SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
Télécharger pour lire hors ligne
CONTENTS
สาส์นจากคณบดี                           2
บทเพลง                                  3
บทความ การศึกษา 3 ยุค (1.0/2.0/3.0)     4
ศิษย์เก่าดีเด่น                         6
บทคัดย่องานวิจัยดีเด่น                  7
ประมวลภาพกิจกรรม                        8
ปรัชญาว่าด้วย เรื่องนำา้ชากับการศึกษา   12
ลายแทงการเรียนปี 54                     13
สื่อสารGossip                           14
ปฎิทินกิจกรรม                           16
สาส์นจากคณบดี

         ส                    าส์นจากคณบดี
                            ชีวิต ความรัก ความฝัน
    ชีวิตคือการเรียนรู้ การเรียนทำาให้เราเดินหน้าตลอดเวลา                                                  ความฝันและเป้าหมาย
    วันที่เราหยุดเรียนรู้คือวันที่เราหมดลมหายใจ                                                     ชี ว ิ ต ที ่ ม ี ค วามฝั น จึ ง มี เ ป้ า หมาย มี ค วามฝั น
                                                                                        จึ ง มี ก ารออก เดินทางสู่ความสำาเร็จ
                   ความรัก ความศรัทธา ความฝัน                                           • ทุกคนควรมีเป้าหมายสูงสุดในชีวิต มีเป้าหมายย่อย
    คื อ ส่ ว นสำ า คั ญ ของชี ว ิ ต ที ่ จ ะทำ า ให้ ช ี ว ิ ต ก้ า วหน้ า             รองลงมาตามลำ า ดั บ บรรลุ ค วามสำ า เร็ จ ไปที ล ะขั้ น ตาม
    หรือดิ ่ ง เหว                                                                      ลำาดับ ก้าวสู่เป้าหมายเล็กๆก่อนก้าวหน้าตามลำาดับ ก็จะมี
                                                                                         กำาลังใจฝ่าฟันต่อสู้และได้รับความสุขความสำาเร็จทีละก้าว
                                     ความรัก
                                                                                             ขอให้นักศึกษาทุกคนเข้าใจชีวิต เข้าใจความรัก
    • รักที่ทุ่มเทหมดใจ หลงใหลงมงายตกเป็ น ทาสความรั ก
                                                                                            มีสัมมาทิฏฐิและบรรลุความฝันของชีวิตดั่งตั้งใจ
    ก็ดิ่งเหว รักแท้ที่จริงใจ บริสุทธิ์เข้าใจในรัก ให ้ ใจคลุ ม รั ก
    ไม ่ ใช ่ ร ั ก คลุ ม ใจ รู ้ จ ั ก อดทน ข่ ม กลั ้ น รู ้ ว ่ า เมื ่ อ มี ส ุ ข
    ก็ จ ะมี ท ุ ก ข์ ต ามมาเป็นสัจธรรม อยู่กับสิ ่ งที ่ มี ไม่ ใช่
    สิ ่ ง ที ่ ฝ ั น รู ้ จัก ใช้ความรักเป็น “ไฟ” นำาไปสู่ความสำาเร็จ                                   รองศาสตร์ตราจารย์ ดร.วิทยา ดำารงเกียรติศักดิ์
    • รั กไม่ เคยทำาร้ายใคร มีแต่คนที่ท ำาร้ายกั นเอง                                                       คณบดีคณะสารสนเทศและการสื่อสาร


                                  ความศรัทธา
    • ศรัทธาในสัจธรรม ทุกสิ่งมีเกิดดับ ไม่ยดติดไม่คาดหวังลม ๆ
                                           ึ
                                                    ้
    แล้งๆ อย่ า เพียงเที่ยว ขอพร อธิษฐาน รดนำ า มนตร์ ต้ อ ง
    รู้ตน หมั่นพัฒนาจุดบกพร่องของตนเอง ไม่นั่งรอโอกาส
    แต่ควรใช้ความรู้ ความสามารถ ความพยายาม ไขว่คว้า
    ความสำาเร็จ
    • ถ้าเราไม่ศรัทธาความสามารถของตัวเอง แล้วใครล่ะจะ
    ศรัทธาเรา ถ้าเคยศรัทธาในสิ่งผิด ทำาผิด เรารู้ตัวมั้ยว่า เรา
    ทำาผิดแล้วเราตั้งใจ จะแก้ไข หรือแก้ตัว




2
บทเพลง                                                  ทรัพย์สินทางปัญญาของคณะ
จะสู้หรือว่ายอม
จะสู้หรือว่ายอม                                                                                                เหี้ย
ทำานอง/คำาร้อง รศ.ดร.วิทยา ดำารงเกียรติศักดิ์                      (ของฝากแก่นักการเมืองเลว)
         ก้าวพ้น โลกใบเล็ก                                             แค่โผล่ ให้เห็น ก็เรียกเหี้ย
         โลกของเด็ก ไร้เดียงสา                                         สาดเสีย เทเสีย โดนโขกสับ
         โลกใบใหม่ มากมายา                                             ไม่มี ใคร เต็มใจรับ
         โลกจะ พันธนา เธอเอาไว้                                        มีแต่ขับ แต่ไล่ แต่กีดกัน
                     มีสิทธิ เสรี ที่จะคิด                                        คิดว่าเรา อัปมงคล
                     มีสิทธิ์ ถูกจำากัด การเคลื่อนไหว                             เหี้ยกับคน มีขีดขั้น
                     สิ่งต่าง ๆ ที่ทำาไป                                          ถูกผิด ชั่วดี ก็ต่างกัน
                     จะทำาให้ เธอเรียนรู้                                         เหี้ยจึงผัน เป็นคำาด่า มาเนิ่นนาน




                                                                                                                                             Your Gateway to Quality Education
         ไม่เคยเห็น จะได้เห็น                                          รักก็เหี้ย เกลียดก็ด่า ว่าเหี้ยอีก
         สิ่งที่เป็น ที่เห็นอยู่                                       ยากจะ หลีกเลี่ยง คำาเรียกขาน
         สิ่งที่ได้ พบเห็น จะเป็นครู                                   เหี้ยจึง ถูกจิก ถูกประจาน
         จงดู ด้วยใจ ใคร่ครวญคิด                                       แค่เดินผ่าน ก็บอก “ตัวซวยไปให้ไกล”
                     ที่นี่ ต่างจาก ที่เธอมา                                      จึงถูกตั้ง ข้อรังเกียจ
                     เต็มด้วย มารยา นานาจริต                                      ไม่มีใคร อยากเฉียด เข้ามาใกล้
                     กิริยา มากมาย ชนิด                                           เป็นตัวซวย อัปราชัย
                     ชีวิตใน มหา วิทยา                                            ตัวอัปรีย์ จัญไร ช่างน่ากลัว
                     (ชีวิตในมหาวิทยา)                                 ที่คนเกลียด คนกลัว ก็เข้าใจ
         ก้าวพ้น โลกใบเล็ก                                             แต่ทำาไม ไร้เหตุผล คิดมั่วซั่ว
         ก้าวพ้น วัยเด็ก ไร้เดียงสา                                    เพียงเราอยาก มาเยี่ยม เพื่อนบางตัว
         สู่โลกใหม่ มากมายา                                            ที่กำาลัง มั่วสุม ในสภา
         จะสู้การ พันธนา หรือจะยอม?                                                                     9 มีนาคม 2554
                                          30 เมษายน 2553




                                                                                                                                      Briding Boundaries
                                                                                                  จับมือกันไว้
                                                                                                คำาร้อง โอมDC13 ทำานอง เต้ DC13
                                                     ไม่ว่าใครจะมาจากไหนจะเป็นยังไงต่างคน ต่างใจ ต่างฝัน ก็เดินทางไป
                                                     * จนมาวันหนึ่งที่เราได้คุ้นเคย อย่างที่เราไม่เคยรู้สึกแบบนี้
                                                     จนมาวันหนึ่งอยากเจอทุกที เป็นแบบนี้ อะไรไม่รู้เลย

                                                     ** จับมือฉันไว้ จะไปด้วยกัน จะขอเดินตามฝันด้วยกันเรื่อยไป
                                                     ถ้าแม้วันใดเหนื่อยล้า หันกลับมาฉันอยู่ตรงนี้
                                                     *** จะอยู่กับเธอทุกวินาที...เพื่อเธอ
                                                     แบ่งใจให้กันทุกวัน หากฝันก็คงไม่ไกล เส้นทางจะไกลแค่ไหนก็ไปด้วยกัน
                                                                                               (*,**,***,***)
                                                                                                          14 กุมภาพันธ์ 2554
                                                                                                                                  3
บทความ
       การศึกษา 3 ยุค (1.0/2.0/3.0)
                                                 จากห้องขังสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
     • ผมเคยบอกในที่ประชุมผู้บริหารว่า แนวคิดการศึกษาของเราล ้ า หล ั ง กว ่ า
     มหาวิทยาลัยดี ๆ ในประเทศอเมริกาหรืออังกฤษราว 50-100 ปี แพ้ ก ั น แบบ
     ไม ่ เ ห ็ น ฝ ุ ่ น ถ ้ า เราร ู ้ ไ ม ่ จ ร ิ ง เราจะตามหล ั ง เขาไปเร ื ่ อ ย ๆ ไม ่ ม ี ท างท ั น
     • แต่ก็ยังมีผู้บริหารบางท่านอาจารย์บางคนพยายามฉุ ด มาตรฐานการศึ ก ษา
                        ่
     แม่โจ้ให้ตำาลง แก้ระเบียบ แก้คะแนน หัวหมอจนกรรมการสภาบางท่านบอก
     ว่าเป็นการเรียนการสอนปริญญาเอกแบบลูกไม่ยอมหย่านม !
     • ยิ่งได้อ่านพาดหัวตัวไม้ของหนังสือพิมพ์วันนี้
         “ตีแผ่ระบบการศึกษายุคปริญญาสะดวกซื้อ ตอบโจทย์เงินและอำานาจ”
     ระบุ ว่ า รากเหง้ า ของปั ญ หาอยู่ ที่ สั ง คมพวกพ้ อ งการไร้ จ ริ ย ธรรมเป็ น
     เรื่ อ งผลประโยชน์ ล้ ว นๆการศึ ก ษาไทยกำ า ลั ง ดิ่ ง ลงเหวเป็ น วงจรอุ บ าทว ์
     ยากเกิ น เยี ย วยาขายปริ ญ ญา ปลอมประกาศนี ย บั ต ร จั ด การศึ ก ษาสุ ด มั ่ ว แบบ 3 ง่ า ย “เข ้ า ง ่ า ย เร ี ย นง ่ า ย จบง ่ า ย”
     ผลการทำ า ร้ า ยทำ า ลายระบบการศึ ก ษาของผู ้ บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย และผู ้ บ ริ ห ารหลั ก สู ต รก็ ค ื อ ผลการป ร ะ เ ม ิ น ร ะ บ บ
     การศึ ก ษาทั่ ว โลกระบุ ว่ า การศึ ก ษาในประเทศไทยมี ทิ ศ ทางเลวลงอยู่ ใ นระดั บ ขั้ น Poor(แย่ ) ซึ่ ง เป็ น ขั้ น ตำ่ า สุ ด ของทั้ ง หมด4ขั้ น
     อาจารย์ ดี ท้ อ แท้ ใ จเพราะการสอนดี ใ ห้ เ กรดยากงานเยอะต้ อ งเสี่ ย งที่ ลู ก ศิ ษ ย์ จ ะประเมิ น “ไม่ พ อใจ”ขณะที่ อ าจารย์ เ ลวไม่ ค่ อ ย
     สอนให้ เ กรดง่ า ยงานน้ อ ยถู ก ประเมิ น ว่ า สอนดี เ ป็ น ที่ พ อใจเป็ น การศึ ก ษาแบบสมคบผลประโยชน์ ไ ม่ คำ า นึ ง ความจริ ง ความดี ง าม
     • ซำาร้ายวันก่อนผู้บริหารหอการค้าไทยออกมากระหนำ่า Summer Sale สำาทับอีกว่าประเทศไทยกำาลังจะล่มจม เพราะนักการเมืองสมคบ
           ้
     กับพ่อค้าและข้าราชการโกงกินหัวคิว 30-50% แบบหน้าด้าน สันดานเลว นั่นคือส่วนหนึ่งของผลการศึกษาที่ผิดตัว ผิดตน ผิดทิศผิดทาง
     ประเทศจึงตกอยู่ในวังวนทะเลเลือด ก่อนและหลังเลือกตั้งจะฆ่ากันอีกกี่ศพไม่รู้ แผ่นดินถึงจะสูงขึ้น
     • การแบ่งยุคสมัยของการศึกษานั้น อาจเปรียบได้กับการแบ่งยุคของอินเทอร์เน็ต ซึ่งในยุคแรกคือยุคของ Web 1.0 (ยุค Read-only)
     เจ้าของเว็บไซด์มีหน้าที่ผลิตเนื้อหาผู้เข้าชมส่วนใหญ่ทำาได้เพียงการอ่านหรือรับข้อมูลเท่านั้น
     • ยุคถัดมาเป็นยุค Web 2.0(ยุคRead-write) ลักษณะเนื้อหาจะสามารถโต้ตอบ แบ่งปันแลกเปลี่ยนให้คำาแนะนำากันได้ทั้งฝ่ายผู้สร้าง
     และผู้ชมโดยไม่ต้องมีความรู้ทางเทคนิคมากนัก
     • ปัจจุบันเรากำาลังก้าวเข้าสู่ยุคที่ 3 คือยุคของ Web 3.0 (ยุค Read-Write-Execute) เป็นยุคที่ผู้ใช้สามารถ อ ่ า น,เข ี ย น,จ ั ด การเน ื ้ อ หา
     และปร ั บ แต ่ ง แก ้ ไขข ้ อ ม ู ล ได ้ อ ย ่ า งอ ิ ส ระ สามารถเช ื ่ อ มโยงข ้ อ ม ู ล เข ้ า ด ้ ว ยก ั น (relate) ได ้ ม ากข ึ ้ น Website ม ี ล ั ก ษณะชาญ
     ฉลาด (Artificial intelligence) เข้าใจความต้องการของผู้ใช้มากขึ้น
     • หากจะอุปมายุคของ Web กับการศึกษาก็สามารถแบ่งการศึกษาได้เป็น 3 ยุคเช่นกัน
                                                                                                                           การศึกษายุค 1.0 ห้องเรียนคือห้องขัง
    การศึกษาในยุค 1.0 นั้นเป็นการศึกษาแบบ “อุตสาหกรรม” ที่สถาบันการศึกษาผลิตนักเรียน/นักศึกษาคราวละมาก ๆ ห้ อ งเรี ย นมี ส ภาพ
    แออัดยัดเยียดเปรียบเสมือนเป็นห้องขัง โดยจะเรียนกันในห้องเรียนเป็นส่วนใหญ่ เป็นการยึดพื้นที่ในห้องเรียน ปิ ด พื ้ น ที ่ ก ารเรี ย นรู ้ จ าก
    ภายนอก
    • การเรียนการสอนอยู่ในลักษณะ Competency –based Education คนเก่งเป็นคนสำาคัญ สอนแบบเหมาโหล เน้ น ผลลัพธ์ (output)
    สอนเพื่อให้ครบตาม KPI สร้างหลักสูตรแบบ “ครูคิดแทนทุกคนในโลก”
    • ครูสอนแบบยัดเยียดข้อมูล อัดเนื้อหา ใช้การบรรยายให้นักเรียนจดจำาเนื้อหามากกว่าการให้ความคิดที่แตกฉาน เน้นให้นักเรียนจำาได้/
    ทำาได้/ทำาครบ ใช้วิธีการแก้ปัญหาแบบเดิม ๆ คือมีปัญหา มีโจทย์ บ้าสถิติ บ้าตัวเลข และบ้าเหตุผล
    • นอกจากนี้ยังใช้ “ความกลัว” เป็นเครื่องมือรักษาความสงบ
    • สำาหรับการสอบเพื่อประเมินผลการเรียนนิยมใช้ข้อสอบปรนัย
    ที่มีตัวเลือกจำากัดและตัดเกรดผู้เรียนตามเนื้อหาสาระที่กำาหนด
    • นักเรียน ต้องทำาตามครูบอก ต้องไม่สร้างปัญหาและเชื่อฟังโดยสงบ ใช้ปัญญาฐานเดียว/เน้นสมองซีกซ้าย ถ้ า คิ ด ตรงกั นข้ามกับครูผู้สอน
        ก็ ส อบตก ถ้าตอบแบบเอาใจครูผ ู้สอนจะได้ เ กรดเอ
                                            • ถ้าเปรียบกับทะเลการศึกษายุคนี้คือยุควังวน ทะเลเลือด (Red Ocean) การศึกษาทีทาให้เกิดการ
                                                                                                                               ่ ำ
4                                                แก่งแย่ง/แข่งขัน/ต่อสู้/งกเค็ม/เห็นแก่ตัว/นักศึกษาบ้าปริญญา/อาจารย์บ้าเงิน บ้าอำานาจ
บทความ
                                                                                              การศึกษายุค 2.0 ร่วมคิดร่วมทำาร่วมเรียนรู้

    การศึกษายุค 2.0 เป็นการศึกษาแบบแนวธรรมชาติ คือเรียนรู้วิธีการเรียนรู้ (learn how to learn) สอนชีวิต/เรียนตามอัธยาศัย
เรี ย นที ่ ไ หนก็ ได้ เปิด เวที เปิด สนาม เปิด พื้น ที่การเรี ย นรู ้ การเรี ย นการสอนอยู ่ ใ นลั ก ษณะ Community–based Education
คนเก่งและคนดีเป็นคนสำาคัญ สอนแบบช่างตัดเสื้อเฉพาะตัว สอนนอกเรื่องบ้าง บางครั้งสอนสังคม สอนชี ว ิ ต เ น้ น กร ะบ วนการ
เ น ้ น ผลสัมฤทธิ์ (outcome)
 • ครู ทำาหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง เป็นผู้ให้ความสะดวก กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มีการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ ให้ ค วามรั ก ก่ อ นให้
ความรู้ ใช้วงจรการเรียนรู้ คือ “คุย คิด คลิก คลำา” ไม่มี “ปัญหา” มีแต่ “หัวข้อวิจัย” สอนในลักษณะเรียนร่วมกัน รู้ร่วมกัน แลกเปลี่ยน
  ความรู้กัน
  • นักเรียน เก่งอย่างเดียว ไม่พอต้องเป็นคนดี ใฝ่ดี ฝึกนิสัย ใฝ่รู้ กล้าคิด กล้าทำา กล้าทดลองแยกแยะถูกผิด ใช้ปัญญาหลายฐาน ฐาน
กายลงมือทำาจนเกิดทักษะ ฐานใจ จิตปกติ จิตอาสา ฐานคิด คิดรอบทั้งสมองซ้ายขวา/บนล่าง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการ
เรี ย นโดยการออกข้อสอบเอง และตั้งโจทย์เอง บอกข้อสอบได้ ตั้งแต่เริ่มเรียน ช่วยกันเรียนรู้ ร่วมคิด ร่วมทำา ครูสื่อผู ้ ใ หญ่และเด็กแลก
เปลี ่ ย นเรียนรู้ไปด้วยกัน
  • ถ้าเปรียบกับทะเลคือทะเลสีคราม สดใส เป็นธรรมชาติ คนชุมชน สิ่งแวดล้อมอยู่ร่วมกัน

                                               การศึกษายุค 3.0 การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
   เป็นการศึกษาที่เจาะเข้าไปที่ปรัชญาชีวิต เป็นการตอบคำาถามว่า “เกิดมาเพื่ออะไร”
“เกิดมาทำาไม” แสวงหาการหลุดพ้น หาความหมายของชี ว ิ ต สะสมบุ ญ สะสมอริ ย
ทรั พ ย์ พัฒนามิติของจิตวิญญาณ
   • การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เป็นเรื่องจำาเป็นอย่างยิ่งยวด การเรียนการสอนอยู่ในลักษณะ
    Spirituality-based Education โดยคนที่มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ คนที่เป็นผู ้ น ำ า ทาง
   จิตวิญญาณเป็นคนสำาคัญ
   • เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ยึดถือธรรมะเป็นหัวใจของการเรียนรู้ เรียนรู้เพื่อที่จะได้พ้นทุกข์
   • ครู ในยุคนี้ควรใช้สติปัญญาเป็นผู้นำา ใช้ธรรมนำาหน้า มีจริยธรรม คุณธรรม มีปัญญา
มี ส ติ ต ่ อ เนื ่ อ ง “สติ ม า ปั ญ ญาเกิ ด ” “ธรรมะ จั ด สรร” เน้ น การเรี ย นรู ้ ไ ตรสิ ก ขา
 (ศีล/สมาธิ/ปัญญา) อิทธิบาท 4 (ฉันทะ/วิริยะ/จิตตะ/วิมังสา) พละ 5 (ศรัทธา/วิริยะ/
   สติ/ สมาธิ/ปัญญา) โภชฌงค์ 7 (สติ/ธัมมะวิจยะ/วิริยะ/ ปิติ/ ปัสสัทธิ/สมาธิ/อุเบกขา)
   ดูผลเชิงประจักษ์ (ลดโลภ โกรธ หลงได้หรือไม่) ควบคุมอารมณ์ ทำาทาน รัก ษาศี ล ภาวนา
   • นักเรียนในยุคนี้คาดหวังว่าจะเป็นมนุษย์ที่มีภูมิจิต ภูมิธรรมสูง เรียนเพื่อค้นหาคำาตอบ
ของชีวิตว่า อยากเป็นอะไร เรียนแล้วได้อะไร ลดโลภ โกรธ หลง ได้แค่ไหน? ขาดสติไหม?
รู้จักอดทนข่มกลั้น เสียสละได้ไหม? นักเรียนควรสามารถแก้ป ั ญ หาได ้ ด ้ ว ยหล ั ก ธรรม
สามารถ แยกแยะถูกผิดว่าอะไรดีอะไรงามอย่างแยบคาย วิริยะในการสร้างปัญญา สร้าง
   ความดีหมั่นตรวจสอบตนเอง ทบทวนตนเอง เพื่อให้พ้นทุกข์ได้ด้วยปัญญา
   • ถ้าเปรียบกับทะเลก็คือทะเลสีขาว สมดุลงาน สมดุลธรรม สมด ุ ล ป ั ญ ญา เป ็ น ผ ู ้ ต ื ่ น ร ู ้
   ผู้เบิกบาน ค้นหาตัวตนที่แท้จริง ไม่โดนกิเลสครอบงำา

           ปีนี้แม่โจ้ไ้ดสร้างประวัติศาสตร์ โลก ออกระเบียบให้นักศึกษาปริญญาโท - เอก สามารถจบได้ทุกวัน
                              เพื่อเอาใจนักศึกษา(เลว) ขณะที่มหาวิทยาลัยดีๆ จบปีละ 2-3ครั้ง
                   เป็นความภาคภูมิใจของเราที่ได้นำาคนอื่นไปสู่ก้นบึ้งเหวแล้ว เป็นธุรกิจการศึกษาเต็มตัว
คงไม่ต้องถามว่าการศึกษาของเราอยู่ยุคไหน เป็นครูบาอาจารย์คงพิเคราะห์ ได้
  เองแต่ถ้าเมื่อไรท่านเห็น “การศึกษา” เป็น “ธุรกิจ” เห็นลูกศิษย์ “เป็นลูกค้า”
ท่านน่าจะไปเช่าร้านสะดวกซื้อนอกมหาวิทยาลัย ปั๊มปริญญาขายดีกว่ามานั่ง
                   ทำาตัวเป็นกาฝาก ใช้ชื่อมหาวิทยาลัยหากิน!                      เอกสารประกอบการเรียบเรียง
                                                                          • วรภัทร์ ภู่เจริญ, พัฒนาคน พัฒนาใจ.
                                                                                                                                                       5
                                           รศ.ดร.วิทยา ดำารงเกียรติศักดิ์           • ผู้จัดการ 360° รายสัปดาห์.
                                                                                             • Generation of Web : Web 1.0, 2.0, 3.0 and the Future.
                                                                                                                  • Brief History of Web Technology
ศิษย์เก่าดีเด่น
                                              นายสมภาคย์ ชูโชติ
                                                      ผู้ประสบความสำาเร็จในวิชาชีพ
                                              ประวัติการศึกษา:
                                                 - ระดับมัธยมต้น โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์ วิทยาลัย
                                                 - ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลำาปาง
                                                 - ระดับปริญญาตรี สถาบันเทคโนโลยีการเกษตร แม่โจ้ (สาขาส่งเสริมการเกษตร)
                                                 - ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (สาขานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต)
                                              อาชีพและสถานที่ทำางาน:
                                                 - วิทยากรสำานักเสริมศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เทคนิคการเป็นพิธีกรมืออาชีพ)
    ประวัติการทำางาน:
                                                 - ผู้จัดการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ บริษัท บ้านผู้นำา จำากัด
       - ผู้จัดการฝ่ายข้อมูลและกิจกรรม
                                                 - วิทยากรและที่ปรึกษา บริษัท โอเคแมส จำากัด
         บริษัท ภาษรโปรดักชั่น จำากัด
                                                 - วิทยากรและที่ปรึกษา เครือข่ายความสุข บริษัท you can do จำากัด
       - หัวหน้างานฝ่ายประชาสัมพันธ์
                                                 - วิทยากรบรรยายภาครัฐและเอกชน
          มหาวิทยาลัยแม่โจ้
                 งานวิจัยดีเด่น
                                                     นางสาวยุวสรา ท้าวแก่น
    ประวัติการศึกษา:
    - พ.ศ. 2545 - 2548 วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถิติคณะวิทยาศาสตร์
    มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
    - พ.ศ. 2549 - 2552 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาว ิ ช าน ิ เ ทศศาสตร ์              ผลงานที่โดดเด่น:
    คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ ังหวัดเชียงใหม่                       - โครงการตรวจสุ ข ภาพตามความเสี่ยงในการ
    ประวัติการทำางาน:                                                             ทำางานของทันตบุคลากรจังหวัดเชียงใหม่ “การตรวจ
         ปี พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554 ตำาแหน่ง ผู้ช่วยนักวิจัย โครงการวิจัยศักยภาพ    วัดระดับปรอทในซีรัมของทันตกรรมบุคลากรอาสา
    ของสารคะเตชินจากชาเขียวที่ช่วยลดปริมาณสารประกอบธาตุเหล็กรีดอกซ์               สมัคร”
    ในเซลล์ตับและเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจในหลอดทดลองและสิ่งมี ชี วิ ต ภาคว ิ ช า         - OPTIMIZING CHITOSAN CHARACTERISTICS
    ชี ว เคมี คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีหน้าที่เกี่ยวกับงานด้าน             FOR EFFECTIVE USE IN HUMAN WEIGHT-
    ปฏิ บั ติ ก ารทดลองการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล การทดลองและรวมทั้ ง สรุ ป ผลการ      LOSS REGIMENS
    วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลองภายใต้โครงการวิจัยของ รศ.ดร.สมเดช ศรี            - งานวิจัยเรื่อง “สื่อที่มีผลต่อการตัดสินใจทำาแท้ง
    ชัยรัตนกูล                                                                         ของนักศึกษาอุดมศึกษา”
                                             ว่าที่ร้อยตรีขจรรักษ์ พู่พัฒนศิลป์
                                                                                                           ประวัติการศึกษา
                                                      - ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาสัตวศาสตร์ จากวิทยาลัยเกษตร
                                                      และเทคโนโลยีพังงา
                                                      > นักเรียนแลกเปลี่ยนฝึกปฏิบัติงานฟาร์มโคนม ณ ประเทศเดนมาร์ก
                                                      - สำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ (สัตว์ปีก)
                                                       จาก มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
                                            ประวัติการทำางาน:
                                                - ปี 2548 หลังจากสำาเร็จการศึกษา บรรจุเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย สังกัด
       ผู้อุทิศตนช่วยกิจการ                       มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
    ของคณะ                                      - ปี 2549 โอนย้ายไปสังกัดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร จนถึงปัจจุบัน
                                            ผลงานที่โดดเด่น:
                                               - ปี 2553 ได้รับรางวัล ภาพยนตร์สั้นยอดเยี่ยม (เรื่อง RADIO จาก SIPA และ สมาพันธ์
6                                                สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ)
บทคัดย่อ งานวิจัยดีเด่น




                                                                                                                                                                                           “ขุมข่ายความรู้ ขุมข่ายปัญญา”
บทคัดย่อ                                                                                                          ชื่อเรื่อง : อิทธิพลของสื่อที่มีผลต่อการบริโภค
              การวิจั ย ครั ้ งนี ้ มี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ เพื ่ อศึ กษา 1) ลั กษณะทางประชากรศาสตร์ ขนมขบเคี้ยวของนักเรียนระดับประถมศึกษา
2) พฤติกรรมการเปิดรับสื่อของนักเรียนระดับประถมศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 3) กระบวนการ ชื่อผู้เขียน : นางสาวเกศิณี เธียรวรรณ
ส ื ่ อ สารของส ื ่ อ ท ี ่ ม ี ผ ลต ่ อ การข ั ้ น ตอนการต ั ด ส ิ น ใจบร ิ โ ภคขนมขบเค ี ้ ย วของน ั ก เร ี ย น ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
4) พฤติกรรมการบริ โ ภคขนมขบเคี ้ ย วของนั กเรี ย นระดั บ ประถมศึก ษาจัง หวัด เชียงใหม่                                             สาขาวิชานิเทศศาสตร์
5) ผลกระทบของการตัดสินใจบร ิ โ ภคขนมขบเค ี ้ ย วในทรรศนะของน ั ก เร ี ย น คร ู พ ่ อ หร ื อ ประธานกรรมการที่ปรึกษา
แม่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ เก็บรวบรวบจากการสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ : รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา ดำารงเกียรติศักดิ์
นักเรียนผู้ปกครอง คุณครู และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมทั ้ ง หมด 23 คน ผลการวิ จ ั ย
สรุปได้ดังนี้
              นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีอายุ 7 - 12 ปี ศึกษาอยู่ในระดับชั้น 1 - 6 ได้รับเงินมาโรงเรียนจำานวน 40 - 65 บาท กลุ่มที่บริโภคน้อยเหลือเงินกลับมาออมบ้ า นวั น ละ
8 - 15 บาท มีน้ำาหนักตามส่วนสูงส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน สำาหรับกลุ่มที่บริโภคมากจะเหลือเงินกลับมาออมบ้านวันละ 1 - 5 บาท น้ำาหนักตามส่ ว นสู ง อยู ่ ใ นเกณฑ์ เ กิ น
มาตรฐานสำาหรับพฤติกรรมการเปิดรับสื่อกลุ่มบริโภคขนมขบเคี้ยวน้อยและกลุ่มบริโภคมาก ได้รับสื่อบุคคลจากผู้ปกครอง พี่ชาย เพื่อน และได้รับสื่อมวลชน จากโฆษณาทาง
โทรทัศน์ เนื้อหาส่วนใหญ่เป็นการชักชวนให้บริโภคโดยการเล่าประสบการณ์จริงและภาพการ์ตูนจากโฆษณาทางโทรทัศน์เปิดรับในช่วงหลังเลิกเรียน วันเสาร์ - วันอาทิตย์ โดยเปิด
รับสื่อ ตามลำาพังและรวมกับสมาชิกในครอบครัวกลุ่มที่บริโภคน้อย ส่วนใหญ่บริโภควันละ 1 - 2 ครั้ง ครั้งละ 1 - 2 ซอง เนื่องจากอยากได้ของแถม ทางบ้านซื้อมาให้ ดู จ ากโฆษณา
ทางโทรทั ศ น์ เห็นเพื่อนบริโภค ส่วนกลุ่มที่บริโภคมาก ส่วนใหญ่บริโภควันละ 2 - 3 ครั้ง ครั้งละ 2 - 3 ซอง เนื่องจากอยากลอง รสชาติอร่อย ส่วนใหญ่เลือกบริโภคขนมขบเคี้ยวที่
ทำาจากผลผลิ ต ทางการเกษตร จากทำาแป้งและมาจากทะเล
              กระบวนการสื่อสารที่มีอิทธิต่อกระบวนการตัดสินใจ พบว่า 1) ขั้นรับรู้ สื่อบุคคล ได้แก่ คุณแม่และเพื่อน และสื่อมวลชน ได้แก่ โฆษณาทางโทรทัศน์ มีอิทธิพลมากที ่ ส ุ ด
ต่อกลุ่มการบริโภคปริมาณน้อยและมาก ซึ่งส่วนใหญ่นำาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ การกระตุ้นให้บริโภคด้วยวิธีการชักชวนแบบปากต่อปากและภาพโฆษณาทางโทรทั ศ น์ โดยใช้ เ ทคนิ ค
หลายอย่างทั้งจากเล่าประสบการณ์ตรง และการเล่าเรื่องราวที่สนุกสนานผ่านการ์ตูน ส่วนกลยุทธ์ทางการตลาดพบว่า มีการใช้ กลยุทธ์ การเล่าเรื่องราวที ่ น ่ า สนใจ เพิ ่ ม ปริ ม าณ
การสื่อสารที่มีประสิทธิผล และทางด้านราคามาจูงใจ ส่วนบริบทที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ ด้านสังคมและด้านคน คือ เพื่อน 2) ขั้นต้องการ สื ่ อ บุ ค คล สื ่ อ บุ ค คล ได้ แ ก่ เพื ่ อ น และ
สื่อมวลชน ได้แก่ โฆษณาทางโทรทัศน์ มีอิทธิพลมากที่สุดต่อกลุ่มการบริโภคปริมาณน้อยและมาก ซึ่งส่วนใหญ่นำาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ การกระตุ้นให้บริโภคด้วยวิธีการชักชวนแบบ
ปากต่อปาก และโฆษณาทางโทรทัศน์ โดยใช้เทคนิคหลายอย่างทั้งจากเล่าประสบการณ์ตรงและการบอกถึงรูปร่าง รสชาติ และราคาของขนม ส่ ว นกลยุ ท ธ์ ท างการตลาด พ บ ว ่ า
ใช ้ กลยุทธ์การเพิ่มรสชาติและการเล่าเรื่อง และราคามาจูงใจ ส่วนบริบทที่มีอิทธิพลมากที่สุด ได้แก่ ด้านคน คือ เห็นเพื่อนบริโภคและเพื่อนชวน 3) ขั้นตัดสินใจ สื่อบุคคล ได้ แ ก่ เพื ่ อ น
และสื่อมวลชน ได้แก่ โฆษณาทางโทรทัศน์มีอิทธิพลมากที่สุดต่อกลุ่มการบริโภคปริมาณน้อยและมาก ซึ่งส่วนใหญ่นำาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ การกระตุ้นให้บ ริ โ ภคด้ ว ยวิ ธ ี ก ารชั ก ชวน
แบบปากต่อปากและโฆษณาทางโทรทัศน์ โดยใช้เทคนิคหลายอย่างทั้งจากเล่าประสบการณ์ตรงถึงรสชาติ และภาพจากโฆษณาทางโทรทัศน์ ชักชวนให้บริโภค และใช้ ก ารเล่ า เรื ่ อ ง
ที ่ สนุกสนาน ส่วนกลยุทธ์ทางการตลาดพบว่า ใช้ตัวการ์ตูน การเพิ่มรสชาติใหม่ การเล่าเรื่องราว ราคาถูกมีของแถมมาจูงใจ และการใช้เรื่องเล่าที่น่าสนใจ ส่วนบริบทที่มีอิทธิพลมาก
ที่สุด คือ ด้านสถานการณ์ ด้านบุคคล และด้านแรงจูงใจ 4) ขั้นบอกต่อ สื่อบุคคล ได้แก่ ตนเอง มีอิทธิพลมากที่สุดต่อกลุ่มการบริโภคปริมาณน้อยและมาก ส่ว นใหญ่ น ำา เสนอเนื ้ อ หา
กระตุ้นให้บริโภคด้วยวิธีการชักชวนแบบปากต่อปาก โดยใช้ประสบการณ์ตรงบอกถึงรสชาติ ส่วนกลยุทธ์ทางการตลาด พบว่า เลือกที่จะใช้การสื่อสารที่มีป ร ะ ส ิ ท ธ ิ ภ า พ โ ด ย ก า ร
พู ด ชักชวน เล่าจากประสบการณ์ตรงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับรสชาติ ส่วนบริบทที่มีอิทธิพลมากที่สุด ได้แก่ ด้านแรงจูงใจ คือ รสชาติ ของแถม ราคาและปริมาณ และด้ า นเวลา
              ผลกระทบที่มีต่อสุขภาพในทรรศนะของกลุ่มตัวอย่างพบว่าการบริโภคขนมขบเคี้ยวอาจส่งผลกระทบทั้งในระยะสั้น
และระยะยาว ส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน ได้แก่ ฟันผุ อ้วน ผอมเป็นโรคไต ส่วนผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ พบว่า มีผลกระทบ
ต่อพฤติกรรมการออมทั้งในระยะสั้นและยาว คือมีผลกระทบต่อพฤติกรรมการออม และเป็นการสิ้นเปลืองถ้าหากบริโภคในปริมาณมาก

                                                      ชื่อเรื่อง : สื่อที่มีผลต่อการตัดสินใจทำาแท้งของนักศึกษาอุดมศึกษา
                                                      ชื่อผู้เขียน : นางสาวยุวสรา ท้าวแก่น
                                                      ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาตร์
                                                      ประธานกรรมการที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา ดำารงเกียรติศักดิ์
 บทคัดย่อ
               การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์คือ 1. เจตคติในการยอมรับในเรื่องการทำาแท้งของนักศึกษาที่กำาลังศึกษาอยู่ระดับอุดมศึกษา 2. สื่อที่มีผลต่อการตั ด สิ น ใจ
 ทำาแท้งของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ 3. แนวทางในการแก้ไขปัญหาการทำาแท้งของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ โดยได้แบ่งการวิจัย
 ออกเป็น 2 แบบ คือ การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ
               การวิจัยเชิงปริมาณใช้การสุ่มตัวอย่างจากนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำานวน 120 คน ให้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับเจตคติต่อการยอมรับในเรื่องก า ร ท ำ า แ ท ้ ง ข อ ง
 นักศึกษาอุดมศึกษา จากนั้นนำาข้อมูลที่ได้นำามาประมาณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ด้วยโปรแกรมสำาเร็จรูปทางสถิติ ซึ่งผลการวิจัยพบว่า กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง
 เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ที่มีอายุระหว่าง 18 - 24 ปี กำาลังศึกษาอยู่ระดับปริญญาตรีทั้งหมด เจตคติในเรื่องการทำาแท้งของนักศึกษาอุดมศึกษาพบว่า อาจารย์ แ ล ะ ส ั ง ค ม
 ม ี เจตคติไม่แน่ใจในเรื่องการตัดสินใจทำาแท้ง เพื่อนนักศึกษามีเจตคติสามารถยอมรับในการตัดสินใจทำาแท้งในเรื่องนี้ได้ ส่วนบิดาและมารดามีเจตคติไม่ยอมรับในเรื่องการตั ด สิ น ใจ
 ทำาแท้งในเรื่องนี้ได้
               การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบ snowball technique จำานวน 4 คน โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเป็นรายบุคคลเกี่ยวกับสื่อบุคคลในขั้นตอนการตัดสิน
 ใจทำาแท้ง ซึ่งผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ทำาแท้งจำานวนน้อยคือ 1 - 2 ครั้ง สื่อที่มีผลในขั้นตอนการตัดสินใจดังนี้คือ ขั้นรับรู้ ได้แก่ คู่รัก เพื่อน ตนเอง ขั้นค้นหาข้อมูลที ่ ส นใจ
 ได้แก่ เพื่อนซึ่งคู่รักของเพื่อนเคยทำาแท้ง และบุคคลที่เคยมีประสบการณ์ ขั้นประเมินทางเลือก ได้แก่ เพื่อนที่มีประสบการณ์ หมอ พยาบาล และขั้นตัดสินใจ พบว่ า เพื ่ อ นที ่ เ คยมี
 ประสบการณ์ในการทำาแท้งมีผลต่อการตัดสินใจให้กระทำาแท้ง เนื่องจากกลุ่มทำาแท้งน้อยยังไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน เพื่อนที่เคยทำาแท้งจึงมีบทบาทมากในการตัดสินใจทำาแท้ง
 ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ทำาแท้งจำานวนมากคือ มากกว่า 2 ครั้งหรือตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป สื่อที่มีผลในขั้นตอนการตัดสินใจดังนี้คือ ขั้นรับรู้ ได้แก่ ตนเอง ขั้นค้นหาข้อมูลที่สนใจ ได้แก่ เพื่อน
 บุคคลที่เคยมีประสบการณ์เคยทำาแท้ง อินเตอร์เน็ต ขั้นประเมินทางเลือก ได้แก่ เพื่อนที่มีประสบการณ์ หมอ พยาบาล และขั้นตัดสินใจ พบว่า ตนเองหรือตัวนักศึ ก ษาเองมี ผ ลต่ อ
 การตัดสินใจทำาแท้ง เนื่องจากเคยมีประสบการณ์ในการทำาแท้งมาก่อนจึงสามารถเลือกที่จะตัดสินใจทำาแท้งด้วยตนเอง โดยมีวิธีการจูงใจ คือ จู ง ใจโดยการใช้ เ ครื ่ อ งมื อ
 ตรวจครรภ์เป็นหลักฐาน จูงใจโดยการใช้บุคคลที่เคยทำาเป็นคนรับรอง จูงใจโดยการใช้ผู้นำาเสนอ ซึ่งเป็นบุคคลที่น่าสนใจ
 เช่น เพื่อนหรือบุคคลที่เคยทำาแท้งมาก่อน มาพูดชักจูง สร้างความสนใจ จูงใจโดยการนำาเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
                                                                                                                                                                                           7
 ในรูปแบบการเล่าเรื่องในอดีต จูงใจโดยการเปรียบเทียบ
ประมวลภาพกิจกรรม
    การพัฒนาความคิดเชิงสร้างสรรค์

            1.ดูงานสวนพฤกษศาสตร์ทวีชล
            2.ดูงานศิลปินโจ-หน่า
            3.ดูงานพิพิธภัณฑ์แมลง
            4.ดูงานโรงแรมดิแอดเวนเจอร์
            5.ดูงานบ้านหน้อยนอนม่วน
                                                                                         5
            6.ดูงานบ้านลุงนพ
                                                                1




                                                                                COMMUNICATION ACTIVITY
                                                            2




                                                                1
                          2

                                                                            3
                                                                        4




        5




8       “Leader & invention of digital
     communication program”
                                                                    6
            Information & communication
                           a unique position in the arena
                             of communication education
นิเทศนิทัศน์ ครั้งที่ 9
                      เชื่อมความคิดด้วยชีวิตออนไลน์
                                      งานสั ม มนาที่ เ กิ ด จากความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจของนั ก ศึ ก ษาสาขาการ
                          สื่อสารดิจิทัล รุ่น13 ที่ตั้งใจสร้างสรรค์ งานสัมมนา หัวข้อ “เชื่อมความคิด ด้วย
                          ชีวิตออนไลน์”ภายใต้แนวคิดในการสร้างการเรียนรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเครือ
                          ข่ายสังคมออนไลน์และรู้เท่าทันการใช้สื่อออนไลน์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม




                                                                                                                                 18-19 กััยยายน 2553
                          การสัมมนาดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งในรายวิชาสัมมนา1ซึ่งเป็นรายวิชาที่ทั้งเหน็ด
                          และเหนื่ อ ยแต่ คุ้ ม ค่ า เพราะเป็ น การเรี ย นรู้ วิ ธี ก ารทำ า งานอย่ า งมื อ อาชี พ ซึ่ ง เป็ น
                          ประสบการณ์ที่ติดตัวกับผู้เรียนไปตลอด
                                      งานสัมมนาประกอบด้วยการสัมมนา หัวข้อ “สร้างเครือข่าย- สานความ
                          คิดกับชีวิตออนไลน์” โดยได้รับเกียรติจากคุณซี ฉัตรปวีร์ ตรีชัชวาลวงศ์ เจ้าหญิง
                          แห่งวงการไอทีและคุณนันทขว้าง สิรสุนทร นักวิจารณ์และผู้สื่อข่าวบันเทิงจาก Nation
                          Channelเป็นวิทยากรร่วมกันแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์ในการใช้ชีวิตออนไลน์ที่
                          เป็นประโยชน์ต่อผู้ร่วมงานสัมมนา
                                               ในวันที่สองของงานสัมมนาการสัมมนาในหัวข้อ“รู้ถูกรู้ผิดรู้ฤทธิ์...สื่อ
                                               ออนไลน์”ได้ ร ั บ เกี ย รติ จ ากพระอาจารย์ ภ าสกร ภู ร ิ ว ั ฑ ฒโน
                                               (ภาวิ ไ ล)พระวิ ท ยากรบรรยายธรรมโดยการใช้ แ ผนภาพอาจารย์
                                               อิทธิพล ปรีติประสงค์ ผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนา
                                               เด็ ก และครอบครั ว และ นั ก ร้ อ งลู ก ทุ ่ ง ชื ่ อ ดั ง “แคท รั ต กาล”
                                               นอกจากนี้ ภายในงานยังมีการแสดงหุ่นช่างฟ้อน จากศิลปินโจหน่า ที่
                                               ได้รับรางวัลระดับโลก การประกวด Digital Dance Contest 2010
                                               ครั้งแรกของประเทศไทย การแสดงผลงานของนักศึกษาและอาจารย์
                                               คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พร้อมทั้งร่วมสนุก
                                               กับกิจกรรมการเล่นเกม และแจกของรางวัลมากมาย เรียกได้ว่าเป็น
                                               งานที่สนุกสนาน ที่ได้รับความรู้ควบคู่กันไป




                                                                                                                           9
                                                                                        ณัฐพงษ์ หมันหลี
ภาพกิจกรรม



                                                              รอ งศ า สตรา จา รย ์ ดร.วิ ท ย า ดำ า รงเ ก ี ยร ต ิ ศ ั ก ด ิ ์
                                                              คณบดีคณะสารสนเทศและการสื่อสาร ในฐานะอาจารย์
                                                              ประจำาวิชาการสื่อสารเพื่อการจัดการ นำานักศึกษาระดับ
                                                              ปริญญาโทของคณะฯ จำานวน 22 คน เข้าศึกษาดูงานการ
                                                              บริหารงานองค์กรด้านสื่อ เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2554
                                                              ณ กรุ ง เทพมหานครฯ




 บริ ษ ั ท กั น ตนา แอนนิ เ มชั ่ น สตู ด ิ โ อ จำ า กั ด
 ผู ้ ป ระสบความสำาเร็ จท ั ้ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ร ะ ด ั บ
 นานาชาติ จ ากภาพยนตร์ เ รื ่ อ ง “ก้ า นกล้ ว ย”
 ความสำ า เร็ จ ของบริ ษ ั ท เกิ ด จากการบริ ห าร
 อย่ า งมื อ อาชี พ เน้ น การทำ า งานเป็ น ที ม
 มุ ่ ง เน้ น ที ่ ผ ลงาน สร้ า งสรรค์ ง านใหม่
 ให้ บ ุ ค ลากรไปฝึ ก อบรมเพิ ่ ม พู น
 ความรู้ที่โลกฮอลลี่วู้ด และที่สุดๆ
 คื อ มี ก ารสื ่ อ สารกั น ในองค์ ก ร
 ตลอดเวลาอย่างต่อเนื่องครอบคลุม
 ทุกระดับสายงาน




10
ภาพกิจกรรม                        นิ ท รรศน์ ร ั ต นโกสิ น ทร์ ไ ด้ ผ นวกความรู ้ แทรกความ
                          บั น เทิ ง เพื่ อ บอกกล่ า วถึ ง ช่ ว งส ำ า ค ั ญ เชิ ง ประว ั ติ ศ าสตร์ ใ นยุ ค
                          รัตนโกสิ น ทร์ ในแนวความคิ ด เชิ ง สร้ า งสรรค์ และอย่างลงตัว
                                 “คุณค่าแห่งยุคสมัย สัมผัสได้ในหนึ่งวัน”
                          สบปากวาไมเ่ ทาตาเหน สบตาเหนไมเ่ ทามอคลา สบมอคลาไมเ่ ทาลองดู
                            ิ     ่     ่      ็ ิ      ็   ่ ื ำ ิ ื ำ        ่
                          และหนึ่งภาพ…พันคำา (Experience is the mother of wisdom)
                          ยังคงขลังอยู่แม้ว่าเวลาจะผ่านไปนานเท่าไร




                                              ตอ
                                               ่ ดวย
                                                  ้
                                              อัมพวา 1 คืน




                                                                                         หัวหิน 1 คืน

“ณ วันนี้ กบได้ออกจากสระนำา้ ไปหาประสบการณ์มาฝากท่าน
  อย่าให้มองผ่านไป ใช้ชีวิตให้คุ้มค่า ด้วยการใฝ่หาความรู้
       และประสบการณ์จากภายนอกเมื่อมีโอกาส”                                                                     11
                             คำา/ภาพ: อนุสรณ์ วิจารณ์ปรีชา
“ต้องไม่ทำาตนเป็นน้ำาชาล้นถ้วย”
                     เพราะอาจารย์จะไม่สามารถรินน้ำาชาลงในถ้วยให้นักศึกษาได้
               การศึกษาเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ต้องทำาจิตให้ว่าง หรือเปิดใจ
     แล้วนำามาเป็นประโยชน์ต่อตนเอง เพราะการเรียนรู้จะไม่มีวันสิ้นสุด เป็นการ
                                                            เรียนรู้ตลอดชีวิต
                                                                    (ป๋าเบิร์ธ)




12                                                             อัจฉรีย์ แก้วทิพย์
ลายแทงการเร�ยน ปร�ญญาโทการสื่อสารดิจิทัล
                                                                     โดยไมตองลาขุมทรัพย ไปสุดฟา (แลวหาปร�ญญาไมเจอ)
                                                                                                              ความมุงหวัง
                                    - ศึกษาจนจบภายใน 2 ป หร�อ 2 ปคร�่ง สามารถรับปร�ญญาพรอมกับกลุมใหญของผองเพื่อน
                                      - เร�ยนสบาย ๆ ไมประสาท (จบกอนเพื่อน แตก็ตองเรงเร�ยน ประสาทกินกอน จบทีหลังก็เหงา
                                                                          ไมมีเพื่อนชวยคิด ชวยปร�กษา ประสาทกินอีกเชนกัน)
  ป 1
      ปที่ 1 เทอมแรก (มิถุนายน – กันยายน)                                        ปที่ 1 เทอมสอง (พฤศจิกายน – กุมภาพันธ)
           - เร�ยนประมาณ 13 หนวยกิต เปนเทอมที่เร�ยนหนักที่สุด                      - เร�ยนประมาณ 12 หนวยกิต
           - ว�ชาที่ตองเร�ยน คือ                                                    - ว�ชาที่ตองเร�ยน คือ
                   • สด 501 ทฤษฎีการสื่อสารประยุกต                                               • สด 503 การว�จัยทางการสื่อสาร 2
                   • สด 502 การว�จัยทางการสื่อสาร 1                                               • สด 504 การออกแบบและจัดการสารสนเทศ
                   • สด 505 สถิติเพื่อการว�จัยทางการสื่อสาร                       ควรเร�ยนว�ชาพื้นฐานภาษาอังกฤษใหผานภายใน 2 เทอมแรก
      เพื่อเร�่มคิดที่จะทำว�จัยสรางความเขาใจในกระบวนการว�จัยเบื้องตน/                 (สิ่งที่ควรทำคือ เสนอรายชื่อคณะกรรมการที่ปร�กษาและจัด
      ทำแผนการศึกษา (สิ่งที่ควรทำคือการ proposal ปญหาพิเศษ                       แผนการศึกษาใหไดภายใน 2 เทอมแรก/แกไข proposal ใหดีขึ้น
      หร�อว�ทยานิพนธ เพื่อสงในว�ชาว�จัยทางการสื่อสาร 1 โดยใชหัวขอจร�ง         โดยปร�กษากับอาจารยที่ปร�กษาเปนระยะ ๆ)
      ไมเปลี่ยนภายหลัง)


                                                 ปที่ 1 เทอมสาม ภาคฤดูรอน (มีนาคม – พฤษภาคม)
                                                        - เร�ยนประมาณ 6 หนวยกิต (ว�ชาเลือก)
                                            - เปนเทอมสุดทายที่ทานจะเสนอรายชื่อคณะกรรมการที่ปร�กษา
                            - ทำ proposal ปญหาพิเศษ หร�อว�ทยานิพนธ ปร�กษาใกลชิดกับอาจารย ใหแลวเสร็จไมนอยกวา 80%
ป 2
      ปที่ 2 เทอมแรก (มิถุนายน – กันยายน)                                            ปที่ 2 เทอมสอง (พฤศจิกายน – กุมภาพันธ)
      - เร�ยน สด599 สัมมนา 2 / เร�ยน coursework ใหจบ                                 - เร�ยนเฉพาะว�ขาปญหาพิเศษ (6 หนวยกิต) หร�อว�ทยานิพนธ
      - เทอมสุดทายที่ตองเร�ยนว�ชาพื้นฐานใหหมด (หากยังไมผานว�ชาสถิติ ,            - สอบ Comprehensive ใหผาน
      ภาษาอังกฤษ , ฝกความเชี่ยวชาญว�ชาชีพ ตองจัดการดวน)                            ปกติควรจะสอบปลายเดือนพฤศจิกายนหร�อตนเดือนธันวาคม
      - ทำ proposal เสร็จ นำเสนอในว�ชาสัมมนา 2 แกไขแลวสงใหบัณฑิต                  - ว�เคราะหขอมูลเร�่มเร�ยน บทที่ 4,5 (ถาตองการจบ 2 ป)
      ว�ทยาลัยรับรอง (ถาไมเสร็จทานอาจติด F ว�ชาสัมมนา 2) /                         - ผูที่จะจบ 1 ป 9 เดือน ตองสอบประมวลรอบรูใหผาน
      จากนั้นพยายามทำแบบสอบถามใหเสร็จ                                                แลวทำปญหาพิเศษใหเสร็จ สอบ Defend ใหผาน
      - ถาเร�่มเก็บขอมูลไดควรเร�่มทำ                                               แกไขนำสงบัณฑิตใหทันปลายเดือนกุมภาพันธ หร�อตนเดือนมีนาคม
      และเร�่มดูหนังสือเพื่อสอบประมวลความรอบรู (Comprehensive)                       (มีผูทำสถิติจบภายใน 1 ป 9 เดือน มาแลว ทานก็ทำได)
      - เร�ยนมาแลว 1 ป 4 เดือน                                                      - เร�ยนมาแลว 1 ป 9 เดือน




                                                                                      ปที่ 2 เทอมหก ภาคฤดูรอน (มีนาคม – พฤษภาคม)
                                                                                      - สำหรับผูที่ตองการจะจบ 2 ป ตองว�เคราะหขอมูล
                                                                                      ตั้งแตเดือนมกราคม เปนตนไป แลวเขียนรายงานผลการว�จัย
                                                                                      ใหคณะกรรมการตรวจ จากนั้นขอสอบ Defend ปญหาพิเศษ
                                                                                      (จบภายใน 2 ป ประมาณเดือนพฤษภาคม รับปร�ญญา กุมภาพันธ
                                                                                      ปหนาพรอมกับผูที่จบ 1 ป 9 เดือน)
                                                                                      - เร�ยนมา 2 ปเต็ม

ใครที่จะใชเวลาเร�ยนมากกวานี้ เร�ยนได โดยไมตองใชลายแทง
เร�บนดุม ๆ ไปเร�่อย ไมจบ 4 ป ก็ Retire ไปเอง
                                                                       ป 3            ปที่ 3 เทอมเจ็ด (มิถุนายน – กันยายน)
คณะสารสนเทศและการสื่อสารไมมีนโยบายในการขยายเวลา                                       - ว�เคราะหขอมูล เขียนรายงานสอบ Defend แกไข สงรูปเลม
เร�ยนของนักศึกษา ผานมา 13 ป เราไมเคยทำ                                              - บุคคลที่สอบประมวลความรูตก ใหสอบซ้ำใหเสร็จในเทอมนี้
                                                                                       - จบภายในเดือนตุลาคม อยางชาไมเกิน 30 พฤศจิกายน
       “จงรักในสิ่งที่เร�ยน เร�ยนในสิ่งที่ดี”                                          จะสามารถรับปร�ญญาพรอมผูที่จบ 2 ป คือ ในเดือนกุมภาพันธ
                                                                                       ปถัดไปเชนกัน
                                                                                       - เร�ยนมาแลว 2 ป 4 เดือน

                                                                 รศ.ดร ว�ทยา ดำรงเกียรติศักดิ์                                             13
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์

Contenu connexe

Tendances

สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์niralai
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2niralai
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่niralai
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่niralai
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2niralai
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรniralai
 
สีบอกนิสัย
สีบอกนิสัยสีบอกนิสัย
สีบอกนิสัยpakamas jung-in
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองniralai
 
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chay
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chayตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chay
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chayPeter Chay
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1niralai
 
ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่Thamma Dlife
 
5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps wordsAnurak Menrum
 
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4RunchiRunchi
 
การวางแผนเลือกคู่ชีวิต
การวางแผนเลือกคู่ชีวิตการวางแผนเลือกคู่ชีวิต
การวางแผนเลือกคู่ชีวิตSarid Tojaroon
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่Kiat Chaloemkiat
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยAchara Sritavarit
 
เหตุผล(ประโยชน์) ที่ฉันรักเธอ by Peter chay
เหตุผล(ประโยชน์) ที่ฉันรักเธอ by Peter chayเหตุผล(ประโยชน์) ที่ฉันรักเธอ by Peter chay
เหตุผล(ประโยชน์) ที่ฉันรักเธอ by Peter chayPeter Chay
 

Tendances (20)

สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
สีบอกนิสัย
สีบอกนิสัยสีบอกนิสัย
สีบอกนิสัย
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chay
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chayตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chay
ตัวคนเดียว(เปลี่ยวแต่ไม่เหงา) by Peter chay
 
One Pointed Mind
One Pointed MindOne Pointed Mind
One Pointed Mind
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา1
 
ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่
 
5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words
 
เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4เข้าค่ายม.4
เข้าค่ายม.4
 
การวางแผนเลือกคู่ชีวิต
การวางแผนเลือกคู่ชีวิตการวางแผนเลือกคู่ชีวิต
การวางแผนเลือกคู่ชีวิต
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
 
เหตุผล(ประโยชน์) ที่ฉันรักเธอ by Peter chay
เหตุผล(ประโยชน์) ที่ฉันรักเธอ by Peter chayเหตุผล(ประโยชน์) ที่ฉันรักเธอ by Peter chay
เหตุผล(ประโยชน์) ที่ฉันรักเธอ by Peter chay
 
แด่ดวงตะวัน™ หนังสือน่าอ่านที่ลูกอยากอ่านให้พ่อฟัง
แด่ดวงตะวัน™ หนังสือน่าอ่านที่ลูกอยากอ่านให้พ่อฟังแด่ดวงตะวัน™ หนังสือน่าอ่านที่ลูกอยากอ่านให้พ่อฟัง
แด่ดวงตะวัน™ หนังสือน่าอ่านที่ลูกอยากอ่านให้พ่อฟัง
 

Similaire à สาส์นนิเทศศาสตร์

กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมniralai
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่niralai
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 
สังคหวัตถุ
สังคหวัตถุสังคหวัตถุ
สังคหวัตถุniralai
 
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสWat Thai Washington, D.C.
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54KASETSART UNIVERSITY
 
ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง UsaTaraya Srivilas
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ Pises Tantimala
 
เลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมองเลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมองPanda Jing
 
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมalibaba1436
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นPanda Jing
 

Similaire à สาส์นนิเทศศาสตร์ (20)

กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
สังคหวัตถุ
สังคหวัตถุสังคหวัตถุ
สังคหวัตถุ
 
Administration4 M
Administration4 MAdministration4 M
Administration4 M
 
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
 
Vision2
Vision2Vision2
Vision2
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
Get job hop to success
Get job hop to successGet job hop to success
Get job hop to success
 
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54ทำงานให้สำเร้จ  ทีม  มนุษยสัมพันธ์, พค54
ทำงานให้สำเร้จ ทีม มนุษยสัมพันธ์, พค54
 
ค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usaค้นหาตัวเอง Usa
ค้นหาตัวเอง Usa
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
 
เลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมองเลือกที่จะมอง
เลือกที่จะมอง
 
Lion
LionLion
Lion
 
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
 
ข้อสอบ.
ข้อสอบ.ข้อสอบ.
ข้อสอบ.
 
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่นEbook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
Ebook รักนะรัก ฉบับวัยรุ่น
 

สาส์นนิเทศศาสตร์

  • 1. CONTENTS สาส์นจากคณบดี 2 บทเพลง 3 บทความ การศึกษา 3 ยุค (1.0/2.0/3.0) 4 ศิษย์เก่าดีเด่น 6 บทคัดย่องานวิจัยดีเด่น 7 ประมวลภาพกิจกรรม 8 ปรัชญาว่าด้วย เรื่องนำา้ชากับการศึกษา 12 ลายแทงการเรียนปี 54 13 สื่อสารGossip 14 ปฎิทินกิจกรรม 16
  • 2. สาส์นจากคณบดี ส าส์นจากคณบดี ชีวิต ความรัก ความฝัน ชีวิตคือการเรียนรู้ การเรียนทำาให้เราเดินหน้าตลอดเวลา ความฝันและเป้าหมาย วันที่เราหยุดเรียนรู้คือวันที่เราหมดลมหายใจ ชี ว ิ ต ที ่ ม ี ค วามฝั น จึ ง มี เ ป้ า หมาย มี ค วามฝั น จึ ง มี ก ารออก เดินทางสู่ความสำาเร็จ ความรัก ความศรัทธา ความฝัน • ทุกคนควรมีเป้าหมายสูงสุดในชีวิต มีเป้าหมายย่อย คื อ ส่ ว นสำ า คั ญ ของชี ว ิ ต ที ่ จ ะทำ า ให้ ช ี ว ิ ต ก้ า วหน้ า รองลงมาตามลำ า ดั บ บรรลุ ค วามสำ า เร็ จ ไปที ล ะขั้ น ตาม หรือดิ ่ ง เหว ลำาดับ ก้าวสู่เป้าหมายเล็กๆก่อนก้าวหน้าตามลำาดับ ก็จะมี กำาลังใจฝ่าฟันต่อสู้และได้รับความสุขความสำาเร็จทีละก้าว ความรัก ขอให้นักศึกษาทุกคนเข้าใจชีวิต เข้าใจความรัก • รักที่ทุ่มเทหมดใจ หลงใหลงมงายตกเป็ น ทาสความรั ก มีสัมมาทิฏฐิและบรรลุความฝันของชีวิตดั่งตั้งใจ ก็ดิ่งเหว รักแท้ที่จริงใจ บริสุทธิ์เข้าใจในรัก ให ้ ใจคลุ ม รั ก ไม ่ ใช ่ ร ั ก คลุ ม ใจ รู ้ จ ั ก อดทน ข่ ม กลั ้ น รู ้ ว ่ า เมื ่ อ มี ส ุ ข ก็ จ ะมี ท ุ ก ข์ ต ามมาเป็นสัจธรรม อยู่กับสิ ่ งที ่ มี ไม่ ใช่ สิ ่ ง ที ่ ฝ ั น รู ้ จัก ใช้ความรักเป็น “ไฟ” นำาไปสู่ความสำาเร็จ รองศาสตร์ตราจารย์ ดร.วิทยา ดำารงเกียรติศักดิ์ • รั กไม่ เคยทำาร้ายใคร มีแต่คนที่ท ำาร้ายกั นเอง คณบดีคณะสารสนเทศและการสื่อสาร ความศรัทธา • ศรัทธาในสัจธรรม ทุกสิ่งมีเกิดดับ ไม่ยดติดไม่คาดหวังลม ๆ ึ ้ แล้งๆ อย่ า เพียงเที่ยว ขอพร อธิษฐาน รดนำ า มนตร์ ต้ อ ง รู้ตน หมั่นพัฒนาจุดบกพร่องของตนเอง ไม่นั่งรอโอกาส แต่ควรใช้ความรู้ ความสามารถ ความพยายาม ไขว่คว้า ความสำาเร็จ • ถ้าเราไม่ศรัทธาความสามารถของตัวเอง แล้วใครล่ะจะ ศรัทธาเรา ถ้าเคยศรัทธาในสิ่งผิด ทำาผิด เรารู้ตัวมั้ยว่า เรา ทำาผิดแล้วเราตั้งใจ จะแก้ไข หรือแก้ตัว 2
  • 3. บทเพลง ทรัพย์สินทางปัญญาของคณะ จะสู้หรือว่ายอม จะสู้หรือว่ายอม เหี้ย ทำานอง/คำาร้อง รศ.ดร.วิทยา ดำารงเกียรติศักดิ์ (ของฝากแก่นักการเมืองเลว) ก้าวพ้น โลกใบเล็ก แค่โผล่ ให้เห็น ก็เรียกเหี้ย โลกของเด็ก ไร้เดียงสา สาดเสีย เทเสีย โดนโขกสับ โลกใบใหม่ มากมายา ไม่มี ใคร เต็มใจรับ โลกจะ พันธนา เธอเอาไว้ มีแต่ขับ แต่ไล่ แต่กีดกัน มีสิทธิ เสรี ที่จะคิด คิดว่าเรา อัปมงคล มีสิทธิ์ ถูกจำากัด การเคลื่อนไหว เหี้ยกับคน มีขีดขั้น สิ่งต่าง ๆ ที่ทำาไป ถูกผิด ชั่วดี ก็ต่างกัน จะทำาให้ เธอเรียนรู้ เหี้ยจึงผัน เป็นคำาด่า มาเนิ่นนาน Your Gateway to Quality Education ไม่เคยเห็น จะได้เห็น รักก็เหี้ย เกลียดก็ด่า ว่าเหี้ยอีก สิ่งที่เป็น ที่เห็นอยู่ ยากจะ หลีกเลี่ยง คำาเรียกขาน สิ่งที่ได้ พบเห็น จะเป็นครู เหี้ยจึง ถูกจิก ถูกประจาน จงดู ด้วยใจ ใคร่ครวญคิด แค่เดินผ่าน ก็บอก “ตัวซวยไปให้ไกล” ที่นี่ ต่างจาก ที่เธอมา จึงถูกตั้ง ข้อรังเกียจ เต็มด้วย มารยา นานาจริต ไม่มีใคร อยากเฉียด เข้ามาใกล้ กิริยา มากมาย ชนิด เป็นตัวซวย อัปราชัย ชีวิตใน มหา วิทยา ตัวอัปรีย์ จัญไร ช่างน่ากลัว (ชีวิตในมหาวิทยา) ที่คนเกลียด คนกลัว ก็เข้าใจ ก้าวพ้น โลกใบเล็ก แต่ทำาไม ไร้เหตุผล คิดมั่วซั่ว ก้าวพ้น วัยเด็ก ไร้เดียงสา เพียงเราอยาก มาเยี่ยม เพื่อนบางตัว สู่โลกใหม่ มากมายา ที่กำาลัง มั่วสุม ในสภา จะสู้การ พันธนา หรือจะยอม? 9 มีนาคม 2554 30 เมษายน 2553 Briding Boundaries จับมือกันไว้ คำาร้อง โอมDC13 ทำานอง เต้ DC13 ไม่ว่าใครจะมาจากไหนจะเป็นยังไงต่างคน ต่างใจ ต่างฝัน ก็เดินทางไป * จนมาวันหนึ่งที่เราได้คุ้นเคย อย่างที่เราไม่เคยรู้สึกแบบนี้ จนมาวันหนึ่งอยากเจอทุกที เป็นแบบนี้ อะไรไม่รู้เลย ** จับมือฉันไว้ จะไปด้วยกัน จะขอเดินตามฝันด้วยกันเรื่อยไป ถ้าแม้วันใดเหนื่อยล้า หันกลับมาฉันอยู่ตรงนี้ *** จะอยู่กับเธอทุกวินาที...เพื่อเธอ แบ่งใจให้กันทุกวัน หากฝันก็คงไม่ไกล เส้นทางจะไกลแค่ไหนก็ไปด้วยกัน (*,**,***,***) 14 กุมภาพันธ์ 2554 3
  • 4. บทความ การศึกษา 3 ยุค (1.0/2.0/3.0) จากห้องขังสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ • ผมเคยบอกในที่ประชุมผู้บริหารว่า แนวคิดการศึกษาของเราล ้ า หล ั ง กว ่ า มหาวิทยาลัยดี ๆ ในประเทศอเมริกาหรืออังกฤษราว 50-100 ปี แพ้ ก ั น แบบ ไม ่ เ ห ็ น ฝ ุ ่ น ถ ้ า เราร ู ้ ไ ม ่ จ ร ิ ง เราจะตามหล ั ง เขาไปเร ื ่ อ ย ๆ ไม ่ ม ี ท างท ั น • แต่ก็ยังมีผู้บริหารบางท่านอาจารย์บางคนพยายามฉุ ด มาตรฐานการศึ ก ษา ่ แม่โจ้ให้ตำาลง แก้ระเบียบ แก้คะแนน หัวหมอจนกรรมการสภาบางท่านบอก ว่าเป็นการเรียนการสอนปริญญาเอกแบบลูกไม่ยอมหย่านม ! • ยิ่งได้อ่านพาดหัวตัวไม้ของหนังสือพิมพ์วันนี้ “ตีแผ่ระบบการศึกษายุคปริญญาสะดวกซื้อ ตอบโจทย์เงินและอำานาจ” ระบุ ว่ า รากเหง้ า ของปั ญ หาอยู่ ที่ สั ง คมพวกพ้ อ งการไร้ จ ริ ย ธรรมเป็ น เรื่ อ งผลประโยชน์ ล้ ว นๆการศึ ก ษาไทยกำ า ลั ง ดิ่ ง ลงเหวเป็ น วงจรอุ บ าทว ์ ยากเกิ น เยี ย วยาขายปริ ญ ญา ปลอมประกาศนี ย บั ต ร จั ด การศึ ก ษาสุ ด มั ่ ว แบบ 3 ง่ า ย “เข ้ า ง ่ า ย เร ี ย นง ่ า ย จบง ่ า ย” ผลการทำ า ร้ า ยทำ า ลายระบบการศึ ก ษาของผู ้ บ ริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย และผู ้ บ ริ ห ารหลั ก สู ต รก็ ค ื อ ผลการป ร ะ เ ม ิ น ร ะ บ บ การศึ ก ษาทั่ ว โลกระบุ ว่ า การศึ ก ษาในประเทศไทยมี ทิ ศ ทางเลวลงอยู่ ใ นระดั บ ขั้ น Poor(แย่ ) ซึ่ ง เป็ น ขั้ น ตำ่ า สุ ด ของทั้ ง หมด4ขั้ น อาจารย์ ดี ท้ อ แท้ ใ จเพราะการสอนดี ใ ห้ เ กรดยากงานเยอะต้ อ งเสี่ ย งที่ ลู ก ศิ ษ ย์ จ ะประเมิ น “ไม่ พ อใจ”ขณะที่ อ าจารย์ เ ลวไม่ ค่ อ ย สอนให้ เ กรดง่ า ยงานน้ อ ยถู ก ประเมิ น ว่ า สอนดี เ ป็ น ที่ พ อใจเป็ น การศึ ก ษาแบบสมคบผลประโยชน์ ไ ม่ คำ า นึ ง ความจริ ง ความดี ง าม • ซำาร้ายวันก่อนผู้บริหารหอการค้าไทยออกมากระหนำ่า Summer Sale สำาทับอีกว่าประเทศไทยกำาลังจะล่มจม เพราะนักการเมืองสมคบ ้ กับพ่อค้าและข้าราชการโกงกินหัวคิว 30-50% แบบหน้าด้าน สันดานเลว นั่นคือส่วนหนึ่งของผลการศึกษาที่ผิดตัว ผิดตน ผิดทิศผิดทาง ประเทศจึงตกอยู่ในวังวนทะเลเลือด ก่อนและหลังเลือกตั้งจะฆ่ากันอีกกี่ศพไม่รู้ แผ่นดินถึงจะสูงขึ้น • การแบ่งยุคสมัยของการศึกษานั้น อาจเปรียบได้กับการแบ่งยุคของอินเทอร์เน็ต ซึ่งในยุคแรกคือยุคของ Web 1.0 (ยุค Read-only) เจ้าของเว็บไซด์มีหน้าที่ผลิตเนื้อหาผู้เข้าชมส่วนใหญ่ทำาได้เพียงการอ่านหรือรับข้อมูลเท่านั้น • ยุคถัดมาเป็นยุค Web 2.0(ยุคRead-write) ลักษณะเนื้อหาจะสามารถโต้ตอบ แบ่งปันแลกเปลี่ยนให้คำาแนะนำากันได้ทั้งฝ่ายผู้สร้าง และผู้ชมโดยไม่ต้องมีความรู้ทางเทคนิคมากนัก • ปัจจุบันเรากำาลังก้าวเข้าสู่ยุคที่ 3 คือยุคของ Web 3.0 (ยุค Read-Write-Execute) เป็นยุคที่ผู้ใช้สามารถ อ ่ า น,เข ี ย น,จ ั ด การเน ื ้ อ หา และปร ั บ แต ่ ง แก ้ ไขข ้ อ ม ู ล ได ้ อ ย ่ า งอ ิ ส ระ สามารถเช ื ่ อ มโยงข ้ อ ม ู ล เข ้ า ด ้ ว ยก ั น (relate) ได ้ ม ากข ึ ้ น Website ม ี ล ั ก ษณะชาญ ฉลาด (Artificial intelligence) เข้าใจความต้องการของผู้ใช้มากขึ้น • หากจะอุปมายุคของ Web กับการศึกษาก็สามารถแบ่งการศึกษาได้เป็น 3 ยุคเช่นกัน การศึกษายุค 1.0 ห้องเรียนคือห้องขัง การศึกษาในยุค 1.0 นั้นเป็นการศึกษาแบบ “อุตสาหกรรม” ที่สถาบันการศึกษาผลิตนักเรียน/นักศึกษาคราวละมาก ๆ ห้ อ งเรี ย นมี ส ภาพ แออัดยัดเยียดเปรียบเสมือนเป็นห้องขัง โดยจะเรียนกันในห้องเรียนเป็นส่วนใหญ่ เป็นการยึดพื้นที่ในห้องเรียน ปิ ด พื ้ น ที ่ ก ารเรี ย นรู ้ จ าก ภายนอก • การเรียนการสอนอยู่ในลักษณะ Competency –based Education คนเก่งเป็นคนสำาคัญ สอนแบบเหมาโหล เน้ น ผลลัพธ์ (output) สอนเพื่อให้ครบตาม KPI สร้างหลักสูตรแบบ “ครูคิดแทนทุกคนในโลก” • ครูสอนแบบยัดเยียดข้อมูล อัดเนื้อหา ใช้การบรรยายให้นักเรียนจดจำาเนื้อหามากกว่าการให้ความคิดที่แตกฉาน เน้นให้นักเรียนจำาได้/ ทำาได้/ทำาครบ ใช้วิธีการแก้ปัญหาแบบเดิม ๆ คือมีปัญหา มีโจทย์ บ้าสถิติ บ้าตัวเลข และบ้าเหตุผล • นอกจากนี้ยังใช้ “ความกลัว” เป็นเครื่องมือรักษาความสงบ • สำาหรับการสอบเพื่อประเมินผลการเรียนนิยมใช้ข้อสอบปรนัย ที่มีตัวเลือกจำากัดและตัดเกรดผู้เรียนตามเนื้อหาสาระที่กำาหนด • นักเรียน ต้องทำาตามครูบอก ต้องไม่สร้างปัญหาและเชื่อฟังโดยสงบ ใช้ปัญญาฐานเดียว/เน้นสมองซีกซ้าย ถ้ า คิ ด ตรงกั นข้ามกับครูผู้สอน ก็ ส อบตก ถ้าตอบแบบเอาใจครูผ ู้สอนจะได้ เ กรดเอ • ถ้าเปรียบกับทะเลการศึกษายุคนี้คือยุควังวน ทะเลเลือด (Red Ocean) การศึกษาทีทาให้เกิดการ ่ ำ 4 แก่งแย่ง/แข่งขัน/ต่อสู้/งกเค็ม/เห็นแก่ตัว/นักศึกษาบ้าปริญญา/อาจารย์บ้าเงิน บ้าอำานาจ
  • 5. บทความ การศึกษายุค 2.0 ร่วมคิดร่วมทำาร่วมเรียนรู้ การศึกษายุค 2.0 เป็นการศึกษาแบบแนวธรรมชาติ คือเรียนรู้วิธีการเรียนรู้ (learn how to learn) สอนชีวิต/เรียนตามอัธยาศัย เรี ย นที ่ ไ หนก็ ได้ เปิด เวที เปิด สนาม เปิด พื้น ที่การเรี ย นรู ้ การเรี ย นการสอนอยู ่ ใ นลั ก ษณะ Community–based Education คนเก่งและคนดีเป็นคนสำาคัญ สอนแบบช่างตัดเสื้อเฉพาะตัว สอนนอกเรื่องบ้าง บางครั้งสอนสังคม สอนชี ว ิ ต เ น้ น กร ะบ วนการ เ น ้ น ผลสัมฤทธิ์ (outcome) • ครู ทำาหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง เป็นผู้ให้ความสะดวก กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มีการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ ให้ ค วามรั ก ก่ อ นให้ ความรู้ ใช้วงจรการเรียนรู้ คือ “คุย คิด คลิก คลำา” ไม่มี “ปัญหา” มีแต่ “หัวข้อวิจัย” สอนในลักษณะเรียนร่วมกัน รู้ร่วมกัน แลกเปลี่ยน ความรู้กัน • นักเรียน เก่งอย่างเดียว ไม่พอต้องเป็นคนดี ใฝ่ดี ฝึกนิสัย ใฝ่รู้ กล้าคิด กล้าทำา กล้าทดลองแยกแยะถูกผิด ใช้ปัญญาหลายฐาน ฐาน กายลงมือทำาจนเกิดทักษะ ฐานใจ จิตปกติ จิตอาสา ฐานคิด คิดรอบทั้งสมองซ้ายขวา/บนล่าง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการ เรี ย นโดยการออกข้อสอบเอง และตั้งโจทย์เอง บอกข้อสอบได้ ตั้งแต่เริ่มเรียน ช่วยกันเรียนรู้ ร่วมคิด ร่วมทำา ครูสื่อผู ้ ใ หญ่และเด็กแลก เปลี ่ ย นเรียนรู้ไปด้วยกัน • ถ้าเปรียบกับทะเลคือทะเลสีคราม สดใส เป็นธรรมชาติ คนชุมชน สิ่งแวดล้อมอยู่ร่วมกัน การศึกษายุค 3.0 การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นการศึกษาที่เจาะเข้าไปที่ปรัชญาชีวิต เป็นการตอบคำาถามว่า “เกิดมาเพื่ออะไร” “เกิดมาทำาไม” แสวงหาการหลุดพ้น หาความหมายของชี ว ิ ต สะสมบุ ญ สะสมอริ ย ทรั พ ย์ พัฒนามิติของจิตวิญญาณ • การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เป็นเรื่องจำาเป็นอย่างยิ่งยวด การเรียนการสอนอยู่ในลักษณะ Spirituality-based Education โดยคนที่มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ คนที่เป็นผู ้ น ำ า ทาง จิตวิญญาณเป็นคนสำาคัญ • เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ยึดถือธรรมะเป็นหัวใจของการเรียนรู้ เรียนรู้เพื่อที่จะได้พ้นทุกข์ • ครู ในยุคนี้ควรใช้สติปัญญาเป็นผู้นำา ใช้ธรรมนำาหน้า มีจริยธรรม คุณธรรม มีปัญญา มี ส ติ ต ่ อ เนื ่ อ ง “สติ ม า ปั ญ ญาเกิ ด ” “ธรรมะ จั ด สรร” เน้ น การเรี ย นรู ้ ไ ตรสิ ก ขา (ศีล/สมาธิ/ปัญญา) อิทธิบาท 4 (ฉันทะ/วิริยะ/จิตตะ/วิมังสา) พละ 5 (ศรัทธา/วิริยะ/ สติ/ สมาธิ/ปัญญา) โภชฌงค์ 7 (สติ/ธัมมะวิจยะ/วิริยะ/ ปิติ/ ปัสสัทธิ/สมาธิ/อุเบกขา) ดูผลเชิงประจักษ์ (ลดโลภ โกรธ หลงได้หรือไม่) ควบคุมอารมณ์ ทำาทาน รัก ษาศี ล ภาวนา • นักเรียนในยุคนี้คาดหวังว่าจะเป็นมนุษย์ที่มีภูมิจิต ภูมิธรรมสูง เรียนเพื่อค้นหาคำาตอบ ของชีวิตว่า อยากเป็นอะไร เรียนแล้วได้อะไร ลดโลภ โกรธ หลง ได้แค่ไหน? ขาดสติไหม? รู้จักอดทนข่มกลั้น เสียสละได้ไหม? นักเรียนควรสามารถแก้ป ั ญ หาได ้ ด ้ ว ยหล ั ก ธรรม สามารถ แยกแยะถูกผิดว่าอะไรดีอะไรงามอย่างแยบคาย วิริยะในการสร้างปัญญา สร้าง ความดีหมั่นตรวจสอบตนเอง ทบทวนตนเอง เพื่อให้พ้นทุกข์ได้ด้วยปัญญา • ถ้าเปรียบกับทะเลก็คือทะเลสีขาว สมดุลงาน สมดุลธรรม สมด ุ ล ป ั ญ ญา เป ็ น ผ ู ้ ต ื ่ น ร ู ้ ผู้เบิกบาน ค้นหาตัวตนที่แท้จริง ไม่โดนกิเลสครอบงำา ปีนี้แม่โจ้ไ้ดสร้างประวัติศาสตร์ โลก ออกระเบียบให้นักศึกษาปริญญาโท - เอก สามารถจบได้ทุกวัน เพื่อเอาใจนักศึกษา(เลว) ขณะที่มหาวิทยาลัยดีๆ จบปีละ 2-3ครั้ง เป็นความภาคภูมิใจของเราที่ได้นำาคนอื่นไปสู่ก้นบึ้งเหวแล้ว เป็นธุรกิจการศึกษาเต็มตัว คงไม่ต้องถามว่าการศึกษาของเราอยู่ยุคไหน เป็นครูบาอาจารย์คงพิเคราะห์ ได้ เองแต่ถ้าเมื่อไรท่านเห็น “การศึกษา” เป็น “ธุรกิจ” เห็นลูกศิษย์ “เป็นลูกค้า” ท่านน่าจะไปเช่าร้านสะดวกซื้อนอกมหาวิทยาลัย ปั๊มปริญญาขายดีกว่ามานั่ง ทำาตัวเป็นกาฝาก ใช้ชื่อมหาวิทยาลัยหากิน! เอกสารประกอบการเรียบเรียง • วรภัทร์ ภู่เจริญ, พัฒนาคน พัฒนาใจ. 5 รศ.ดร.วิทยา ดำารงเกียรติศักดิ์ • ผู้จัดการ 360° รายสัปดาห์. • Generation of Web : Web 1.0, 2.0, 3.0 and the Future. • Brief History of Web Technology
  • 6. ศิษย์เก่าดีเด่น นายสมภาคย์ ชูโชติ ผู้ประสบความสำาเร็จในวิชาชีพ ประวัติการศึกษา: - ระดับมัธยมต้น โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์ วิทยาลัย - ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลำาปาง - ระดับปริญญาตรี สถาบันเทคโนโลยีการเกษตร แม่โจ้ (สาขาส่งเสริมการเกษตร) - ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (สาขานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต) อาชีพและสถานที่ทำางาน: - วิทยากรสำานักเสริมศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เทคนิคการเป็นพิธีกรมืออาชีพ) ประวัติการทำางาน: - ผู้จัดการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ บริษัท บ้านผู้นำา จำากัด - ผู้จัดการฝ่ายข้อมูลและกิจกรรม - วิทยากรและที่ปรึกษา บริษัท โอเคแมส จำากัด บริษัท ภาษรโปรดักชั่น จำากัด - วิทยากรและที่ปรึกษา เครือข่ายความสุข บริษัท you can do จำากัด - หัวหน้างานฝ่ายประชาสัมพันธ์ - วิทยากรบรรยายภาครัฐและเอกชน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ งานวิจัยดีเด่น นางสาวยุวสรา ท้าวแก่น ประวัติการศึกษา: - พ.ศ. 2545 - 2548 วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถิติคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ - พ.ศ. 2549 - 2552 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาว ิ ช าน ิ เ ทศศาสตร ์ ผลงานที่โดดเด่น: คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ ังหวัดเชียงใหม่ - โครงการตรวจสุ ข ภาพตามความเสี่ยงในการ ประวัติการทำางาน: ทำางานของทันตบุคลากรจังหวัดเชียงใหม่ “การตรวจ ปี พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554 ตำาแหน่ง ผู้ช่วยนักวิจัย โครงการวิจัยศักยภาพ วัดระดับปรอทในซีรัมของทันตกรรมบุคลากรอาสา ของสารคะเตชินจากชาเขียวที่ช่วยลดปริมาณสารประกอบธาตุเหล็กรีดอกซ์ สมัคร” ในเซลล์ตับและเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจในหลอดทดลองและสิ่งมี ชี วิ ต ภาคว ิ ช า - OPTIMIZING CHITOSAN CHARACTERISTICS ชี ว เคมี คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีหน้าที่เกี่ยวกับงานด้าน FOR EFFECTIVE USE IN HUMAN WEIGHT- ปฏิ บั ติ ก ารทดลองการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล การทดลองและรวมทั้ ง สรุ ป ผลการ LOSS REGIMENS วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลองภายใต้โครงการวิจัยของ รศ.ดร.สมเดช ศรี - งานวิจัยเรื่อง “สื่อที่มีผลต่อการตัดสินใจทำาแท้ง ชัยรัตนกูล ของนักศึกษาอุดมศึกษา” ว่าที่ร้อยตรีขจรรักษ์ พู่พัฒนศิลป์ ประวัติการศึกษา - ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาสัตวศาสตร์ จากวิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีพังงา > นักเรียนแลกเปลี่ยนฝึกปฏิบัติงานฟาร์มโคนม ณ ประเทศเดนมาร์ก - สำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาสัตวศาสตร์ (สัตว์ปีก) จาก มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ประวัติการทำางาน: - ปี 2548 หลังจากสำาเร็จการศึกษา บรรจุเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย สังกัด ผู้อุทิศตนช่วยกิจการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ของคณะ - ปี 2549 โอนย้ายไปสังกัดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร จนถึงปัจจุบัน ผลงานที่โดดเด่น: - ปี 2553 ได้รับรางวัล ภาพยนตร์สั้นยอดเยี่ยม (เรื่อง RADIO จาก SIPA และ สมาพันธ์ 6 สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ)
  • 7. บทคัดย่อ งานวิจัยดีเด่น “ขุมข่ายความรู้ ขุมข่ายปัญญา” บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : อิทธิพลของสื่อที่มีผลต่อการบริโภค การวิจั ย ครั ้ งนี ้ มี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ เพื ่ อศึ กษา 1) ลั กษณะทางประชากรศาสตร์ ขนมขบเคี้ยวของนักเรียนระดับประถมศึกษา 2) พฤติกรรมการเปิดรับสื่อของนักเรียนระดับประถมศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ 3) กระบวนการ ชื่อผู้เขียน : นางสาวเกศิณี เธียรวรรณ ส ื ่ อ สารของส ื ่ อ ท ี ่ ม ี ผ ลต ่ อ การข ั ้ น ตอนการต ั ด ส ิ น ใจบร ิ โ ภคขนมขบเค ี ้ ย วของน ั ก เร ี ย น ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต 4) พฤติกรรมการบริ โ ภคขนมขบเคี ้ ย วของนั กเรี ย นระดั บ ประถมศึก ษาจัง หวัด เชียงใหม่ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ 5) ผลกระทบของการตัดสินใจบร ิ โ ภคขนมขบเค ี ้ ย วในทรรศนะของน ั ก เร ี ย น คร ู พ ่ อ หร ื อ ประธานกรรมการที่ปรึกษา แม่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ เก็บรวบรวบจากการสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ : รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา ดำารงเกียรติศักดิ์ นักเรียนผู้ปกครอง คุณครู และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมทั ้ ง หมด 23 คน ผลการวิ จ ั ย สรุปได้ดังนี้ นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีอายุ 7 - 12 ปี ศึกษาอยู่ในระดับชั้น 1 - 6 ได้รับเงินมาโรงเรียนจำานวน 40 - 65 บาท กลุ่มที่บริโภคน้อยเหลือเงินกลับมาออมบ้ า นวั น ละ 8 - 15 บาท มีน้ำาหนักตามส่วนสูงส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน สำาหรับกลุ่มที่บริโภคมากจะเหลือเงินกลับมาออมบ้านวันละ 1 - 5 บาท น้ำาหนักตามส่ ว นสู ง อยู ่ ใ นเกณฑ์ เ กิ น มาตรฐานสำาหรับพฤติกรรมการเปิดรับสื่อกลุ่มบริโภคขนมขบเคี้ยวน้อยและกลุ่มบริโภคมาก ได้รับสื่อบุคคลจากผู้ปกครอง พี่ชาย เพื่อน และได้รับสื่อมวลชน จากโฆษณาทาง โทรทัศน์ เนื้อหาส่วนใหญ่เป็นการชักชวนให้บริโภคโดยการเล่าประสบการณ์จริงและภาพการ์ตูนจากโฆษณาทางโทรทัศน์เปิดรับในช่วงหลังเลิกเรียน วันเสาร์ - วันอาทิตย์ โดยเปิด รับสื่อ ตามลำาพังและรวมกับสมาชิกในครอบครัวกลุ่มที่บริโภคน้อย ส่วนใหญ่บริโภควันละ 1 - 2 ครั้ง ครั้งละ 1 - 2 ซอง เนื่องจากอยากได้ของแถม ทางบ้านซื้อมาให้ ดู จ ากโฆษณา ทางโทรทั ศ น์ เห็นเพื่อนบริโภค ส่วนกลุ่มที่บริโภคมาก ส่วนใหญ่บริโภควันละ 2 - 3 ครั้ง ครั้งละ 2 - 3 ซอง เนื่องจากอยากลอง รสชาติอร่อย ส่วนใหญ่เลือกบริโภคขนมขบเคี้ยวที่ ทำาจากผลผลิ ต ทางการเกษตร จากทำาแป้งและมาจากทะเล กระบวนการสื่อสารที่มีอิทธิต่อกระบวนการตัดสินใจ พบว่า 1) ขั้นรับรู้ สื่อบุคคล ได้แก่ คุณแม่และเพื่อน และสื่อมวลชน ได้แก่ โฆษณาทางโทรทัศน์ มีอิทธิพลมากที ่ ส ุ ด ต่อกลุ่มการบริโภคปริมาณน้อยและมาก ซึ่งส่วนใหญ่นำาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ การกระตุ้นให้บริโภคด้วยวิธีการชักชวนแบบปากต่อปากและภาพโฆษณาทางโทรทั ศ น์ โดยใช้ เ ทคนิ ค หลายอย่างทั้งจากเล่าประสบการณ์ตรง และการเล่าเรื่องราวที่สนุกสนานผ่านการ์ตูน ส่วนกลยุทธ์ทางการตลาดพบว่า มีการใช้ กลยุทธ์ การเล่าเรื่องราวที ่ น ่ า สนใจ เพิ ่ ม ปริ ม าณ การสื่อสารที่มีประสิทธิผล และทางด้านราคามาจูงใจ ส่วนบริบทที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ ด้านสังคมและด้านคน คือ เพื่อน 2) ขั้นต้องการ สื ่ อ บุ ค คล สื ่ อ บุ ค คล ได้ แ ก่ เพื ่ อ น และ สื่อมวลชน ได้แก่ โฆษณาทางโทรทัศน์ มีอิทธิพลมากที่สุดต่อกลุ่มการบริโภคปริมาณน้อยและมาก ซึ่งส่วนใหญ่นำาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ การกระตุ้นให้บริโภคด้วยวิธีการชักชวนแบบ ปากต่อปาก และโฆษณาทางโทรทัศน์ โดยใช้เทคนิคหลายอย่างทั้งจากเล่าประสบการณ์ตรงและการบอกถึงรูปร่าง รสชาติ และราคาของขนม ส่ ว นกลยุ ท ธ์ ท างการตลาด พ บ ว ่ า ใช ้ กลยุทธ์การเพิ่มรสชาติและการเล่าเรื่อง และราคามาจูงใจ ส่วนบริบทที่มีอิทธิพลมากที่สุด ได้แก่ ด้านคน คือ เห็นเพื่อนบริโภคและเพื่อนชวน 3) ขั้นตัดสินใจ สื่อบุคคล ได้ แ ก่ เพื ่ อ น และสื่อมวลชน ได้แก่ โฆษณาทางโทรทัศน์มีอิทธิพลมากที่สุดต่อกลุ่มการบริโภคปริมาณน้อยและมาก ซึ่งส่วนใหญ่นำาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ การกระตุ้นให้บ ริ โ ภคด้ ว ยวิ ธ ี ก ารชั ก ชวน แบบปากต่อปากและโฆษณาทางโทรทัศน์ โดยใช้เทคนิคหลายอย่างทั้งจากเล่าประสบการณ์ตรงถึงรสชาติ และภาพจากโฆษณาทางโทรทัศน์ ชักชวนให้บริโภค และใช้ ก ารเล่ า เรื ่ อ ง ที ่ สนุกสนาน ส่วนกลยุทธ์ทางการตลาดพบว่า ใช้ตัวการ์ตูน การเพิ่มรสชาติใหม่ การเล่าเรื่องราว ราคาถูกมีของแถมมาจูงใจ และการใช้เรื่องเล่าที่น่าสนใจ ส่วนบริบทที่มีอิทธิพลมาก ที่สุด คือ ด้านสถานการณ์ ด้านบุคคล และด้านแรงจูงใจ 4) ขั้นบอกต่อ สื่อบุคคล ได้แก่ ตนเอง มีอิทธิพลมากที่สุดต่อกลุ่มการบริโภคปริมาณน้อยและมาก ส่ว นใหญ่ น ำา เสนอเนื ้ อ หา กระตุ้นให้บริโภคด้วยวิธีการชักชวนแบบปากต่อปาก โดยใช้ประสบการณ์ตรงบอกถึงรสชาติ ส่วนกลยุทธ์ทางการตลาด พบว่า เลือกที่จะใช้การสื่อสารที่มีป ร ะ ส ิ ท ธ ิ ภ า พ โ ด ย ก า ร พู ด ชักชวน เล่าจากประสบการณ์ตรงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับรสชาติ ส่วนบริบทที่มีอิทธิพลมากที่สุด ได้แก่ ด้านแรงจูงใจ คือ รสชาติ ของแถม ราคาและปริมาณ และด้ า นเวลา ผลกระทบที่มีต่อสุขภาพในทรรศนะของกลุ่มตัวอย่างพบว่าการบริโภคขนมขบเคี้ยวอาจส่งผลกระทบทั้งในระยะสั้น และระยะยาว ส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกัน ได้แก่ ฟันผุ อ้วน ผอมเป็นโรคไต ส่วนผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ พบว่า มีผลกระทบ ต่อพฤติกรรมการออมทั้งในระยะสั้นและยาว คือมีผลกระทบต่อพฤติกรรมการออม และเป็นการสิ้นเปลืองถ้าหากบริโภคในปริมาณมาก ชื่อเรื่อง : สื่อที่มีผลต่อการตัดสินใจทำาแท้งของนักศึกษาอุดมศึกษา ชื่อผู้เขียน : นางสาวยุวสรา ท้าวแก่น ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาตร์ ประธานกรรมการที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา ดำารงเกียรติศักดิ์ บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์คือ 1. เจตคติในการยอมรับในเรื่องการทำาแท้งของนักศึกษาที่กำาลังศึกษาอยู่ระดับอุดมศึกษา 2. สื่อที่มีผลต่อการตั ด สิ น ใจ ทำาแท้งของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ 3. แนวทางในการแก้ไขปัญหาการทำาแท้งของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ โดยได้แบ่งการวิจัย ออกเป็น 2 แบบ คือ การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปริมาณใช้การสุ่มตัวอย่างจากนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำานวน 120 คน ให้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับเจตคติต่อการยอมรับในเรื่องก า ร ท ำ า แ ท ้ ง ข อ ง นักศึกษาอุดมศึกษา จากนั้นนำาข้อมูลที่ได้นำามาประมาณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ด้วยโปรแกรมสำาเร็จรูปทางสถิติ ซึ่งผลการวิจัยพบว่า กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ที่มีอายุระหว่าง 18 - 24 ปี กำาลังศึกษาอยู่ระดับปริญญาตรีทั้งหมด เจตคติในเรื่องการทำาแท้งของนักศึกษาอุดมศึกษาพบว่า อาจารย์ แ ล ะ ส ั ง ค ม ม ี เจตคติไม่แน่ใจในเรื่องการตัดสินใจทำาแท้ง เพื่อนนักศึกษามีเจตคติสามารถยอมรับในการตัดสินใจทำาแท้งในเรื่องนี้ได้ ส่วนบิดาและมารดามีเจตคติไม่ยอมรับในเรื่องการตั ด สิ น ใจ ทำาแท้งในเรื่องนี้ได้ การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบ snowball technique จำานวน 4 คน โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเป็นรายบุคคลเกี่ยวกับสื่อบุคคลในขั้นตอนการตัดสิน ใจทำาแท้ง ซึ่งผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ทำาแท้งจำานวนน้อยคือ 1 - 2 ครั้ง สื่อที่มีผลในขั้นตอนการตัดสินใจดังนี้คือ ขั้นรับรู้ ได้แก่ คู่รัก เพื่อน ตนเอง ขั้นค้นหาข้อมูลที ่ ส นใจ ได้แก่ เพื่อนซึ่งคู่รักของเพื่อนเคยทำาแท้ง และบุคคลที่เคยมีประสบการณ์ ขั้นประเมินทางเลือก ได้แก่ เพื่อนที่มีประสบการณ์ หมอ พยาบาล และขั้นตัดสินใจ พบว่ า เพื ่ อ นที ่ เ คยมี ประสบการณ์ในการทำาแท้งมีผลต่อการตัดสินใจให้กระทำาแท้ง เนื่องจากกลุ่มทำาแท้งน้อยยังไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน เพื่อนที่เคยทำาแท้งจึงมีบทบาทมากในการตัดสินใจทำาแท้ง ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ทำาแท้งจำานวนมากคือ มากกว่า 2 ครั้งหรือตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป สื่อที่มีผลในขั้นตอนการตัดสินใจดังนี้คือ ขั้นรับรู้ ได้แก่ ตนเอง ขั้นค้นหาข้อมูลที่สนใจ ได้แก่ เพื่อน บุคคลที่เคยมีประสบการณ์เคยทำาแท้ง อินเตอร์เน็ต ขั้นประเมินทางเลือก ได้แก่ เพื่อนที่มีประสบการณ์ หมอ พยาบาล และขั้นตัดสินใจ พบว่า ตนเองหรือตัวนักศึ ก ษาเองมี ผ ลต่ อ การตัดสินใจทำาแท้ง เนื่องจากเคยมีประสบการณ์ในการทำาแท้งมาก่อนจึงสามารถเลือกที่จะตัดสินใจทำาแท้งด้วยตนเอง โดยมีวิธีการจูงใจ คือ จู ง ใจโดยการใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ตรวจครรภ์เป็นหลักฐาน จูงใจโดยการใช้บุคคลที่เคยทำาเป็นคนรับรอง จูงใจโดยการใช้ผู้นำาเสนอ ซึ่งเป็นบุคคลที่น่าสนใจ เช่น เพื่อนหรือบุคคลที่เคยทำาแท้งมาก่อน มาพูดชักจูง สร้างความสนใจ จูงใจโดยการนำาเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง 7 ในรูปแบบการเล่าเรื่องในอดีต จูงใจโดยการเปรียบเทียบ
  • 8. ประมวลภาพกิจกรรม การพัฒนาความคิดเชิงสร้างสรรค์ 1.ดูงานสวนพฤกษศาสตร์ทวีชล 2.ดูงานศิลปินโจ-หน่า 3.ดูงานพิพิธภัณฑ์แมลง 4.ดูงานโรงแรมดิแอดเวนเจอร์ 5.ดูงานบ้านหน้อยนอนม่วน 5 6.ดูงานบ้านลุงนพ 1 COMMUNICATION ACTIVITY 2 1 2 3 4 5 8 “Leader & invention of digital communication program” 6 Information & communication a unique position in the arena of communication education
  • 9. นิเทศนิทัศน์ ครั้งที่ 9 เชื่อมความคิดด้วยชีวิตออนไลน์ งานสั ม มนาที่ เ กิ ด จากความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจของนั ก ศึ ก ษาสาขาการ สื่อสารดิจิทัล รุ่น13 ที่ตั้งใจสร้างสรรค์ งานสัมมนา หัวข้อ “เชื่อมความคิด ด้วย ชีวิตออนไลน์”ภายใต้แนวคิดในการสร้างการเรียนรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเครือ ข่ายสังคมออนไลน์และรู้เท่าทันการใช้สื่อออนไลน์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม 18-19 กััยยายน 2553 การสัมมนาดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งในรายวิชาสัมมนา1ซึ่งเป็นรายวิชาที่ทั้งเหน็ด และเหนื่ อ ยแต่ คุ้ ม ค่ า เพราะเป็ น การเรี ย นรู้ วิ ธี ก ารทำ า งานอย่ า งมื อ อาชี พ ซึ่ ง เป็ น ประสบการณ์ที่ติดตัวกับผู้เรียนไปตลอด งานสัมมนาประกอบด้วยการสัมมนา หัวข้อ “สร้างเครือข่าย- สานความ คิดกับชีวิตออนไลน์” โดยได้รับเกียรติจากคุณซี ฉัตรปวีร์ ตรีชัชวาลวงศ์ เจ้าหญิง แห่งวงการไอทีและคุณนันทขว้าง สิรสุนทร นักวิจารณ์และผู้สื่อข่าวบันเทิงจาก Nation Channelเป็นวิทยากรร่วมกันแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์ในการใช้ชีวิตออนไลน์ที่ เป็นประโยชน์ต่อผู้ร่วมงานสัมมนา ในวันที่สองของงานสัมมนาการสัมมนาในหัวข้อ“รู้ถูกรู้ผิดรู้ฤทธิ์...สื่อ ออนไลน์”ได้ ร ั บ เกี ย รติ จ ากพระอาจารย์ ภ าสกร ภู ร ิ ว ั ฑ ฒโน (ภาวิ ไ ล)พระวิ ท ยากรบรรยายธรรมโดยการใช้ แ ผนภาพอาจารย์ อิทธิพล ปรีติประสงค์ ผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนา เด็ ก และครอบครั ว และ นั ก ร้ อ งลู ก ทุ ่ ง ชื ่ อ ดั ง “แคท รั ต กาล” นอกจากนี้ ภายในงานยังมีการแสดงหุ่นช่างฟ้อน จากศิลปินโจหน่า ที่ ได้รับรางวัลระดับโลก การประกวด Digital Dance Contest 2010 ครั้งแรกของประเทศไทย การแสดงผลงานของนักศึกษาและอาจารย์ คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พร้อมทั้งร่วมสนุก กับกิจกรรมการเล่นเกม และแจกของรางวัลมากมาย เรียกได้ว่าเป็น งานที่สนุกสนาน ที่ได้รับความรู้ควบคู่กันไป 9 ณัฐพงษ์ หมันหลี
  • 10. ภาพกิจกรรม รอ งศ า สตรา จา รย ์ ดร.วิ ท ย า ดำ า รงเ ก ี ยร ต ิ ศ ั ก ด ิ ์ คณบดีคณะสารสนเทศและการสื่อสาร ในฐานะอาจารย์ ประจำาวิชาการสื่อสารเพื่อการจัดการ นำานักศึกษาระดับ ปริญญาโทของคณะฯ จำานวน 22 คน เข้าศึกษาดูงานการ บริหารงานองค์กรด้านสื่อ เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2554 ณ กรุ ง เทพมหานครฯ บริ ษ ั ท กั น ตนา แอนนิ เ มชั ่ น สตู ด ิ โ อ จำ า กั ด ผู ้ ป ระสบความสำาเร็ จท ั ้ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ร ะ ด ั บ นานาชาติ จ ากภาพยนตร์ เ รื ่ อ ง “ก้ า นกล้ ว ย” ความสำ า เร็ จ ของบริ ษ ั ท เกิ ด จากการบริ ห าร อย่ า งมื อ อาชี พ เน้ น การทำ า งานเป็ น ที ม มุ ่ ง เน้ น ที ่ ผ ลงาน สร้ า งสรรค์ ง านใหม่ ให้ บ ุ ค ลากรไปฝึ ก อบรมเพิ ่ ม พู น ความรู้ที่โลกฮอลลี่วู้ด และที่สุดๆ คื อ มี ก ารสื ่ อ สารกั น ในองค์ ก ร ตลอดเวลาอย่างต่อเนื่องครอบคลุม ทุกระดับสายงาน 10
  • 11. ภาพกิจกรรม นิ ท รรศน์ ร ั ต นโกสิ น ทร์ ไ ด้ ผ นวกความรู ้ แทรกความ บั น เทิ ง เพื่ อ บอกกล่ า วถึ ง ช่ ว งส ำ า ค ั ญ เชิ ง ประว ั ติ ศ าสตร์ ใ นยุ ค รัตนโกสิ น ทร์ ในแนวความคิ ด เชิ ง สร้ า งสรรค์ และอย่างลงตัว “คุณค่าแห่งยุคสมัย สัมผัสได้ในหนึ่งวัน” สบปากวาไมเ่ ทาตาเหน สบตาเหนไมเ่ ทามอคลา สบมอคลาไมเ่ ทาลองดู ิ ่ ่ ็ ิ ็ ่ ื ำ ิ ื ำ ่ และหนึ่งภาพ…พันคำา (Experience is the mother of wisdom) ยังคงขลังอยู่แม้ว่าเวลาจะผ่านไปนานเท่าไร ตอ ่ ดวย ้ อัมพวา 1 คืน หัวหิน 1 คืน “ณ วันนี้ กบได้ออกจากสระนำา้ ไปหาประสบการณ์มาฝากท่าน อย่าให้มองผ่านไป ใช้ชีวิตให้คุ้มค่า ด้วยการใฝ่หาความรู้ และประสบการณ์จากภายนอกเมื่อมีโอกาส” 11 คำา/ภาพ: อนุสรณ์ วิจารณ์ปรีชา
  • 12. “ต้องไม่ทำาตนเป็นน้ำาชาล้นถ้วย” เพราะอาจารย์จะไม่สามารถรินน้ำาชาลงในถ้วยให้นักศึกษาได้ การศึกษาเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ต้องทำาจิตให้ว่าง หรือเปิดใจ แล้วนำามาเป็นประโยชน์ต่อตนเอง เพราะการเรียนรู้จะไม่มีวันสิ้นสุด เป็นการ เรียนรู้ตลอดชีวิต (ป๋าเบิร์ธ) 12 อัจฉรีย์ แก้วทิพย์
  • 13. ลายแทงการเร�ยน ปร�ญญาโทการสื่อสารดิจิทัล โดยไมตองลาขุมทรัพย ไปสุดฟา (แลวหาปร�ญญาไมเจอ) ความมุงหวัง - ศึกษาจนจบภายใน 2 ป หร�อ 2 ปคร�่ง สามารถรับปร�ญญาพรอมกับกลุมใหญของผองเพื่อน - เร�ยนสบาย ๆ ไมประสาท (จบกอนเพื่อน แตก็ตองเรงเร�ยน ประสาทกินกอน จบทีหลังก็เหงา ไมมีเพื่อนชวยคิด ชวยปร�กษา ประสาทกินอีกเชนกัน) ป 1 ปที่ 1 เทอมแรก (มิถุนายน – กันยายน) ปที่ 1 เทอมสอง (พฤศจิกายน – กุมภาพันธ) - เร�ยนประมาณ 13 หนวยกิต เปนเทอมที่เร�ยนหนักที่สุด - เร�ยนประมาณ 12 หนวยกิต - ว�ชาที่ตองเร�ยน คือ - ว�ชาที่ตองเร�ยน คือ • สด 501 ทฤษฎีการสื่อสารประยุกต • สด 503 การว�จัยทางการสื่อสาร 2 • สด 502 การว�จัยทางการสื่อสาร 1 • สด 504 การออกแบบและจัดการสารสนเทศ • สด 505 สถิติเพื่อการว�จัยทางการสื่อสาร ควรเร�ยนว�ชาพื้นฐานภาษาอังกฤษใหผานภายใน 2 เทอมแรก เพื่อเร�่มคิดที่จะทำว�จัยสรางความเขาใจในกระบวนการว�จัยเบื้องตน/ (สิ่งที่ควรทำคือ เสนอรายชื่อคณะกรรมการที่ปร�กษาและจัด ทำแผนการศึกษา (สิ่งที่ควรทำคือการ proposal ปญหาพิเศษ แผนการศึกษาใหไดภายใน 2 เทอมแรก/แกไข proposal ใหดีขึ้น หร�อว�ทยานิพนธ เพื่อสงในว�ชาว�จัยทางการสื่อสาร 1 โดยใชหัวขอจร�ง โดยปร�กษากับอาจารยที่ปร�กษาเปนระยะ ๆ) ไมเปลี่ยนภายหลัง) ปที่ 1 เทอมสาม ภาคฤดูรอน (มีนาคม – พฤษภาคม) - เร�ยนประมาณ 6 หนวยกิต (ว�ชาเลือก) - เปนเทอมสุดทายที่ทานจะเสนอรายชื่อคณะกรรมการที่ปร�กษา - ทำ proposal ปญหาพิเศษ หร�อว�ทยานิพนธ ปร�กษาใกลชิดกับอาจารย ใหแลวเสร็จไมนอยกวา 80% ป 2 ปที่ 2 เทอมแรก (มิถุนายน – กันยายน) ปที่ 2 เทอมสอง (พฤศจิกายน – กุมภาพันธ) - เร�ยน สด599 สัมมนา 2 / เร�ยน coursework ใหจบ - เร�ยนเฉพาะว�ขาปญหาพิเศษ (6 หนวยกิต) หร�อว�ทยานิพนธ - เทอมสุดทายที่ตองเร�ยนว�ชาพื้นฐานใหหมด (หากยังไมผานว�ชาสถิติ , - สอบ Comprehensive ใหผาน ภาษาอังกฤษ , ฝกความเชี่ยวชาญว�ชาชีพ ตองจัดการดวน) ปกติควรจะสอบปลายเดือนพฤศจิกายนหร�อตนเดือนธันวาคม - ทำ proposal เสร็จ นำเสนอในว�ชาสัมมนา 2 แกไขแลวสงใหบัณฑิต - ว�เคราะหขอมูลเร�่มเร�ยน บทที่ 4,5 (ถาตองการจบ 2 ป) ว�ทยาลัยรับรอง (ถาไมเสร็จทานอาจติด F ว�ชาสัมมนา 2) / - ผูที่จะจบ 1 ป 9 เดือน ตองสอบประมวลรอบรูใหผาน จากนั้นพยายามทำแบบสอบถามใหเสร็จ แลวทำปญหาพิเศษใหเสร็จ สอบ Defend ใหผาน - ถาเร�่มเก็บขอมูลไดควรเร�่มทำ แกไขนำสงบัณฑิตใหทันปลายเดือนกุมภาพันธ หร�อตนเดือนมีนาคม และเร�่มดูหนังสือเพื่อสอบประมวลความรอบรู (Comprehensive) (มีผูทำสถิติจบภายใน 1 ป 9 เดือน มาแลว ทานก็ทำได) - เร�ยนมาแลว 1 ป 4 เดือน - เร�ยนมาแลว 1 ป 9 เดือน ปที่ 2 เทอมหก ภาคฤดูรอน (มีนาคม – พฤษภาคม) - สำหรับผูที่ตองการจะจบ 2 ป ตองว�เคราะหขอมูล ตั้งแตเดือนมกราคม เปนตนไป แลวเขียนรายงานผลการว�จัย ใหคณะกรรมการตรวจ จากนั้นขอสอบ Defend ปญหาพิเศษ (จบภายใน 2 ป ประมาณเดือนพฤษภาคม รับปร�ญญา กุมภาพันธ ปหนาพรอมกับผูที่จบ 1 ป 9 เดือน) - เร�ยนมา 2 ปเต็ม ใครที่จะใชเวลาเร�ยนมากกวานี้ เร�ยนได โดยไมตองใชลายแทง เร�บนดุม ๆ ไปเร�่อย ไมจบ 4 ป ก็ Retire ไปเอง ป 3 ปที่ 3 เทอมเจ็ด (มิถุนายน – กันยายน) คณะสารสนเทศและการสื่อสารไมมีนโยบายในการขยายเวลา - ว�เคราะหขอมูล เขียนรายงานสอบ Defend แกไข สงรูปเลม เร�ยนของนักศึกษา ผานมา 13 ป เราไมเคยทำ - บุคคลที่สอบประมวลความรูตก ใหสอบซ้ำใหเสร็จในเทอมนี้ - จบภายในเดือนตุลาคม อยางชาไมเกิน 30 พฤศจิกายน “จงรักในสิ่งที่เร�ยน เร�ยนในสิ่งที่ดี” จะสามารถรับปร�ญญาพรอมผูที่จบ 2 ป คือ ในเดือนกุมภาพันธ ปถัดไปเชนกัน - เร�ยนมาแลว 2 ป 4 เดือน รศ.ดร ว�ทยา ดำรงเกียรติศักดิ์ 13