนใน ชวง 15 ปที่ผานมาจนถึงปจจุบันบริษัท รับจางผลิตเฟอรนิเจอร เชน เคานเตอร เพื่อรองรับกับความตองการของรานมินิ มารท ซุปเปอรมารเก็ต หางสรรพสินคา ธนาคาร และรานคาทั่วไป อาทิ ราน 7/11 ท็อปซุปเปอรมารเก็ต ฟูดแลนด ธนาคาร ไทยพานิชย เปนตน ปจจุบันบริษัทมี สินคาเฟอรนิเจอรใหเลือกมากกวา 3,000 รายการ ดูโรฟอรม ใชหุนยนต ชวยเพิ่มประสิทธ�ภาพการผลิต ดูโรฟอรมเตรียมกาวสูอุตสาหกรรม 4.0 พรอมนําหุนยนตมาชวยเสริมทับ ธุรกิจ รองรับการแขงขันธุรกิจในยุคดิจิทัล เตรียมพรอมนําระบบบารโคดมาชวยใน กระบวนการผลิต เฟอรนิเจอรมากยิ่งขึ้นและนําระบบบารโคด มาชวยในการควบคุมกระบวนการผลิต เพื่อทําใหกระบวนการผลิตเขาสูระบบ อัตโนมัติมากยิ่งขึ้น เนื่องจากการนํา เครื่องจักรและระบบคอมพิวเตอรมาชวย ในการทํางานทําใหบริษัทสามารถผลิต ชิ้นงานที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ลดการสูญ เสียของวัตถุดิบ ลดขั้นตอนในการทํางาน ลดอันตรายในการทํางาน และชวยลด คาใชจายในกระบวนการพนกาวมากกวา 50 เปอรเซ็นต “ผมมองวาโรงงานการผลิตมีความ จําเปนอยางยิ่งที่จะนําระบบคอมพิวเตอร และเครื่องจักรมาชวยในการทํางาน เพื่อ ผลิตสินคาที่มีคุณภาพและรองรับการ แขงขันของตลาด อยางไรก็ตามบริษัท มีแผนที่จะกาวไปสูการผลิตเฟอรนิเจอร ในรูปแบบของการนําเครื่องจักรมา ชวยในการผลิตครบวงจร เพื่อรองรับ อุตสาหกรรม 4.0 ในอนาคต” ชัยภัทร กลาว 10Smart Industry ชัยภัทร สีตสุวรรณ