SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  73
Télécharger pour lire hors ligne
วันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม 2558
เวลา 14.00 – 16.30 น.
บรรยายโดย: ดร. สมนึก จงมีวศิน (อาจารย์ เขียว)
การประเมินผล
• สอบกลางภาค 30 %
• สอบปลายภาค 35 %
• รายงาน 30 %
• การเข้าชั้นเรียน 5 %
แผนฯ 1
04-09
แผนฯ 2
10-14
แผนฯ 3
15-19
แผนฯ 4
20-24
แผนฯ 5
25-29
แผนฯ 6
30-34
แผนฯ 7
35-39
แผนฯ 8
40-44
แผนฯ 9
45-49
แผนฯ10
50-54
ภาพรวมการพัฒนาประเทศในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-10
วางแผนจากส่วนกลาง-บนลงล่าง
วางแผนจากบนลงล่างและล่างขึ้นบน
ยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คนเป็นศูนย์กลาง การมีส่วนร่วม
พัฒนาอย่างยั่งยืน
เน้นเสถียรภาพเศรษฐกิจ
มุ่งพัฒนาภูมิภาคชนบท
เน้นพัฒนาเศรษฐกิจ
ควบคู่กับพัฒนาสังคม
เน้นการเติบโต
ทางเศรษฐกิจ
ด้วยการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐาน
แผนรายโครงการ
แผนเฉพาะสาขา
แผนพัฒนาสหสาขา
แผนแม่บท (Comprehensive Plan)
แผนกลยุทธ์
4www.nesdb.go.th
ผลการพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
คุณภาพคน
• จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้น
• คะแนนผลสัมฤทธิ์รวมลดลง
• จานวนผู้ป่วย 5 โรคที่สาคัญเพิ่มขึ้น
• จานวนนักวิจัยยังคงต่ากว่าเป้าหมาย
ชุมชน
• แผนชุมชนมากกว่าร้อยละ 70 อยู่ในระดับดีเลิศ
• การเข้าถึงแหล่งเงินทุนระดับชุมชนเพิ่มสูงขึ้น
• ชุมชนที่มีการดูแลสวัสดิการในระดับดีเลิศมีเพียง
ร้อยละ 26
3
เศรษฐกิจ
• อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยต่ากว่าเป้าหมาย
• สัดส่วนการส่งออกเพิ่มสูงขึ้นตามเป้าหมาย
• อัตราการออมเพิ่มสูงขึ้นแต่ยังคงต่ากว่าเป้าหมาย
• พื้นที่ป่าไม้ เพิ่มสูงขึ้นกว่าเป้าหมาย
• พื้นที่ชลประทานเพิ่มสูงกว่าเป้าหมาย
• อัตราการปล่อยCO2สูงกว่าค่าเฉลี่ยของในภูมิภาค
• การ Recycle ยังคงต่ากว่าเป้าหมาย
4
สิ่งแวดล้อม
ธรรมาภิบาล
• ภาพลักษณ์การคอร์รัปชั่นเฉลี่ยทรงตัวเท่ากับ
ในช่วง แผนฯ 9
• ธรรมาภิบาลของภาคเอกชน ดีขึ้นต่อเนื่อง
• ดัชนีสังคมประชาธิปไตยที่มีธรรมาภิบาลปรับ
ลดลง
1
2 5
5www.nesdb.go.th
7.9
7.2 6.6 7.1
5.4
10.9
8.1
-0.1
5.7
2.6
4.7
-2
0
2
4
6
8
10
12
แผนฯ 1 แผนฯ 2 แผนฯ 3 แผนฯ 4 แผนฯ 5 แผนฯ 6 แผนฯ 7 แผนฯ 8 แผนฯ 9 แผนฯ 10 2 ปีแรกแผน
ฯ 11
6
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย
แผนฯ2
(2509-2514)
แผนฯ1
(2504-2509)
2ปีแรก
แผนฯ11
(2555-2556)
แผนฯ3
(2505-2519)
แผนฯ4
(2520-2524)
แผนฯ5
(2525-2529)
แผนฯ6
(25230-2534)
แผนฯ7
(25235-2539)
แผนฯ8
(25240-2544)
แผนฯ9
(25245-2549)
แผนฯ10
(25250-2554)
ร้อยละ
ที่มา: สศช.
www.nesdb.go.th
ดัชนีความอยู่เย็นเป็นสุข ปี 2549-2555
องค์ประกอบย่อย แผนฯ 9 แผนฯ 10 แผนฯ 11
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
1. การมีสุขภาวะ 71.21 70.42 72.23 70.28 70.02 72.11 72.03
2. ครอบครัวอบอุ่น 62.24 61.65 63.97 63.18 63.08 65.17 68.31
3. ชุมชนเข้มแข็ง 33.74 46.38 55.73 60.89 66.07 76.47 81.00
4. เศรษฐกิจเข้มแข็งและเป็นธรรม 69.92 74.22 70.58 71.58 76.92 76.73 80.10
5. สภาพแวดล้อม และระบบนิเวศสมดุล 69.77 64.18 66.96 64.17 63.23 69.85 64.69
6. สังคมประชาธิปไตยที่มีธรรมาภิบาล 75.42 70.45 74.95 60.37 55.70 53.75 55.56
ภาพรวมดัชนีความอยู่เย็นเป็นสุข 66.33 65.76 67.97 65.37 66.49 69.87 71.36
หมายเหตุ: คะแนน >90-100=พัฒนาระดับดีมาก >80-89.9=พัฒนาระดับดี >70-79.9=พัฒนาระดับปานกลาง >60-69.9=ต้องปรับปรุง
ต่ากว่า 60= ต้องเร่งแก้ไข
7www.nesdb.go.th
บริบทการเปลี่ยนแปลงในระดับโลกในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
กฎ กติกาใหม่ของโลกในการบริหาร
จัดการด้านเศรษฐกิจและสังคมโลก
เช่น การค้า การลงทุน การเงิน
สิ่งแวดล้อม และสิทธิมนุษยชน
• การเคลื่อนย้ายเงินทุน/สินค้า/แรงงานระหว่างประเทศคล่องตัวมากขึ้น
• การจากัดสินค้าจากประเทศกาลังพัฒนาเข้าไปจาหน่ายในตลาดประเทศ
พัฒนาแล้ว
• ประเทศกาลังพัฒนามีภาระมากขึ้นจากการใช้มาตรการกีดกันทางการค้า
และมาตรการทางด้านการละเมิดสิทธิเด็ก สตรี
การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบ
หลายศูนย์กลางรวมทั้งเอเชีย
• เศรษฐกิจเอเชียจะขยายตัวร้อยละ 6-7 ต่อปี (โลกร้อยละ 4-5 ต่อปี)
• โครงสร้างตลาดส่งออกของไทยกระจายตัวมากขึ้น
• เกิดชนชั้นกลางที่มีกาลังซื้อและความต้องการบริโภคสินค้ามากขึ้น เกิดการ
แย่งชิงทรัพยากรการผลิต
การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของโลก
อย่างต่อเนื่อง
• เกิดการย้ายถิ่นของแรงงานข้ามชาติเพิ่มขึ้น
• โครงสร้างการผลิตเปลี่ยนจากการใช้แรงงานเข้มข้นมาเป็นการใช้องค์ความรู้
และเทคโนโลยีมากขึ้น
• โครงสร้างใช้จ่ายงบประมาณเปลี่ยนแปลงไปเน้นด้านสุขภาพมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
ก่อให้เกิดความเสียหายหลายด้าน
• ส่งผลให้อากาศแปรปรวนกระทบต่อการเกิดภัยพิบัติธรรมชาติรุนแรง เกิด
การขาดแคลนน้า เกิดโรคระบาดเพิ่มขึ้น
• ผลผลิตเกษตรของโลกและความมั่นคงทางอาหารได้รับผลกระทบ
• เกิดปัญหาความยากจน การอพยพย้ายถิ่น และการแย่งชิงทรัพยากร
• จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้พลังงานไปสู่พลังงานทางเลือกมากขึ้น
• เกิดความขัดแย้งระหว่างการเพาะปลูกพืชอาหารและพืชพลังงาน
ความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน
จะเป็นปัญหาสาคัญในอนาคต
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมี
บทบาทสาคัญต่อการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม
• โครงสร้างเศรษฐกิจที่จะปรับตัวสู่ภาคบริการเพิ่มขึ้น
• การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการด้านการเงิน การผลิต
• การพัฒนาศักยภาพของสมองและสุขภาพของมนุษย์
• เป็นภัยคุกคามจากการใช้สื่อในการจารกรรมการเผยแพร่ข้อมูลเท็จ
การก่อการร้ายสากลมีแนวโน้ม
ขยายไปทั่วโลก
• ส่งผลกระทบต่อความมั่นคง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ
ประเทศ 9www.nesdb.go.th
ประเด็นการพัฒนาช่วง 5 ปีข้างหน้า
การเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ
และภัยพิบัติ
สินค้า
อุปโภคและ
บริโภค
ประชาสังคม
สุขภาพและการออกแบบ
ความสมานฉันท์
การลดก๊าซเรือนกระจก
๘
10www.nesdb.go.th
ทิศทางการพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-11
เน้นการใช้แรงงานและ
ทรัพยากรธรรมชาติ
การเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจที่ขาดสมดุล
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 - 7
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 - 10
มุ่งสู่เศรษฐกิจพอเพียง
(Sufficiency Economy)
เน้นการพัฒนาทุนมนุษย์
(Human Capital)
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
ใช้ทุนมนุษย์ + เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม + ความปรองดอง
เน้นย้าเศรษฐกิจพอเพียง
ความสมดุลและยั่งยืน
11www.nesdb.go.th
กรอบแนวคิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ..	
  1	
•  แนวคิดต่อเนื่องจากแผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ ๘ - ๑๐ 	
•  ยึดหลักการปฏิบัติตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 	
•  ขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุก
ภาคส่วน ทุกระดับ	
•  ยึดแนวคิดการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มี “คน
เป็นศูนย์กลางการพัฒนา” 	
•  เน้น มิติตัวคน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และการเมือง 	
•  สร้างภูมิคุ้มกันให้พร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้ง
ในระดับปัจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 	
•  ให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม
ในกระบวนการพัฒนาประเทศ
กรอบแนวคิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ..	
  2	
•  ให้ความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศ	
•  เน้นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของฐานการผลิตภาค
เกษตรและการประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม 	
•  ปรับตัวในการเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกและภูมิภาค
ซึ่ไทยมีพันธกรณีภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆ	
•  ใช้โอกาสที่เกิดขึ้นและเพิ่มภูมิคุ้มกันของทุนที่มีอยู่ในสังคม
ไทยอย่างเหมาะสม เพื่อก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ในปี ๒๕๕๘ 	
•  เชื่อมโยงด้านกายภาพทั้งโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิ
สติกส์ 	
•  ยกระดับคุณภาพคน การเสริมสร้างองค์ความรู้ การพัฒนา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์
เป็นพลังขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย
การจัดทาแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
...ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” รวมทั้ง
“สร้างสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ และขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ ..
โดยมีการวิเคราะห์อย่าง “มีเหตุผล” และใช้หลัก “ความพอประมาณ” ให้เกิดความสมดุล...เตรียม
“ระบบภูมิคุ้มกัน” ด้วยการบริหารจัดการความเสี่ยงให้เพียงพอพร้อมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
ทั้งภายนอกและภายในประเทศ...
๒
12www.nesdb.go.th
เจาะลึก หลักการสําคัญของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ..	
  1	
•  พัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน 	
•  เสริมสร้างทุนสังคม (ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนทางวัฒนธรรม)
พัฒนาคนและสังคมไทยสู่สังคมคุณภาพ มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันตั้งแต่
ระดับปัจเจก ครอบครัว และชุมชน 	
•  สามารถจัดการความเสี่ยง และปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง 	
•  มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและได้รับประโยชน์จากการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นธรรม 	
•  เสริมสร้างทุนเศรษฐกิจ (ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน) มุ่งพัฒนา
เศรษฐกิจภายในประเทศให้เข้มแข็ง 	
•  ใช้ภูมิปัญญาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และความคิด
สร้างสรรค์ 	
•  ให้ความสําคัญกับการปรับโครงสร้างการค้าและการลงทุนให้
สอดคล้องกับความต้องการของตลาดภายในประเทศและต่าง
ประเทศ
เจาะลึก หลักการสําคัญของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ..	
  2	
•  เชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ บนพื้นฐานการ
พึ่งพาซึ่งกันและกัน	
•  เสริมสร้างทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 	
•  สร้างความมั่นคงด้านอาหาร บริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เป็นฐานการผลิต
ภาคเกษตร 	
•  มุ่งสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ํา และเป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 	
•  เตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
และภัยพิบัติทางธรรมชาติ 	
•  สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อม 	
•  เพิ่มบทบาทไทยในเวทีประชาคมโลก
เจาะลึก หลักการสําคัญของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ .. 3	
•  บริหารจัดการประเทศเพื่อสร้างความเป็นธรรมในสังคม 	
•  พัฒนาระบบราชการและข้าราชการโดยยึดหลักธร
รมาภิบาล 	
•  เพิ่มประสิทธิภาพการกระจายอํานาจให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น	
•  พัฒนาระบบและกลไกการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างมีส่วนร่วม 	
•  ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสเข้าถึง
กระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม	
•  สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร 	
•  ปลูกจิตสํานึก ค่านิยมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล
แก่ประชาชน
วิสัยทัศน์ประเทศไทย ปีพ.ศ. ๒๕๗๐ 	
•  คนไทยภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรีบน
วิถีชีวิตแห่งความพอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรม
ประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล การบริการ
สาธารณะขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง มีคุณภาพสังคมมี
ความปลอดภัยและมั่นคง อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ดี
เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิต
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงด้านอาหาร
และพลังงาน อยู่บนฐานทางเศรษฐกิจที่พึ่งตนเอง
และแข่งขันได้ในเวทีโลก สามารถอยู่ในประชาคม
ภูมิภาคและโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี
วิสัยทัศน์ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ 	
“สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความ
สุข ด้วยความเสมอภาค เป็น
ธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการ
เปลี่ยนแปลง”
พันธกิจ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ..	
  1 	
•  สร้างสังคมเป็นธรรมและเป็นสังคมที่มีคุณภาพ
ทุกคนมีความมั่นคงในชีวิต ได้รับการคุ้มครอง
ทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มี
โอกาสเข้าถึงทรัพยากรและกระบวนการยุติธรรม
อย่างเสมอภาค ทุกภาคส่วนได้รับการเสริมพลัง
ให้สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา ภาย
ใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่งใส เป็นธรรม	
•  พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีคุณธรรม เรียนรู้ตลอด
ชีวิต มีทักษะและการดํารงชีวิตอย่างเหมาะสมใน
แต่ละช่วงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนท้องถิ่น
มีความเข้มแข็ง สามารถปรับตัวรู้เท่าทันกับการ
เปลี่ยนแปลง
พันธกิจ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ..	
  2 	
•  พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมี
คุณภาพบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และ
ภูมิปัญญา สร้างความมั่นคงด้านอาหารและ
พลังงาน ปรับโครงสร้างการผลิตและการบริโภค
ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พร้อมสร้างความเชื่อม
โยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจและสังคม	
•  สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน รวมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับผลกระ
ทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัย
พิบัติทางธรรมชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 
ในแผนพัฒนา ฉบับที่ ๑๑	
•  ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม	
  
•  ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอด
ชีวิตอย่างยั่งยืน	
  
•  ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของ
อาหารและพลังงาน	
  
•  ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ สู่การเติบโต
อย่างมีคุณภาพและยั่งยืน	
  
•  ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศใน
ภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม	
  
•  ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อมอย่างยั่งยืน	
  
วิสัยทัศน์และเป้าหมายแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
 ความอยู่เย็นเป็นสุขของคนในสังคมและความสงบสุขของสังคมไทยเพิ่มขึ้น
ความเหลื่อมล้าในสังคมลดลง และภาพลักษณ์การทุจริตคอร์รัปชั่นดีขึ้น
 คนไทยมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีสุขภาวะที่ดีขึ้น และสถาบันทางสังคมมีความ
เข้มแข็งมากขึ้น
 เศรษฐกิจเติบโตในอัตราที่เหมาะสม ตามศักยภาพของประเทศ
 ผลิตภาพการผลิตรวมสูงขึ้นเฉลี่ยไม่ต่ากว่าร้อยละ 3 ต่อปี
 เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ
 เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ของ SMEs ต่อ GDP ให้มีสัดส่วนไม่ต่ากว่าร้อยละ 40
 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และการวิจัยมีบทบาทมากขึ้นในการสร้างเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดล้อม โดยตั้งเป้าหมายการลงทุนในการค้นคว้าวิจัยต่อ GDP ของประเทศต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 1
ภายในปี 2559
 คุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มประสิทธิภาพการลด ปริมาณ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมทั้งเพิ่มพื้นที่ป่าไม้เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
วิสัยทัศน์ :
เป้าหมาย :
๑๐
“ สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม
และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง ”
13www.nesdb.go.th
ภาพรวมยุทธศาสตร์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
การสร้างคนและสังคมคุณภาพ
แผนฯ 11
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ธรรมาภิบาล
และการขับเคลื่อนแผนฯ 11
• การสร้างความเป็นธรรมในสังคม (ยุทธศาสตร์ที่ 1)
• การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ (ยุทธศาสตร์ที่ 2)
• การสร้างความเข้มแข็งของภาคเกษตรและความมั่นคงทาง
อาหารและพลังงาน (ยุทธศาสตร์ที่ 3)
• การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและ
ยั่งยืน (แนวทางการพัฒนา วทน.) (ยุทธศาสตร์ที่ 4)
• การเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค (ยุทธศาสตร์ที่ 5)
• การเตรียมการรองรับความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ
และสภาพแวดล้อม และการสังคมคาร์บอนต่าและเป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม (ยุทธศาสตร์ที่ 6)
14www.nesdb.go.th
ความล้มเหลวจากการพัฒนาประเทศ
ในอดีต	
•  โครงสร้างเศรษฐกิจของไทยไม่สามารถรองรับการ
เจริญเติบโตได้อย่างยั่งยืน ยังต้องพึ่งพิงและเผชิญ
กับการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยภายนอกประเทศ
มากขึ้นตามลําดับ 	
•  ระบบเศรษฐกิจของไทยยังมีความอ่อนแอด้าน
ปัจจัยสนับสนุนในส่วนของวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี 	
•  คุณภาพการให้บริการของโครงสร้างพื้นฐาน
กฎหมาย กฎและระเบียบทางเศรษฐกิจที่ไม่เอื้อต่อ
การจัดระบบการแข่งขันที่เป็นธรรมและเหมาะสม
กับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ความท้าทายที่รออยู่ ในอนาคต	
•  การพัฒนาต่อไปนี้จะต้องให้ความสําคัญกับการ
ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่มี
คุณภาพและยั่งยืน 	
•  ใช้ปัญญา ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
ความคิดสร้างสรรค์ เป็นพื้นฐานสําคัญในการ
ขับเคลื่อน 	
•  สร้างปัจจัยสนับสนุนที่เอื้ออํานวยและมี
บรรยากาศในการแข่งขันที่เป็นธรรม 	
•  ใช้โอกาสจากปัจจัยภายนอกให้เกิดประโยชน์
กับประเทศได้อย่างเหมาะสม 	
•  สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้เกิดขึ้นจาก
ปัจจัยภายในประเทศเป็นสําคัญ
การขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาสาคัญในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
สังคม
มั่งคง
สังคม
สีเขียว
สังคม
วัฒนธรรม
ยุทธศาสตร์แผนฯ 11
ประเด็นการพัฒนาสาคัญ 9 ข้อภายใต้แผนฯ 11
การพัฒนาคนเพื่อ
เสริมสร้างทุนทาง
ปัญญาอย่างยั่งยืน
การสร้างความมั่นคง
ทางเศรษฐกิจและสังคม
ให้ทุกคนในสังคมไทย
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ชุมชน ภาคประชาสังคมและ
ธุรกิจเอกชน
การพัฒนาปัจจัย
สนับสนุนที่เอื้อต่อการ
ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
การส่งเสริมความร่วมมืออย่าง
เป็นหุ้นส่วนการพัฒนาทั้งใน
ระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาค
การเตรียมความพร้อม
ของไทยเข้าสู่ประชาคม
อาเซียน
การบริหารจัดการน้า
ป่าไม้และที่ดินเพื่อ
ความมั่นคงด้านอาหาร
การยกระดับขีดความสามารถ
รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ และภัยพิบัติ
การบริหารจัดการ
ประเทศเพื่อสร้างความ
เป็นธรรมในสังคม
การสร้างความเป็นธรรมฯ การพัฒนาคนและสังคมฯ ความเข้มแข็งภาคเกษตรฯ
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฯ การเชื่อมโยงภูมิภาคฯ การจัดการทรัพยากรฯ
จุดมุ่งหมาย
สร้าง 3 สังคม
แนวทาง
การพัฒนา
ประเด็นที่ต้อง
ดาเนินการ
แปลงสู่การปฏิบัติ
ติดตาม
ประเมินผล
ติดตาม
ประเมินผล
แปลงสู่การปฏิบัติ
17www.nesdb.go.th
การสร้างกลยุทธ์การแข่งขันการท่องเที่ยว
ไทยที่บรรจุอยู่ในแผนพัฒนา ฉบับที่ ๑๑	
•  การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค
เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม	
•  การปรับโครงสร้างภาคบริการ ให้สามารถสร้าง
มูลค่าเพิ่มกับสาขาบริการที่มีศักยภาพและเป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อมบนฐานความคิดสร้างสรรค์
และนวัตกรรม
การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค
เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
	
•  พัฒนาฐานลงทุนโดยเพิ่มขีดความสามารถในการ
แข่งขันระดับอนุภูมิภาค	
•  มุ่งพัฒนาพื้นที่ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศให้
เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ 	
•  ให้เป็นฐานการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม การเกษตร
และการท่องเที่ยว พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและ
เมืองชายแดน 	
•  บูรณาการแผนพัฒนาพื้นที่เชื่อมโยงกับประเทศ
เพื่อนบ้าน ให้บรรลุประโยชน์ร่วมกันทั้งด้านความ
มั่นคงและเสถียรภาพของพื้นที่
การปรับโครงสร้างภาคบริการให้สามารถสร้างมูลค่า
เพิ่มกับสาขาบริการที่มีศักยภาพและเป็นมิตรกับสิ่ง
แวดล้อมบนฐานความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม 
	
•  เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ
บริการที่มีศักยภาพสู่ธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ 	
•  สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมให้กับ
ธุรกิจ 	
•  ส่งเสริมการใช้องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในการ
พัฒนาสินค้าและบริการ	
•  ส่งเสริมการลงทุนในธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ โดย
อาศัยความได้เปรียบของทําเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของ
ประเทศ ความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม
และเอกลักษณ์ความเป็นไทย 	
•  สามารถรองรับการเปิดเสรีทางการค้าและกระแสความ
ต้องการของตลาดโลก ได้แก่ ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจ
บริการสุขภาพ ธุรกิจบริการ โลจิสติกส์ ธุรกิจภาพยนตร์
ธุรกิจการจัดประชุมและแสดงนิทรรศการนานาชาติ
•  พัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการลงทุนในภาค
บริการทั้งในประเทศและดึงดูดการลงทุนจากต่าง
ประเทศในภาคบริการ 	
•  ปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการของโครงสร้างพื้น
ฐาน พัฒนาระบบฐานข้อมูลภาคบริการโดยรวมของ
ประเทศและข้อมูลเชิงลึกในสาขาบริการที่มีศักยภาพ 	
•  ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ และสิทธิประโยชน์ให้
เอื้อต่อการลงทุน 	
•  ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี 	
•  ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการประกอบ
ธุรกิจ 	
•  ส่งเสริมธุรกิจบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 	
•  ผลิตและพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสอดคล้องกับ
ความต้องการของธุรกิจ
•  ฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวให้
สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 	
•  ฟื้นฟูพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวหลักที่เสื่อมโทรม 	
•  พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจของธุรกิจท่องเที่ยวใน
กลุ่มพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง 	
•  ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับ
ศักยภาพของพื้นที่ และกระแสความต้องการของ
ตลาดโลก เช่น การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่อง
เที่ยวเชิงนิเวศการท่องเที่ยวเชิงศึกษาเรียนรู้
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสัมผัสวิถีชีวิตชุมชน 	
•  ส่งเสริมการดําเนินกลยุทธ์ทางการตลาดรูปแบบ
ใหม่ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าและขยายไปยัง
ตลาดใหม่ ๆ ที่มีศักยภาพ
•  บริหารจัดการการท่องเที่ยวให้เกิดความสมดุลและ
ยั่งยืน 	
•  ให้ความสําคัญกับการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิง
สร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 	
•  คํานึงถึงความสมดุล และความสามารถในการ
รองรับของแหล่งท่องเที่ยว 	
•  พัฒนายกระดับมาตรฐานสินค้าและบริการ 	
•  พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้มีคุณภาพและเพียงพอ 	
•  บูรณาการการท่องเที่ยวให้เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต
วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งสาขาการ
ผลิตและบริการอื่น ๆ
•  เสริมสร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่น ชุมชน ผู้
ประกอบการรายย่อย วิสาหกิจชุมชน และบุคลากร
ภาครัฐ เพื่อร่วมกันพัฒนาและเชื่อมโยงกับสาขา
การผลิตและบริการที่เกี่ยวเนื่องในพื้นที่ตาม
แนวทางการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ 	
•  พัฒนาทักษะและองค์ความรู้ของบุคลากร ภาครัฐ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชน 	
•  เสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อมให้สามารถปรับตัวเพื่อ
รองรับผลกระทบต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการ
เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขตามกฎระเบียบใหม่ของโลก
สถานการณ์และผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงที่เป็นความท้าทายต่อการท่อง
เที่ยวไทยในปัจจุบัน ..	
  1	
•  ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ 	
1.  ความถดถอยของเศรษฐกิจโลก 	
2.  การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลาง 	
3.  การขยายตัวของขั้วอํานาจทางเศรษฐกิจใหม่ อาทิ บราซิล
รัสเซีย อินเดีย และจีน ส่งผลต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจใน
ภูมิภาคต่างๆการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลกที่ก่อ
ให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุน สินค้าและบริการ 	
4.  การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ส่งผลให้ประเทศไทยต้อง
พัฒนาการตลาดท่องเที่ยวเชิงรุกและเตรียมความพร้อมต่อ
การผันผวนของค่าเงิน การพัฒนาบุคลากรในการท่องเที่ยวให้
มีคุณภาพ การปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ
สถานการณ์และผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงที่เป็นความท้าทายต่อการท่อง
เที่ยวไทยในปัจจุบัน ..	
  2	
•  ผลกระทบด้านสังคม	
1.  การให้ความสนใจกับชุมชน มรดกทางวัฒนธรรม	
2.  การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสู่สังคมผู้สูงอายุ ส่งผล
ต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยว	
3.  นักท่องเที่ยวให้ความสําคัญกับคุณภาพของแหล่งท่องเที่ยวที่
ต้องปลอดภัย สะอาด มีการรักษา สภาพแวดล้อม และใช้
สื่อสารสนเทศในการท่องเที่ยวมากขึ้น 	
4.  รูปแบบของการท่องเที่ยวมีแนวโน้มท่องเที่ยวแบบอิสระ
สนใจการท่องเที่ยวเฉพาะทาง ..	
  การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
(Health	
  and	
  Wellness	
  Tourism)	
  การท่องเที่ยวแบบผจญภัย
(Adventure	
  Tourism)	
  การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sports	
  
Tourism)
5.	
  	
  กระแสโลกาภิวัตน์และวัฒนธรรมโลกที่เข้ามาในไทย การเปิด
การค้าเสรี ก่อให้เกิดการอพยพย้ายถิ่น การเคลื่อนย้ายแรงงาน ส่ง
ผลต่อวิถีชีวิตคนไทย ทั้งระดับครอบครัว ชุมชนและประเทศ ..	
  เกิด
การสูญหายของวัฒนธรรมพื้นถิ่น ..	
  ส่งผลต่อการท่องเที่ยวไทย
สถานการณ์และผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงที่เป็นความท้าทายต่อการท่อง
เที่ยวไทยในปัจจุบัน ..	
  3	
•  ผลกระทบด้านทรัพยากรธรรมชาติและการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 	
1.  สถานการณ์และแนวโน้มความเสื่อมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงขึ้น 	
2.  ปัญหามลพิษ อุณหภูมิโลกที่ร้อนขึ้น การกัดเซาะของชายฝั่ง
ภาวะภัยแล้ง และน้ําท่วม ส่งผลต่อความงดงาม และ
บรรยากาศของแหล่งท่องเที่ยว	
3.  ไทยต้องเตรียมพร้อมรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยการ
คํานึงถึงการท่องเที่ยวที่สะอาด (Green	
  Tourism)	
  การพัฒนา
มาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนพัฒนาบุคลากรที่
เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวในทุกระดับให้มีศักยภาพรองรับ
การเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานการเติบโตของการท่องเที่ยว
อย่างสมดุลและยั่งยืน
สถานการณ์และผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงที่เป็นความท้าทายต่อการท่อง
เที่ยวไทยในปัจจุบัน ..	
  4	
•  ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีแบบก้าว
กระโดด 	
1.  ภาคการท่องเที่ยวต้องปรับเตรียมความพร้อมให้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง โดยต้องบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ 	
2.  ต้องประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว 	
3.  เทคโนโลยีด้านการบินและการขยายตัวของกิจการสายการ
บินต้นทุนต่ํา ส่งเสริมให้เกิดการเดินทางบ่อยขึ้น และระยะ
เวลาในการพํานักของนักท่องเที่ยวแต่ละครั้งสั้นลง
สถานการณ์และผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงที่เป็นความท้าทายต่อการท่อง
เที่ยวไทยในปัจจุบัน ..	
  5	
•  ผลกระทบด้านภาพลักษณ์และความเชื่อมั่น 	
1.  ไทยประสบปัญหาภาวะวิกฤติต่างๆ โดยเฉพาะปัญหา
การเมืองภายในประเทศ การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่
สายพันธุ์ใหม่ ปัญหาจากอุทกภัยและวาตภัย ความ
เสื่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยว ความปลอดภัย และปัญหา
การก่อการร้ายใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 	
2.  สถานการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อภาพลักษณ์และความเชื่อมั่น
ของนักท่องเที่ยวต่อไทย 	
3.  เป็นเหตุให้นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดหลักเปลี่ยนจุดหมายไปยัง
แหล่งท่องเที่ยวในภูมิภาคอื่นๆ ส่งผลกระทบต่อจํานวนและ
รายได้จากการท่องเที่ยว
ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..
อุปสรรคการเชื่อมโยงกับภูมิภาค
ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (1)	
•  ผู้ประกอบการไทยขาดศักยภาพในการลงทุนในต่างประเทศรวมทั้งการลงทุน
ในประเทศเพื่อนบ้านและขาดความพร้อมต่อการแข่งขันเสรีภายในประเทศ 	
•  ขาดทักษะของผู้ประกอบการในการประกอบธุรกิจร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน 	
•  ขาดการรวมพลังในรูปแบบของสภาธุรกิจ และกรอบการหารือภาครัฐร่วมกับ
เอกชนอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเสนอแนวการลงทุนร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน
หรือรับข้อเสนอการร่วมลงทุน 	
•  ภาครัฐในพื้นที่ยังขาดศักยภาพในการเป็นผู้ประสานงานกับผู้ประกอบการ
ด้านการใช้ประโยชน์จากกรอบความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน 	
•  ขาดการกําหนดกรอบยุทธศาสตร์ภาพรวมในการลงทุนของผู้ประกอบการ
ไทยในประเทศเพื่อนบ้านที่มีบทบาทเชิงรุกและสามารถสร้างเสริมผล
ประโยชน์ของไทย พร้อมทั้งมีความรับผิดชอบทางสังคมในประเทศเพื่อนบ้าน
เพื่อความไว้เนื้อเชื่อใจและการพัฒนาร่วมกันที่ยั่งยืน 	
•  ขาดยุทธศาสตร์ภาพรวมอย่างมีบูรณาการ และแผนปฏิบัติการเชิงลึกในการ
ช่วยเหลือผู้ประกอบการ รวมทั้งเกษตรกรภายในประเทศที่ได้รับผลกระทบเชิง
ลบจากการแข่งขันเสรีในกรอบประชาคมอาเซียน
ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..
อุปสรรคการเชื่อมโยงกับภูมิภาค
ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (2)	
•  แรงงานไทยขาดการยอมรับในมาตรฐานฝีมือแรงงานและมีข้อจํากัดด้าน
ภาษาต่างประเทศรวมทั้งความรู้ความเข้าใจด้านขนบธรรมเนียมและ
วัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาค 	
•  ภาครัฐยังขาดการวางแผนงานด้านแรงงานร่วมกับประเทศที่เป็นตลาด
แรงงานไทย เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนร่วมกันส่งผลให้เกิดความเสียเปรียบใน
การเคลื่อนย้ายแรงงานและการลงทุนจากต่างประเทศ 	
•  ไทยขาดแคลนแรงงานมีทักษะฝีมือในสาขาที่มีความต้องการ และแม้ว่าจะมี
การรับรองข้อตกลงยอมรับร่วมคุณสมบัตินักวิชาชีพอาเซียน (ASEAN	
  Mutual	
  
Recogni@on	
  Arrangement)	
  ไปแล้ว ๗ สาขา (แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล
สถาปนิก วิศวกร ช่างสํารวจ และนักบัญชี และอยู่ระหว่างการดําเนินการ
รับรองในสาขาบริการท่องเที่ยว) แต่ยังจําเป็นต้องดําเนินการให้สามารถใช้
ประโยชน์จากมาตรฐานร่วมดังกล่าวได้อย่างเต็มที่ 	
•  ไทยยังต้องพึ่งพาแรงงานต่างด้าว แต่ยังขาดนโยบายที่ชัดเจนด้านการใช้
แรงงานต่างประเทศ สวัสดิการและการเคลื่อนย้ายแรงงาน และมีความล่าช้า
ในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจชายแดนและการวางแผนด้านการพัฒนาด้าน
แรงงานรองรับเขตเศรษฐกิจ
ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..
อุปสรรคการเชื่อมโยงกับภูมิภาค
ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (3)	
•  ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องขาดความรับรู้อย่างพอเพียงในการใช้ประโยชน์จาก
ความเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่งภายใต้แผนแม่บท
ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนและผลกระทบจากยุทธศาสตร์เชื่อมโยง
ระบบโลจิสติกส์ของมหาอํานาจในภูมิภาค 	
•  ขาดกลไกกลางในการบูรณาการแผนงานและโครงการในระดับพื้นที่ทําให้เสีย
โอกาสในการเชื่อมโยงระบบจากแนวพื้นที่เศรษฐกิจต่าง ๆ ในอนุภูมิภาค 	
–  แนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจเหนือ - ใต้ 	
–  แนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก 	
–  แนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต้ 	
–  การเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านระหว่างเมืองชายแดนสําคัญในกรอบ
GMS	
  และ IMT	
  –	
  GT	
  	
–  แผนงานพัฒนาโครงข่ายรถไฟความเร็วสูงของจีนในภูมิภาคเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้ 	
–  การพัฒนาท่าเรือยุทธศาสตร์ในอ่าวเบงกอลของจีนในพม่าและของ
อินเดีย
ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..
อุปสรรคการเชื่อมโยงกับภูมิภาค
ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (4)	
•  ความไม่แน่นอนทางการเมืองและความมั่นคงในประเทศเพื่อน
บ้าน 	
•  ประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศอยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านไปสู่
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ดีขึ้น รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลง
ด้านการเมืองเพื่อสร้างเสถียรภาพและความมั่นคงเพิ่มขึ้น จะ
ต้องอาศัยเวลาในการปรับตัวให้สอดคล้องกับโลกาภิวัตน์และ
เศรษฐกิจโลก 	
•  จําเป็นต้องติดตามพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศเพื่อนบ้านอย่างใกล้ชิด เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริม
เศรษฐกิจ การค้า และสังคมอย่างยั่งยืน
การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อ
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (1)	
•  กําหนดบทบาทและทิศทางการพัฒนาของประเทศที่กระตุ้นให้เกิด
การเติบโตและเชื่อมโยงของสาขาต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจ 	
•  ให้ความสําคัญต่อการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมและโลจิสติกส์
ระหว่างประเทศภายใต้แผนงานและโครงการที่ได้กําหนดไว้ใน
ปัจจุบัน รวมทั้งแผนงานและโครงการที่จะพัฒนาเพิ่มเติมในอนาคต 	
•  เปิดโอกาสให้มีการลงทุนพัฒนาจากต่างประเทศและภายใต้กรอบ
ความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้สามารถยกระดับให้
เป็นแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ (Economic	
  Corridor)	
  ที่เป็นเส้น
ทางการค้าและการลงทุนของอนุภูมิภาคได้อย่างเต็มศักยภาพ	
•  บูรณาการเชื่อมโยงทั้งในอนุภูมิภาคและระหว่างอนุภูมิภาค ตลอด
จนในกรอบอาเซียนภายใต้แผนแม่บทการเชื่อมโยงระหว่างกันใน
อาเซียน และพื้นที่ต่อเนื่องอื่น ๆ
การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อ
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (2)	
•  ใช้ศักยภาพความได้เปรียบของที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ และ
ศักยภาพของพื้นที่ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ เพื่อสร้างฐานการ
ผลิตให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก 	
•  การเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงของธุรกิจการแปรรูปอาหาร การท่อง
เที่ยว บริการทั้งด้านสุขภาพ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่สําคัญของ
ภูมิภาค โดยกําหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่ของประเทศให้
สอดคล้องกับโอกาสและศักยภาพการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ของแต่ละภูมิภาคต่อไป 	
•  สร้างความเชื่อมโยงในแต่ละกรอบความร่วมมือ พร้อมทั้งเปิด
โอกาสในการพัฒนาพื้นที่เมืองชายแดนตลอดต่อเนื่องถึงเมืองและ
ชุมชนศูนย์กลางในภูมิภาคที่สําคัญของประเทศ ซึ่งอยู่ในแนวเชื่อม
โยงระหว่างประเทศตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจต่าง ๆ ให้เกิดการกระ
จายความเจริญไปสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น
การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อ
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (3)	
•  สร้างความเข้มแข็งและการพัฒนาความสามารถในการปรับตัว
ของผู้ประกอบการไทย ให้ทันกับสถานการณ์การเชื่อมโยงระหว่าง
กันในภูมิภาคที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว 	
•  เพื่อเสริมสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและเพิ่มระดับความสามารถใน
การแข่งขันของประเทศไทยในเวทีระหว่างประเทศ 	
•  โดยเฉพาะในกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มจะมีบทบาทสูงใน
อนาคต เช่น เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป็นต้น โดยเน้นบทบาทของสภา
ธุรกิจ และกรอบการหารือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่
ของกรอบความร่วมมือ 	
•  ภาครัฐต้องให้การสนับสนุนในการพัฒนาผู้ประกอบการไทยและผู้
ประกอบการของประเทศเพื่อนบ้านในบริเวณพื้นที่การพัฒนาร่วม
การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อ
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (4)	
•  พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมืองชายแดนแบบมีสมดุลบน
พื้นฐานของการสร้างผลประโยชน์ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านและ
ความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน 	
•  บูรณาการด้านกิจกรรมทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านเป็นไป
ตามหลักวิเคราะห์ความได้เปรียบเปรียบเทียบระหว่างไทยกับ
ประเทศเพื่อนบ้านในด้านที่ตั้งทางยุทธศาสตร์ ประเภทการผลิต
และความใกล้ชิดกับแหล่งวัตถุดิบ แรงงานและท่าส่งออก 	
•  จัดสรรบทบาทหน้าที่ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภาคต่างๆอย่าง
เหมาะสม 	
•  พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านท่าส่งออกรองรับตามความเหมาะ
สมในปัจจุบัน และโอกาสในการพัฒนาต่อเนื่องในอนาคต 	
•  ไทยต้องให้การสนับสนุนประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาใน
ลักษณะหุ้นส่วนการพัฒนาที่มีความเสมอภาค
ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 1
การพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของไทย
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ข้อมูล ณ วันที่ 10 เม.ย. 58
ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 2
ประเด็นการบรรยาย
 กรอบแนวคิดการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ
 สิทธิประโยชน์
 กลไกการบริหาร/งบประมาณ

ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 3
เขตเศรษฐกิจพิเศษ : นิยาม วัตถุประสงค์ กลยุทธ์
บริเวณพื้นที่ที่ กนพ. กาหนดให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งรัฐจะสนับสนุน
โครงสร้างพื้นฐาน สิทธิประโยชน์ส่งเสริมการลงทุน การบริหารแรงงานต่างด้าว
แบบไป-กลับ การให้บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ และการอื่นที่จาเป็น
นิยาม
• ดึงดูด FDI เพิ่มขีดความสามารถของประเทศ กระจายความเจริญสู่ภูมิภาค
ลดความเหลื่อมล้า ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และแก้ปัญหาความมั่นคง
วัตถุประสงค์
• สร้างพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ เน้นบริเวณชายแดนสาหรับระยะแรก
โดยใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน
• สนับสนุน SMEs ไทยและการลงทุนต่อเนื่องของไทยในประเทศเพื่อนบ้าน
• จัดระเบียบพื้นที่เศรษฐกิจชายแดน แก้ปัญหาแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายและสินค้า
เกษตรลักลอบจากประเทศเพื่อนบ้าน
กลยุทธ์
ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 4
เขตเศรษฐกิจพิเศษ : กรอบแนวคิด“เขตเศรษฐกิจพิเศษ”ของไทย
เพิ่มความสามารถการแข่งขัน + ลดความเหลื่อมล้าการพัฒนา
+ เสริมสร้างความมั่นคง
กาหนด
ขอบเขตพื้นที่
SEZ
OSS
ใช้แรงงาน
ต่างด้าว
ศูนย์รวบรวมและ
รับซื้อสินค้า
เกษตร
ให้สิทธิ
ประโยชน์
โครงสร้าง
พื้นฐาน-ด่าน
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษระยะแรกในพื้นที่ชายแดนที่มีศักยภาพ
ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 5
ดาเนินงานภายใต้กรอบกฎหมายปัจจุบัน1
บทบาทแต่ละภาคส่วน
รัฐ - ให้สิทธิประโยชน์ จัดโครงสร้างพื้นฐาน ปรับกฎระเบียบ
เอกชน - ลงทุน
ประชาชน - มีส่วนร่วม และได้รับประโยชน์จากการพัฒนา
2
ไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สังคม
และความมั่นคง
3
มีความยืดหยุ่น สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์4
กาหนดพื้นที่ตามเขตปกครอง เพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการ5
เขตเศรษฐกิจพิเศษ : แนวทางดาเนินงาน
ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 6
ประเด็นการบรรยาย
 กรอบแนวคิดการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
 พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ
 สิทธิประโยชน์
 กลไกการบริหาร/งบประมาณ

ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 7
เขตเศรษฐกิจพิเศษ : พื้นที่ที่มีศักยภาพเหมาะสมในการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
พื้นที่ที่มีศักยภาพเหมาะสมในการจัดตั้งเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษ ระยะที่ 1 และ 2 ทั้ง 10 จังหวัด ล้วนเป็นพื้นที่ชายแดน
บนแนวระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง (GMS Economic
Corridors) ซึ่งสามารถเข้าถึงปัจจัยการผลิตในพื้นที่ใกล้เคียงและเขต
เศรษฐกิจ รวมทั้งฐานการผลิตของประเทศเพื่อนบ้าน และเป็นการเตรียม
ความพร้อมของประเทศไทยในการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (AEC) โดยแนวทางการพัฒนาสาหรับพื้นที่เป้าหมาย
แต่ละแห่ง พิจารณาจากปัจจัยต่างๆ ดังนี้
1.ศักยภาพ ขีดความสามารถในการแข่งขัน
2.โอกาส
3.ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐาน
4.ปัจจัยการผลิตในพื้นที่
5.ลักษณะและมูลค่าการค้าชายแดน
6.แนวทางการพัฒนาพื้นที่ของ
ประเทศเพื่อนบ้าน
7.ปัญหา/ข้อจากัดในการพัฒนา
ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 8
แม่สอด จ.ตาก1
อ.สะเดา จ.สงขลา2
อรัญประเทศ จ.สระแก้ว4
ในส่วน ของ 5 พื้น ที่
ชายแดน ที่ได้รับพิจารณาเป็น
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ระยะแรกนั้น ให้ดาเนินการ
ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2557 เป็น
ต้นไป โดยปรับแผนงานของ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ
เตรียมงบประมาณประจาปี
2558 เป็นลาดับแรก
ทั้ ง นี้ ใ ห้ ส า ม า ร ถ
ดาเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม
ภายในปี 2558
ชายแดน จ.มุกดาหาร3
ชายแดน จ.ตราด5
ขอบเขตพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ : ประกาศเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2558
27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th 16
แม่สอด
ย่างกุ้ง เมียวดี
เมาะละแหม่ง
EWEC
การเชื่อมโยงระดับภูมิภาค
• เป็นประตูฝั่งตะวันตกของไทยบนแนวระเบียง
เศรษฐกิจ EWEC
• เชื่อมตรงกับเขตเศรษฐกิจชายแดนเมียวดี
สามารถเชื่อมต่อสู่ท่าเรือเมาะละแหม่ง และ
กรุงย่างกุ้งของเมียนมาร์
ศักยภาพ แนวทางการพัฒนา
• มีฐานการลงทุนเดิมในพื้นที่ แรงงานพร้อม 
อุตสาหกรรมใช้แรงงานเข้มข้น เช่น สิ่งทอ
• อุตสาหกรรมสินค้าเกษตรแปรรูป เฟอร์นิเจอร์
• การใช้ประโยชน์พื้นที่เพื่อจัดตั้งคลังสินค้า
พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่ศุลกากร 
ศูนย์โลจิสติกส์
ปัญหา ข้อจากัด
• การจราจรแออัดบริเวณ
ด่านพรมแดน
• การลักลอบขนสินค้าข้าม
แดนผิดกฎหมาย
• ขาดการวางแผนพัฒนา
เมืองอย่างเป็นระบบ
• ปัญหาสังคมด้านต่างๆ
จากแรงงานต่างด้าว
• เส้นทางแม่สอด-ตาก
มีความคดเคี้ยว-ชัน
• เส้นทางถนนในเมียนมาร์
ยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
มูลค่าการค้าชายแดนด่านแม่สอดปี 2556 : ประมาณ 46,308.94 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี 52-56 : ร้อยละ 19.6 ต่อปี
EWEC
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
• ขยายถนน 4 เลน
(เส้นทางตาก-แม่สอด)
• สะพานข้ามแม่น้าเมยแห่งที่ 2
• การพัฒนาสนามบินแม่สอด
3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - แม่สอด จ.ตาก
27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th 17
3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - บทบาทพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจแม่สอด (คู่ขนานกับเขตเศรษฐกิจเมียวดี)
เขตพัฒนาเศรษฐกิจแม่สอด จ.ตาก เขตเศรษฐกิจเมียวดี เมียนมาร์
• เขตเศรษฐกิจพิเศษ-เขตอุตสาหกรรมชายแดน :
- อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น
- การแปรรูปสินค้าเกษตร
• พื้นที่อานวยความสะดวกในการขนส่งสินค้า
ข้ามแดน/คลังสินค้า/ผู้ให้บริการโลจิกติกส์
• ตลาดการค้าชายแดน
• สิ่งอานวยความสะดวกในการท่องเที่ยว
(โรงแรม บริษัทนาเที่ยว)
• สถาบันการเงิน
• ศูนย์กระจายสินค้า
(Distribution Center)
• พื้นที่เกษตรกรรม
• นิคมอุตสาหกรรม และการพาณิชย์
(ข้อมูลอยู่ระหว่างการศึกษา โครงการศึกษาเพื่อวางยุทธศาสตร์การพัฒนา ระดับประเทศและระดับพื้นที่)
27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th 18
มุกดาหารย่างกุ้ง เมียวดี
เมาะละแหม่ง
EWEC
การเชื่อมโยงระดับภูมิภาค
• ประตูฝั่งตะวันออกของไทยบนแนว EWEC
• มีสะพานมิตรภาพไทย-ลาว เชื่อมสู่สปป.ลาว
ผ่านเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน สามารถ
เชื่อมต่อสู่ท่าเรือดานังของเวียดนาม หรือขึ้นสู่
จีนตอนใต้ (หนานหนิง)
ศักยภาพ แนวทางการพัฒนา
• ฐานการผลิตอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
• การค้าส่ง  พื้นที่ค้าส่ง ศูนย์กระจายสินค้า
• การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ  พัฒนาพื้นที่
ศุลกากร การใช้ประโยชน์พื้นที่เพื่อจัดตั้ง
คลังสินค้า ศูนย์โลจิสติกส์
• การท่องเที่ยวข้ามแดน
ปัญหา ข้อจากัด
• โครงข่ายเส้นทาง
คมนาคมเชื่อมโยงกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน
ยังไม่ได้รับการปรับปรุง
• อยู่ห่างจากท่าเรือ (520
กม.) การขนส่งผ่าน
ท่าเรือดานังมีต้นทุนสูง
ใช้เวลานาน
• ขาดการวางแผนพัฒนา
เมืองอย่างเป็นระบบ
• การขยายทางหลวง
(หมายเลข 12)
• การพัฒนาระบบรถไฟรางคู่
ระยะทาง 336 กม.
(สาย บ้านไผ่–มหาสารคาม–
ร้อยเอ็ด–มุกดาหาร–นครพนม)
มูลค่าการค้าชายแดนปี 2556 : ประมาณ 30,441.5 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี 52-56 : ร้อยละ 20.1 ต่อปี
EWEC
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - จ.มุกดาหาร
27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th 19
การเชื่อมโยงระดับภูมิภาค
• ประตูฝั่งตะวันออกของไทยบนแนว SEC
• เชื่อมต่อสู่กัมพูชา ซึ่งมีเขตเศรษฐกิจพิเศษปอย
เปต-โอเนียง Sanco-Poipet เสียมเรียบ และ
เมืองศรีโสภณ โดยสามารถเชื่อมต่อออกสู่ทะเล
ผ่านท่าเรือของเวียดนาม
ศักยภาพ แนวทางการพัฒนา
• พื้นที่ค้าส่ง-ค้าปลีก
• ฐานการผลิตอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร
• การขนส่งต่อเนื่อง  คลังสินค้าระหว่างประเทศ
• มีคณะทางานร่วมไทย-กัมพูชาเพื่อจัดตั้งเขต
เศรษฐกิจพิเศษ
ปัญหา ข้อจากัด
• การจราจรบริเวณด่าน
พรมแดนแออัด
• โครงข่ายเส้นทาง
คมนาคมในประเทศเพื่อน
บ้านไม่สะดวก
• ปัญหาสังคม เช่น
แรงงานผิดกฎหมาย
ยาเสพติดการค้ามนุษย์
• ปัญหาความมั่นคง การ
แบ่งเขตพรมแดน
• ขยายทางหลวง 4 เลน
(สาย 304 อ.สารคาม บรรจบกับ
สาย 33 สระแก้ว 27.7 กม.)
(สาย 33 ท่าข้าม บรรจบกับ
สาย 3511 หนองเอียน 12 กม.)
• ขยายเส้นทางอรัญ-ชายแดน
เป็น 4 เลน ระยะ 22 กม.
อรัญประเทศทวาย
เสียมเรียบ
ปอยเปต
SEC
มูลค่าการค้าชายแดนปี 2556 : ประมาณ 59,651.6 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี 52-56 : ร้อยละ 28.2 ต่อปี
SEC
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - อรัญประเทศ จ.สระแก้ว
27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th 20
การเชื่อมโยงระดับภูมิภาค
• ประตูฝั่งตะวันออกของไทยบนแนว Southern
Coastal Road Corridor / SubCorridor)
• เชื่อมต่อเขตเศรษฐกิจพิเศษเกาะกง ของกัมพูชา
สามารถเชื่อมเข้าถึงท่าเรือสีหนุวิลล์ (233 กม.)
และท่าเรือแหลมฉบัง (230 กม.)
ศักยภาพ แนวทางการพัฒนา
• พื้นที่ท่องเที่ยว  การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
• การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ  คลังสินค้า
ศูนย์โลจิสติกส์
• การค้าชายแดน  พื้นที่การค้าชายแดนปลอดภาษี
• มีคณะทางานร่วมไทย-กัมพูชาเพื่อจัดตั้งเขต
เศรษฐกิจพิเศษ
ปัญหา ข้อจากัด
• เศรษฐกิจมีขนาดเล็ก
• ขาดแคลนแรงงานใน
พื้นที่
• ขาดการวางแผนพัฒนา
เมืองอย่างเป็นระบบ
ตราด
ทวาย
เสียมเรียบ
ปอยเปต
SCRC เกาะกง
มูลค่าการค้าชายแดนปี 2556 : ประมาณ 26,825.81 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี 52-56 : ร้อยละ 10.5 ต่อปี
SEC
SCRC
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
• การขยายทางหลวง 4 เลน
(สาย 3 ตราด-หาดเล็ก 35 กม.)
• พัฒนารถไฟ
สาย แหลมฉบัง-มาบตาพุด
• ท่าเทียบเรือคลองใหญ่
3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - จ.ตราด
21
การเชื่อมโยงระดับภูมิภาค
• ประตูทางใต้ของไทยบนแนว NSEC
• เป็นช่องทางขนส่งหลักทางถนนและ
ราง เชื่อมต่อกับมาเลเซีย สู่สิงคโปร์
• ใกล้ท่าเรือปีนังและท่าเรือกลางของ
มาเลเซีย
• อยู่ใกล้พื้นที่อุตสาหกรรมหนัก อุตฯ
ยางพารา อุตฯฮาลาล ของมาเลเซีย
ศักยภาพ แนวทางการพัฒนา
• พื้นที่ต่อขยายนิคมอุตสาหกรรมรองรับ
อุตสาหกรรมเชื่อมโยงเพื่อการส่งออก
• มีถนนและระบบรางเชื่อมโยงชายแดน
• มีคณะทางานร่วมไทย-มาเลเซีย
ด่านปาดังเบซาร์  การขนส่งต่อเนื่อง
ยางพารา อาหารฮาลาล
ด่านสะเดา  ยางพารา อาหารทะเล
ปัญหา ข้อจากัด
• พื้นที่/การจราจรแออัด
• ขาดแคลนแรงงาน
• สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม
• ขาดการบริหารจัดการ
ตลาดสินค้าเกษตรครบ
วงจร
• การวางแผนพัฒนาเมือง
ปาดังเบซาร์
สะเดา
ด่าน
สะเดา
ด่าน
ปาดังเบซาร์
มูลค่าการค้าชายแดนปี 2556 : ด่านสะเดา 330,022.68 ล้านบาท
ด่านปาดังเบซาร์ 163,308.62 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี 52-56 : ด่านสะเดา ร้อยละ 9.1 ต่อปี
ด่านปาดังเบซาร์ ร้อยละ 6.2 ต่อปี
• ถนนมอเตอร์เวย์ สาย
หาดใหญ่-ชายแดน
• พัฒนารถไฟรางคู่
เส้นทาง หาดใหญ่ –
ปาดังเบซาร์
• การก่อสร้างท่าเรือ
(ท่าเรือสงขลา)
NSEC
27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th
การพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐาน
3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - อ.สะเดา จ.สงขลา
21
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i
Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i

Contenu connexe

Tendances

Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandPattie Pattie
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...พัฒนาชุมชน นครราชสีมา
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 
20160122 ratchakitcha-12
20160122 ratchakitcha-1220160122 ratchakitcha-12
20160122 ratchakitcha-12Invest Ment
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 

Tendances (12)

Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
คู่มือการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรชนบทและด้า...
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
นโยบาายและแผน
นโยบาายและแผนนโยบาายและแผน
นโยบาายและแผน
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
20160122 ratchakitcha-12
20160122 ratchakitcha-1220160122 ratchakitcha-12
20160122 ratchakitcha-12
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 

En vedette

1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืนWatcharin Chongkonsatit
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)
การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)
การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)Chacrit Sitdhiwej
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนsiep
 

En vedette (8)

1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
Summary plan1 11
Summary plan1 11Summary plan1 11
Summary plan1 11
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)
การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)
การพิจารณาด้านเนื้อหาของร่างกฎหมาย (ด้านสิ่งแวดล้อม)
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
 

Similaire à Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
SufficiencyeconomyIct Krutao
 
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาลภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาลสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญnophon
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญnophon
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญnophon
 
27มค
27มค27มค
27มคohmchit
 
27มค
27มค27มค
27มคohmchit
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 

Similaire à Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i (20)

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
Sufficiencyeconomy
 
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาลภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
 
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้มโรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
 
183356
183356183356
183356
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
3 23-6-53
3 23-6-533 23-6-53
3 23-6-53
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
7532
75327532
7532
 
27มค
27มค27มค
27มค
 
27มค
27มค27มค
27มค
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 

Plus de Silpakorn University

The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...Silpakorn University
 
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Silpakorn University
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4Silpakorn University
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Silpakorn University
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015Silpakorn University
 

Plus de Silpakorn University (9)

The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
 
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
 

Strategic Destination Marketing Presentation Sem 1_2015 part i

  • 1. วันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม 2558 เวลา 14.00 – 16.30 น. บรรยายโดย: ดร. สมนึก จงมีวศิน (อาจารย์ เขียว)
  • 2. การประเมินผล • สอบกลางภาค 30 % • สอบปลายภาค 35 % • รายงาน 30 % • การเข้าชั้นเรียน 5 %
  • 3. แผนฯ 1 04-09 แผนฯ 2 10-14 แผนฯ 3 15-19 แผนฯ 4 20-24 แผนฯ 5 25-29 แผนฯ 6 30-34 แผนฯ 7 35-39 แผนฯ 8 40-44 แผนฯ 9 45-49 แผนฯ10 50-54 ภาพรวมการพัฒนาประเทศในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-10 วางแผนจากส่วนกลาง-บนลงล่าง วางแผนจากบนลงล่างและล่างขึ้นบน ยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คนเป็นศูนย์กลาง การมีส่วนร่วม พัฒนาอย่างยั่งยืน เน้นเสถียรภาพเศรษฐกิจ มุ่งพัฒนาภูมิภาคชนบท เน้นพัฒนาเศรษฐกิจ ควบคู่กับพัฒนาสังคม เน้นการเติบโต ทางเศรษฐกิจ ด้วยการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน แผนรายโครงการ แผนเฉพาะสาขา แผนพัฒนาสหสาขา แผนแม่บท (Comprehensive Plan) แผนกลยุทธ์ 4www.nesdb.go.th
  • 4. ผลการพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 คุณภาพคน • จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้น • คะแนนผลสัมฤทธิ์รวมลดลง • จานวนผู้ป่วย 5 โรคที่สาคัญเพิ่มขึ้น • จานวนนักวิจัยยังคงต่ากว่าเป้าหมาย ชุมชน • แผนชุมชนมากกว่าร้อยละ 70 อยู่ในระดับดีเลิศ • การเข้าถึงแหล่งเงินทุนระดับชุมชนเพิ่มสูงขึ้น • ชุมชนที่มีการดูแลสวัสดิการในระดับดีเลิศมีเพียง ร้อยละ 26 3 เศรษฐกิจ • อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยต่ากว่าเป้าหมาย • สัดส่วนการส่งออกเพิ่มสูงขึ้นตามเป้าหมาย • อัตราการออมเพิ่มสูงขึ้นแต่ยังคงต่ากว่าเป้าหมาย • พื้นที่ป่าไม้ เพิ่มสูงขึ้นกว่าเป้าหมาย • พื้นที่ชลประทานเพิ่มสูงกว่าเป้าหมาย • อัตราการปล่อยCO2สูงกว่าค่าเฉลี่ยของในภูมิภาค • การ Recycle ยังคงต่ากว่าเป้าหมาย 4 สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล • ภาพลักษณ์การคอร์รัปชั่นเฉลี่ยทรงตัวเท่ากับ ในช่วง แผนฯ 9 • ธรรมาภิบาลของภาคเอกชน ดีขึ้นต่อเนื่อง • ดัชนีสังคมประชาธิปไตยที่มีธรรมาภิบาลปรับ ลดลง 1 2 5 5www.nesdb.go.th
  • 5. 7.9 7.2 6.6 7.1 5.4 10.9 8.1 -0.1 5.7 2.6 4.7 -2 0 2 4 6 8 10 12 แผนฯ 1 แผนฯ 2 แผนฯ 3 แผนฯ 4 แผนฯ 5 แผนฯ 6 แผนฯ 7 แผนฯ 8 แผนฯ 9 แผนฯ 10 2 ปีแรกแผน ฯ 11 6 อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย แผนฯ2 (2509-2514) แผนฯ1 (2504-2509) 2ปีแรก แผนฯ11 (2555-2556) แผนฯ3 (2505-2519) แผนฯ4 (2520-2524) แผนฯ5 (2525-2529) แผนฯ6 (25230-2534) แผนฯ7 (25235-2539) แผนฯ8 (25240-2544) แผนฯ9 (25245-2549) แผนฯ10 (25250-2554) ร้อยละ ที่มา: สศช. www.nesdb.go.th
  • 6. ดัชนีความอยู่เย็นเป็นสุข ปี 2549-2555 องค์ประกอบย่อย แผนฯ 9 แผนฯ 10 แผนฯ 11 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 1. การมีสุขภาวะ 71.21 70.42 72.23 70.28 70.02 72.11 72.03 2. ครอบครัวอบอุ่น 62.24 61.65 63.97 63.18 63.08 65.17 68.31 3. ชุมชนเข้มแข็ง 33.74 46.38 55.73 60.89 66.07 76.47 81.00 4. เศรษฐกิจเข้มแข็งและเป็นธรรม 69.92 74.22 70.58 71.58 76.92 76.73 80.10 5. สภาพแวดล้อม และระบบนิเวศสมดุล 69.77 64.18 66.96 64.17 63.23 69.85 64.69 6. สังคมประชาธิปไตยที่มีธรรมาภิบาล 75.42 70.45 74.95 60.37 55.70 53.75 55.56 ภาพรวมดัชนีความอยู่เย็นเป็นสุข 66.33 65.76 67.97 65.37 66.49 69.87 71.36 หมายเหตุ: คะแนน >90-100=พัฒนาระดับดีมาก >80-89.9=พัฒนาระดับดี >70-79.9=พัฒนาระดับปานกลาง >60-69.9=ต้องปรับปรุง ต่ากว่า 60= ต้องเร่งแก้ไข 7www.nesdb.go.th
  • 7. บริบทการเปลี่ยนแปลงในระดับโลกในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 กฎ กติกาใหม่ของโลกในการบริหาร จัดการด้านเศรษฐกิจและสังคมโลก เช่น การค้า การลงทุน การเงิน สิ่งแวดล้อม และสิทธิมนุษยชน • การเคลื่อนย้ายเงินทุน/สินค้า/แรงงานระหว่างประเทศคล่องตัวมากขึ้น • การจากัดสินค้าจากประเทศกาลังพัฒนาเข้าไปจาหน่ายในตลาดประเทศ พัฒนาแล้ว • ประเทศกาลังพัฒนามีภาระมากขึ้นจากการใช้มาตรการกีดกันทางการค้า และมาตรการทางด้านการละเมิดสิทธิเด็ก สตรี การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบ หลายศูนย์กลางรวมทั้งเอเชีย • เศรษฐกิจเอเชียจะขยายตัวร้อยละ 6-7 ต่อปี (โลกร้อยละ 4-5 ต่อปี) • โครงสร้างตลาดส่งออกของไทยกระจายตัวมากขึ้น • เกิดชนชั้นกลางที่มีกาลังซื้อและความต้องการบริโภคสินค้ามากขึ้น เกิดการ แย่งชิงทรัพยากรการผลิต การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของโลก อย่างต่อเนื่อง • เกิดการย้ายถิ่นของแรงงานข้ามชาติเพิ่มขึ้น • โครงสร้างการผลิตเปลี่ยนจากการใช้แรงงานเข้มข้นมาเป็นการใช้องค์ความรู้ และเทคโนโลยีมากขึ้น • โครงสร้างใช้จ่ายงบประมาณเปลี่ยนแปลงไปเน้นด้านสุขภาพมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ก่อให้เกิดความเสียหายหลายด้าน • ส่งผลให้อากาศแปรปรวนกระทบต่อการเกิดภัยพิบัติธรรมชาติรุนแรง เกิด การขาดแคลนน้า เกิดโรคระบาดเพิ่มขึ้น • ผลผลิตเกษตรของโลกและความมั่นคงทางอาหารได้รับผลกระทบ • เกิดปัญหาความยากจน การอพยพย้ายถิ่น และการแย่งชิงทรัพยากร • จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้พลังงานไปสู่พลังงานทางเลือกมากขึ้น • เกิดความขัดแย้งระหว่างการเพาะปลูกพืชอาหารและพืชพลังงาน ความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน จะเป็นปัญหาสาคัญในอนาคต ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมี บทบาทสาคัญต่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม • โครงสร้างเศรษฐกิจที่จะปรับตัวสู่ภาคบริการเพิ่มขึ้น • การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการด้านการเงิน การผลิต • การพัฒนาศักยภาพของสมองและสุขภาพของมนุษย์ • เป็นภัยคุกคามจากการใช้สื่อในการจารกรรมการเผยแพร่ข้อมูลเท็จ การก่อการร้ายสากลมีแนวโน้ม ขยายไปทั่วโลก • ส่งผลกระทบต่อความมั่นคง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ ประเทศ 9www.nesdb.go.th
  • 9. ทิศทางการพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-11 เน้นการใช้แรงงานและ ทรัพยากรธรรมชาติ การเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจที่ขาดสมดุล แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 - 7 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 - 10 มุ่งสู่เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เน้นการพัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital) แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ใช้ทุนมนุษย์ + เทคโนโลยีและ นวัตกรรม + ความปรองดอง เน้นย้าเศรษฐกิจพอเพียง ความสมดุลและยั่งยืน 11www.nesdb.go.th
  • 10. กรอบแนวคิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ..  1 •  แนวคิดต่อเนื่องจากแผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ ๘ - ๑๐ •  ยึดหลักการปฏิบัติตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” •  ขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุก ภาคส่วน ทุกระดับ •  ยึดแนวคิดการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มี “คน เป็นศูนย์กลางการพัฒนา” •  เน้น มิติตัวคน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และการเมือง •  สร้างภูมิคุ้มกันให้พร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้ง ในระดับปัจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ •  ให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ในกระบวนการพัฒนาประเทศ
  • 11. กรอบแนวคิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ..  2 •  ให้ความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศ •  เน้นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของฐานการผลิตภาค เกษตรและการประกอบการของวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม •  ปรับตัวในการเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกและภูมิภาค ซึ่ไทยมีพันธกรณีภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆ •  ใช้โอกาสที่เกิดขึ้นและเพิ่มภูมิคุ้มกันของทุนที่มีอยู่ในสังคม ไทยอย่างเหมาะสม เพื่อก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ •  เชื่อมโยงด้านกายภาพทั้งโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิ สติกส์ •  ยกระดับคุณภาพคน การเสริมสร้างองค์ความรู้ การพัฒนา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ เป็นพลังขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย
  • 12. การจัดทาแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ...ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สร้างสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ และขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ .. โดยมีการวิเคราะห์อย่าง “มีเหตุผล” และใช้หลัก “ความพอประมาณ” ให้เกิดความสมดุล...เตรียม “ระบบภูมิคุ้มกัน” ด้วยการบริหารจัดการความเสี่ยงให้เพียงพอพร้อมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายนอกและภายในประเทศ... ๒ 12www.nesdb.go.th
  • 13. เจาะลึก หลักการสําคัญของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ..  1 •  พัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน •  เสริมสร้างทุนสังคม (ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนทางวัฒนธรรม) พัฒนาคนและสังคมไทยสู่สังคมคุณภาพ มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันตั้งแต่ ระดับปัจเจก ครอบครัว และชุมชน •  สามารถจัดการความเสี่ยง และปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง •  มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและได้รับประโยชน์จากการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นธรรม •  เสริมสร้างทุนเศรษฐกิจ (ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน) มุ่งพัฒนา เศรษฐกิจภายในประเทศให้เข้มแข็ง •  ใช้ภูมิปัญญาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และความคิด สร้างสรรค์ •  ให้ความสําคัญกับการปรับโครงสร้างการค้าและการลงทุนให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดภายในประเทศและต่าง ประเทศ
  • 14. เจาะลึก หลักการสําคัญของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ..  2 •  เชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ บนพื้นฐานการ พึ่งพาซึ่งกันและกัน •  เสริมสร้างทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม •  สร้างความมั่นคงด้านอาหาร บริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เป็นฐานการผลิต ภาคเกษตร •  มุ่งสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ํา และเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม •  เตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ และภัยพิบัติทางธรรมชาติ •  สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อม •  เพิ่มบทบาทไทยในเวทีประชาคมโลก
  • 15. เจาะลึก หลักการสําคัญของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ .. 3 •  บริหารจัดการประเทศเพื่อสร้างความเป็นธรรมในสังคม •  พัฒนาระบบราชการและข้าราชการโดยยึดหลักธร รมาภิบาล •  เพิ่มประสิทธิภาพการกระจายอํานาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น •  พัฒนาระบบและกลไกการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างมีส่วนร่วม •  ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสเข้าถึง กระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม •  สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร •  ปลูกจิตสํานึก ค่านิยมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล แก่ประชาชน
  • 16. วิสัยทัศน์ประเทศไทย ปีพ.ศ. ๒๕๗๐ •  คนไทยภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรีบน วิถีชีวิตแห่งความพอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรม ประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล การบริการ สาธารณะขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง มีคุณภาพสังคมมี ความปลอดภัยและมั่นคง อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ดี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิต เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงด้านอาหาร และพลังงาน อยู่บนฐานทางเศรษฐกิจที่พึ่งตนเอง และแข่งขันได้ในเวทีโลก สามารถอยู่ในประชาคม ภูมิภาคและโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี
  • 17. วิสัยทัศน์ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความ สุข ด้วยความเสมอภาค เป็น ธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการ เปลี่ยนแปลง”
  • 18. พันธกิจ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ..  1 •  สร้างสังคมเป็นธรรมและเป็นสังคมที่มีคุณภาพ ทุกคนมีความมั่นคงในชีวิต ได้รับการคุ้มครอง ทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มี โอกาสเข้าถึงทรัพยากรและกระบวนการยุติธรรม อย่างเสมอภาค ทุกภาคส่วนได้รับการเสริมพลัง ให้สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา ภาย ใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่งใส เป็นธรรม •  พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีคุณธรรม เรียนรู้ตลอด ชีวิต มีทักษะและการดํารงชีวิตอย่างเหมาะสมใน แต่ละช่วงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนท้องถิ่น มีความเข้มแข็ง สามารถปรับตัวรู้เท่าทันกับการ เปลี่ยนแปลง
  • 19. พันธกิจ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ..  2 •  พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมี คุณภาพบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และ ภูมิปัญญา สร้างความมั่นคงด้านอาหารและ พลังงาน ปรับโครงสร้างการผลิตและการบริโภค ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พร้อมสร้างความเชื่อม โยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทาง เศรษฐกิจและสังคม •  สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ชุมชน รวมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับผลกระ ทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัย พิบัติทางธรรมชาติ
  • 20. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ในแผนพัฒนา ฉบับที่ ๑๑ •  ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม   •  ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอด ชีวิตอย่างยั่งยืน   •  ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของ อาหารและพลังงาน   •  ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ สู่การเติบโต อย่างมีคุณภาพและยั่งยืน   •  ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศใน ภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม   •  ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมอย่างยั่งยืน  
  • 21. วิสัยทัศน์และเป้าหมายแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11  ความอยู่เย็นเป็นสุขของคนในสังคมและความสงบสุขของสังคมไทยเพิ่มขึ้น ความเหลื่อมล้าในสังคมลดลง และภาพลักษณ์การทุจริตคอร์รัปชั่นดีขึ้น  คนไทยมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีสุขภาวะที่ดีขึ้น และสถาบันทางสังคมมีความ เข้มแข็งมากขึ้น  เศรษฐกิจเติบโตในอัตราที่เหมาะสม ตามศักยภาพของประเทศ  ผลิตภาพการผลิตรวมสูงขึ้นเฉลี่ยไม่ต่ากว่าร้อยละ 3 ต่อปี  เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ  เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ของ SMEs ต่อ GDP ให้มีสัดส่วนไม่ต่ากว่าร้อยละ 40  วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และการวิจัยมีบทบาทมากขึ้นในการสร้างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยตั้งเป้าหมายการลงทุนในการค้นคว้าวิจัยต่อ GDP ของประเทศต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 1 ภายในปี 2559  คุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มประสิทธิภาพการลด ปริมาณ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมทั้งเพิ่มพื้นที่ป่าไม้เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ วิสัยทัศน์ : เป้าหมาย : ๑๐ “ สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง ” 13www.nesdb.go.th
  • 22. ภาพรวมยุทธศาสตร์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 การสร้างคนและสังคมคุณภาพ แผนฯ 11 การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ธรรมาภิบาล และการขับเคลื่อนแผนฯ 11 • การสร้างความเป็นธรรมในสังคม (ยุทธศาสตร์ที่ 1) • การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ (ยุทธศาสตร์ที่ 2) • การสร้างความเข้มแข็งของภาคเกษตรและความมั่นคงทาง อาหารและพลังงาน (ยุทธศาสตร์ที่ 3) • การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและ ยั่งยืน (แนวทางการพัฒนา วทน.) (ยุทธศาสตร์ที่ 4) • การเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค (ยุทธศาสตร์ที่ 5) • การเตรียมการรองรับความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ และสภาพแวดล้อม และการสังคมคาร์บอนต่าและเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม (ยุทธศาสตร์ที่ 6) 14www.nesdb.go.th
  • 23. ความล้มเหลวจากการพัฒนาประเทศ ในอดีต •  โครงสร้างเศรษฐกิจของไทยไม่สามารถรองรับการ เจริญเติบโตได้อย่างยั่งยืน ยังต้องพึ่งพิงและเผชิญ กับการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยภายนอกประเทศ มากขึ้นตามลําดับ •  ระบบเศรษฐกิจของไทยยังมีความอ่อนแอด้าน ปัจจัยสนับสนุนในส่วนของวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี •  คุณภาพการให้บริการของโครงสร้างพื้นฐาน กฎหมาย กฎและระเบียบทางเศรษฐกิจที่ไม่เอื้อต่อ การจัดระบบการแข่งขันที่เป็นธรรมและเหมาะสม กับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
  • 24. ความท้าทายที่รออยู่ ในอนาคต •  การพัฒนาต่อไปนี้จะต้องให้ความสําคัญกับการ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่มี คุณภาพและยั่งยืน •  ใช้ปัญญา ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ความคิดสร้างสรรค์ เป็นพื้นฐานสําคัญในการ ขับเคลื่อน •  สร้างปัจจัยสนับสนุนที่เอื้ออํานวยและมี บรรยากาศในการแข่งขันที่เป็นธรรม •  ใช้โอกาสจากปัจจัยภายนอกให้เกิดประโยชน์ กับประเทศได้อย่างเหมาะสม •  สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้เกิดขึ้นจาก ปัจจัยภายในประเทศเป็นสําคัญ
  • 25. การขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาสาคัญในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 สังคม มั่งคง สังคม สีเขียว สังคม วัฒนธรรม ยุทธศาสตร์แผนฯ 11 ประเด็นการพัฒนาสาคัญ 9 ข้อภายใต้แผนฯ 11 การพัฒนาคนเพื่อ เสริมสร้างทุนทาง ปัญญาอย่างยั่งยืน การสร้างความมั่นคง ทางเศรษฐกิจและสังคม ให้ทุกคนในสังคมไทย การเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน ภาคประชาสังคมและ ธุรกิจเอกชน การพัฒนาปัจจัย สนับสนุนที่เอื้อต่อการ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ การส่งเสริมความร่วมมืออย่าง เป็นหุ้นส่วนการพัฒนาทั้งใน ระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาค การเตรียมความพร้อม ของไทยเข้าสู่ประชาคม อาเซียน การบริหารจัดการน้า ป่าไม้และที่ดินเพื่อ ความมั่นคงด้านอาหาร การยกระดับขีดความสามารถ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และภัยพิบัติ การบริหารจัดการ ประเทศเพื่อสร้างความ เป็นธรรมในสังคม การสร้างความเป็นธรรมฯ การพัฒนาคนและสังคมฯ ความเข้มแข็งภาคเกษตรฯ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฯ การเชื่อมโยงภูมิภาคฯ การจัดการทรัพยากรฯ จุดมุ่งหมาย สร้าง 3 สังคม แนวทาง การพัฒนา ประเด็นที่ต้อง ดาเนินการ แปลงสู่การปฏิบัติ ติดตาม ประเมินผล ติดตาม ประเมินผล แปลงสู่การปฏิบัติ 17www.nesdb.go.th
  • 26. การสร้างกลยุทธ์การแข่งขันการท่องเที่ยว ไทยที่บรรจุอยู่ในแผนพัฒนา ฉบับที่ ๑๑ •  การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม •  การปรับโครงสร้างภาคบริการ ให้สามารถสร้าง มูลค่าเพิ่มกับสาขาบริการที่มีศักยภาพและเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมบนฐานความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
  • 27. การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม •  พัฒนาฐานลงทุนโดยเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันระดับอนุภูมิภาค •  มุ่งพัฒนาพื้นที่ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศให้ เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ •  ให้เป็นฐานการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม การเกษตร และการท่องเที่ยว พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและ เมืองชายแดน •  บูรณาการแผนพัฒนาพื้นที่เชื่อมโยงกับประเทศ เพื่อนบ้าน ให้บรรลุประโยชน์ร่วมกันทั้งด้านความ มั่นคงและเสถียรภาพของพื้นที่
  • 28. การปรับโครงสร้างภาคบริการให้สามารถสร้างมูลค่า เพิ่มกับสาขาบริการที่มีศักยภาพและเป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้อมบนฐานความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม •  เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ บริการที่มีศักยภาพสู่ธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ •  สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมให้กับ ธุรกิจ •  ส่งเสริมการใช้องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในการ พัฒนาสินค้าและบริการ •  ส่งเสริมการลงทุนในธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ โดย อาศัยความได้เปรียบของทําเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของ ประเทศ ความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ความเป็นไทย •  สามารถรองรับการเปิดเสรีทางการค้าและกระแสความ ต้องการของตลาดโลก ได้แก่ ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจ บริการสุขภาพ ธุรกิจบริการ โลจิสติกส์ ธุรกิจภาพยนตร์ ธุรกิจการจัดประชุมและแสดงนิทรรศการนานาชาติ
  • 29. •  พัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการลงทุนในภาค บริการทั้งในประเทศและดึงดูดการลงทุนจากต่าง ประเทศในภาคบริการ •  ปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการของโครงสร้างพื้น ฐาน พัฒนาระบบฐานข้อมูลภาคบริการโดยรวมของ ประเทศและข้อมูลเชิงลึกในสาขาบริการที่มีศักยภาพ •  ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ และสิทธิประโยชน์ให้ เอื้อต่อการลงทุน •  ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี •  ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการประกอบ ธุรกิจ •  ส่งเสริมธุรกิจบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม •  ผลิตและพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสอดคล้องกับ ความต้องการของธุรกิจ
  • 30. •  ฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาด •  ฟื้นฟูพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวหลักที่เสื่อมโทรม •  พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจของธุรกิจท่องเที่ยวใน กลุ่มพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง •  ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับ ศักยภาพของพื้นที่ และกระแสความต้องการของ ตลาดโลก เช่น การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่อง เที่ยวเชิงนิเวศการท่องเที่ยวเชิงศึกษาเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสัมผัสวิถีชีวิตชุมชน •  ส่งเสริมการดําเนินกลยุทธ์ทางการตลาดรูปแบบ ใหม่ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าและขยายไปยัง ตลาดใหม่ ๆ ที่มีศักยภาพ
  • 31. •  บริหารจัดการการท่องเที่ยวให้เกิดความสมดุลและ ยั่งยืน •  ให้ความสําคัญกับการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม •  คํานึงถึงความสมดุล และความสามารถในการ รองรับของแหล่งท่องเที่ยว •  พัฒนายกระดับมาตรฐานสินค้าและบริการ •  พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้มีคุณภาพและเพียงพอ •  บูรณาการการท่องเที่ยวให้เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งสาขาการ ผลิตและบริการอื่น ๆ
  • 32. •  เสริมสร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่น ชุมชน ผู้ ประกอบการรายย่อย วิสาหกิจชุมชน และบุคลากร ภาครัฐ เพื่อร่วมกันพัฒนาและเชื่อมโยงกับสาขา การผลิตและบริการที่เกี่ยวเนื่องในพื้นที่ตาม แนวทางการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ •  พัฒนาทักษะและองค์ความรู้ของบุคลากร ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชน •  เสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมให้สามารถปรับตัวเพื่อ รองรับผลกระทบต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขตามกฎระเบียบใหม่ของโลก
  • 33. สถานการณ์และผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงที่เป็นความท้าทายต่อการท่อง เที่ยวไทยในปัจจุบัน ..  1 •  ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ 1.  ความถดถอยของเศรษฐกิจโลก 2.  การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลาง 3.  การขยายตัวของขั้วอํานาจทางเศรษฐกิจใหม่ อาทิ บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน ส่งผลต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจใน ภูมิภาคต่างๆการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินของโลกที่ก่อ ให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุน สินค้าและบริการ 4.  การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ส่งผลให้ประเทศไทยต้อง พัฒนาการตลาดท่องเที่ยวเชิงรุกและเตรียมความพร้อมต่อ การผันผวนของค่าเงิน การพัฒนาบุคลากรในการท่องเที่ยวให้ มีคุณภาพ การปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ
  • 34. สถานการณ์และผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงที่เป็นความท้าทายต่อการท่อง เที่ยวไทยในปัจจุบัน ..  2 •  ผลกระทบด้านสังคม 1.  การให้ความสนใจกับชุมชน มรดกทางวัฒนธรรม 2.  การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสู่สังคมผู้สูงอายุ ส่งผล ต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยว 3.  นักท่องเที่ยวให้ความสําคัญกับคุณภาพของแหล่งท่องเที่ยวที่ ต้องปลอดภัย สะอาด มีการรักษา สภาพแวดล้อม และใช้ สื่อสารสนเทศในการท่องเที่ยวมากขึ้น 4.  รูปแบบของการท่องเที่ยวมีแนวโน้มท่องเที่ยวแบบอิสระ สนใจการท่องเที่ยวเฉพาะทาง ..  การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health  and  Wellness  Tourism)  การท่องเที่ยวแบบผจญภัย (Adventure  Tourism)  การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sports   Tourism)
  • 35. 5.    กระแสโลกาภิวัตน์และวัฒนธรรมโลกที่เข้ามาในไทย การเปิด การค้าเสรี ก่อให้เกิดการอพยพย้ายถิ่น การเคลื่อนย้ายแรงงาน ส่ง ผลต่อวิถีชีวิตคนไทย ทั้งระดับครอบครัว ชุมชนและประเทศ ..  เกิด การสูญหายของวัฒนธรรมพื้นถิ่น ..  ส่งผลต่อการท่องเที่ยวไทย
  • 36. สถานการณ์และผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงที่เป็นความท้าทายต่อการท่อง เที่ยวไทยในปัจจุบัน ..  3 •  ผลกระทบด้านทรัพยากรธรรมชาติและการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1.  สถานการณ์และแนวโน้มความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงขึ้น 2.  ปัญหามลพิษ อุณหภูมิโลกที่ร้อนขึ้น การกัดเซาะของชายฝั่ง ภาวะภัยแล้ง และน้ําท่วม ส่งผลต่อความงดงาม และ บรรยากาศของแหล่งท่องเที่ยว 3.  ไทยต้องเตรียมพร้อมรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยการ คํานึงถึงการท่องเที่ยวที่สะอาด (Green  Tourism)  การพัฒนา มาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนพัฒนาบุคลากรที่ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวในทุกระดับให้มีศักยภาพรองรับ การเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานการเติบโตของการท่องเที่ยว อย่างสมดุลและยั่งยืน
  • 37. สถานการณ์และผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงที่เป็นความท้าทายต่อการท่อง เที่ยวไทยในปัจจุบัน ..  4 •  ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีแบบก้าว กระโดด 1.  ภาคการท่องเที่ยวต้องปรับเตรียมความพร้อมให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง โดยต้องบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ 2.  ต้องประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการส่งเสริมการ ท่องเที่ยว 3.  เทคโนโลยีด้านการบินและการขยายตัวของกิจการสายการ บินต้นทุนต่ํา ส่งเสริมให้เกิดการเดินทางบ่อยขึ้น และระยะ เวลาในการพํานักของนักท่องเที่ยวแต่ละครั้งสั้นลง
  • 38. สถานการณ์และผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงที่เป็นความท้าทายต่อการท่อง เที่ยวไทยในปัจจุบัน ..  5 •  ผลกระทบด้านภาพลักษณ์และความเชื่อมั่น 1.  ไทยประสบปัญหาภาวะวิกฤติต่างๆ โดยเฉพาะปัญหา การเมืองภายในประเทศ การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ ปัญหาจากอุทกภัยและวาตภัย ความ เสื่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยว ความปลอดภัย และปัญหา การก่อการร้ายใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ 2.  สถานการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อภาพลักษณ์และความเชื่อมั่น ของนักท่องเที่ยวต่อไทย 3.  เป็นเหตุให้นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดหลักเปลี่ยนจุดหมายไปยัง แหล่งท่องเที่ยวในภูมิภาคอื่นๆ ส่งผลกระทบต่อจํานวนและ รายได้จากการท่องเที่ยว
  • 39. ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ.. อุปสรรคการเชื่อมโยงกับภูมิภาค ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (1) •  ผู้ประกอบการไทยขาดศักยภาพในการลงทุนในต่างประเทศรวมทั้งการลงทุน ในประเทศเพื่อนบ้านและขาดความพร้อมต่อการแข่งขันเสรีภายในประเทศ •  ขาดทักษะของผู้ประกอบการในการประกอบธุรกิจร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน •  ขาดการรวมพลังในรูปแบบของสภาธุรกิจ และกรอบการหารือภาครัฐร่วมกับ เอกชนอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเสนอแนวการลงทุนร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน หรือรับข้อเสนอการร่วมลงทุน •  ภาครัฐในพื้นที่ยังขาดศักยภาพในการเป็นผู้ประสานงานกับผู้ประกอบการ ด้านการใช้ประโยชน์จากกรอบความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน •  ขาดการกําหนดกรอบยุทธศาสตร์ภาพรวมในการลงทุนของผู้ประกอบการ ไทยในประเทศเพื่อนบ้านที่มีบทบาทเชิงรุกและสามารถสร้างเสริมผล ประโยชน์ของไทย พร้อมทั้งมีความรับผิดชอบทางสังคมในประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อความไว้เนื้อเชื่อใจและการพัฒนาร่วมกันที่ยั่งยืน •  ขาดยุทธศาสตร์ภาพรวมอย่างมีบูรณาการ และแผนปฏิบัติการเชิงลึกในการ ช่วยเหลือผู้ประกอบการ รวมทั้งเกษตรกรภายในประเทศที่ได้รับผลกระทบเชิง ลบจากการแข่งขันเสรีในกรอบประชาคมอาเซียน
  • 40. ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ.. อุปสรรคการเชื่อมโยงกับภูมิภาค ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (2) •  แรงงานไทยขาดการยอมรับในมาตรฐานฝีมือแรงงานและมีข้อจํากัดด้าน ภาษาต่างประเทศรวมทั้งความรู้ความเข้าใจด้านขนบธรรมเนียมและ วัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาค •  ภาครัฐยังขาดการวางแผนงานด้านแรงงานร่วมกับประเทศที่เป็นตลาด แรงงานไทย เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนร่วมกันส่งผลให้เกิดความเสียเปรียบใน การเคลื่อนย้ายแรงงานและการลงทุนจากต่างประเทศ •  ไทยขาดแคลนแรงงานมีทักษะฝีมือในสาขาที่มีความต้องการ และแม้ว่าจะมี การรับรองข้อตกลงยอมรับร่วมคุณสมบัตินักวิชาชีพอาเซียน (ASEAN  Mutual   Recogni@on  Arrangement)  ไปแล้ว ๗ สาขา (แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศวกร ช่างสํารวจ และนักบัญชี และอยู่ระหว่างการดําเนินการ รับรองในสาขาบริการท่องเที่ยว) แต่ยังจําเป็นต้องดําเนินการให้สามารถใช้ ประโยชน์จากมาตรฐานร่วมดังกล่าวได้อย่างเต็มที่ •  ไทยยังต้องพึ่งพาแรงงานต่างด้าว แต่ยังขาดนโยบายที่ชัดเจนด้านการใช้ แรงงานต่างประเทศ สวัสดิการและการเคลื่อนย้ายแรงงาน และมีความล่าช้า ในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจชายแดนและการวางแผนด้านการพัฒนาด้าน แรงงานรองรับเขตเศรษฐกิจ
  • 41. ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ.. อุปสรรคการเชื่อมโยงกับภูมิภาค ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (3) •  ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องขาดความรับรู้อย่างพอเพียงในการใช้ประโยชน์จาก ความเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่งภายใต้แผนแม่บท ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนและผลกระทบจากยุทธศาสตร์เชื่อมโยง ระบบโลจิสติกส์ของมหาอํานาจในภูมิภาค •  ขาดกลไกกลางในการบูรณาการแผนงานและโครงการในระดับพื้นที่ทําให้เสีย โอกาสในการเชื่อมโยงระบบจากแนวพื้นที่เศรษฐกิจต่าง ๆ ในอนุภูมิภาค –  แนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจเหนือ - ใต้ –  แนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก –  แนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต้ –  การเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านระหว่างเมืองชายแดนสําคัญในกรอบ GMS  และ IMT  –  GT   –  แผนงานพัฒนาโครงข่ายรถไฟความเร็วสูงของจีนในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ –  การพัฒนาท่าเรือยุทธศาสตร์ในอ่าวเบงกอลของจีนในพม่าและของ อินเดีย
  • 42. ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ.. อุปสรรคการเชื่อมโยงกับภูมิภาค ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (4) •  ความไม่แน่นอนทางการเมืองและความมั่นคงในประเทศเพื่อน บ้าน •  ประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศอยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านไปสู่ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ดีขึ้น รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลง ด้านการเมืองเพื่อสร้างเสถียรภาพและความมั่นคงเพิ่มขึ้น จะ ต้องอาศัยเวลาในการปรับตัวให้สอดคล้องกับโลกาภิวัตน์และ เศรษฐกิจโลก •  จําเป็นต้องติดตามพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศเพื่อนบ้านอย่างใกล้ชิด เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริม เศรษฐกิจ การค้า และสังคมอย่างยั่งยืน
  • 43. การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อ พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (1) •  กําหนดบทบาทและทิศทางการพัฒนาของประเทศที่กระตุ้นให้เกิด การเติบโตและเชื่อมโยงของสาขาต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจ •  ให้ความสําคัญต่อการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมและโลจิสติกส์ ระหว่างประเทศภายใต้แผนงานและโครงการที่ได้กําหนดไว้ใน ปัจจุบัน รวมทั้งแผนงานและโครงการที่จะพัฒนาเพิ่มเติมในอนาคต •  เปิดโอกาสให้มีการลงทุนพัฒนาจากต่างประเทศและภายใต้กรอบ ความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้สามารถยกระดับให้ เป็นแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ (Economic  Corridor)  ที่เป็นเส้น ทางการค้าและการลงทุนของอนุภูมิภาคได้อย่างเต็มศักยภาพ •  บูรณาการเชื่อมโยงทั้งในอนุภูมิภาคและระหว่างอนุภูมิภาค ตลอด จนในกรอบอาเซียนภายใต้แผนแม่บทการเชื่อมโยงระหว่างกันใน อาเซียน และพื้นที่ต่อเนื่องอื่น ๆ
  • 44. การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อ พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (2) •  ใช้ศักยภาพความได้เปรียบของที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ และ ศักยภาพของพื้นที่ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ เพื่อสร้างฐานการ ผลิตให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก •  การเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงของธุรกิจการแปรรูปอาหาร การท่อง เที่ยว บริการทั้งด้านสุขภาพ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่สําคัญของ ภูมิภาค โดยกําหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่ของประเทศให้ สอดคล้องกับโอกาสและศักยภาพการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของแต่ละภูมิภาคต่อไป •  สร้างความเชื่อมโยงในแต่ละกรอบความร่วมมือ พร้อมทั้งเปิด โอกาสในการพัฒนาพื้นที่เมืองชายแดนตลอดต่อเนื่องถึงเมืองและ ชุมชนศูนย์กลางในภูมิภาคที่สําคัญของประเทศ ซึ่งอยู่ในแนวเชื่อม โยงระหว่างประเทศตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจต่าง ๆ ให้เกิดการกระ จายความเจริญไปสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น
  • 45. การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อ พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (3) •  สร้างความเข้มแข็งและการพัฒนาความสามารถในการปรับตัว ของผู้ประกอบการไทย ให้ทันกับสถานการณ์การเชื่อมโยงระหว่าง กันในภูมิภาคที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว •  เพื่อเสริมสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและเพิ่มระดับความสามารถใน การแข่งขันของประเทศไทยในเวทีระหว่างประเทศ •  โดยเฉพาะในกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มจะมีบทบาทสูงใน อนาคต เช่น เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป็นต้น โดยเน้นบทบาทของสภา ธุรกิจ และกรอบการหารือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่ ของกรอบความร่วมมือ •  ภาครัฐต้องให้การสนับสนุนในการพัฒนาผู้ประกอบการไทยและผู้ ประกอบการของประเทศเพื่อนบ้านในบริเวณพื้นที่การพัฒนาร่วม
  • 46. การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อ พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (4) •  พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมืองชายแดนแบบมีสมดุลบน พื้นฐานของการสร้างผลประโยชน์ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านและ ความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน •  บูรณาการด้านกิจกรรมทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านเป็นไป ตามหลักวิเคราะห์ความได้เปรียบเปรียบเทียบระหว่างไทยกับ ประเทศเพื่อนบ้านในด้านที่ตั้งทางยุทธศาสตร์ ประเภทการผลิต และความใกล้ชิดกับแหล่งวัตถุดิบ แรงงานและท่าส่งออก •  จัดสรรบทบาทหน้าที่ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภาคต่างๆอย่าง เหมาะสม •  พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านท่าส่งออกรองรับตามความเหมาะ สมในปัจจุบัน และโอกาสในการพัฒนาต่อเนื่องในอนาคต •  ไทยต้องให้การสนับสนุนประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาใน ลักษณะหุ้นส่วนการพัฒนาที่มีความเสมอภาค
  • 47. ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 1 การพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของไทย สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ข้อมูล ณ วันที่ 10 เม.ย. 58
  • 48. ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 2 ประเด็นการบรรยาย  กรอบแนวคิดการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ  พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ  สิทธิประโยชน์  กลไกการบริหาร/งบประมาณ 
  • 49. ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 3 เขตเศรษฐกิจพิเศษ : นิยาม วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ บริเวณพื้นที่ที่ กนพ. กาหนดให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งรัฐจะสนับสนุน โครงสร้างพื้นฐาน สิทธิประโยชน์ส่งเสริมการลงทุน การบริหารแรงงานต่างด้าว แบบไป-กลับ การให้บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ และการอื่นที่จาเป็น นิยาม • ดึงดูด FDI เพิ่มขีดความสามารถของประเทศ กระจายความเจริญสู่ภูมิภาค ลดความเหลื่อมล้า ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และแก้ปัญหาความมั่นคง วัตถุประสงค์ • สร้างพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ เน้นบริเวณชายแดนสาหรับระยะแรก โดยใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน • สนับสนุน SMEs ไทยและการลงทุนต่อเนื่องของไทยในประเทศเพื่อนบ้าน • จัดระเบียบพื้นที่เศรษฐกิจชายแดน แก้ปัญหาแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายและสินค้า เกษตรลักลอบจากประเทศเพื่อนบ้าน กลยุทธ์
  • 50. ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 4 เขตเศรษฐกิจพิเศษ : กรอบแนวคิด“เขตเศรษฐกิจพิเศษ”ของไทย เพิ่มความสามารถการแข่งขัน + ลดความเหลื่อมล้าการพัฒนา + เสริมสร้างความมั่นคง กาหนด ขอบเขตพื้นที่ SEZ OSS ใช้แรงงาน ต่างด้าว ศูนย์รวบรวมและ รับซื้อสินค้า เกษตร ให้สิทธิ ประโยชน์ โครงสร้าง พื้นฐาน-ด่าน พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษระยะแรกในพื้นที่ชายแดนที่มีศักยภาพ
  • 51. ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 5 ดาเนินงานภายใต้กรอบกฎหมายปัจจุบัน1 บทบาทแต่ละภาคส่วน รัฐ - ให้สิทธิประโยชน์ จัดโครงสร้างพื้นฐาน ปรับกฎระเบียบ เอกชน - ลงทุน ประชาชน - มีส่วนร่วม และได้รับประโยชน์จากการพัฒนา 2 ไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สังคม และความมั่นคง 3 มีความยืดหยุ่น สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์4 กาหนดพื้นที่ตามเขตปกครอง เพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการ5 เขตเศรษฐกิจพิเศษ : แนวทางดาเนินงาน
  • 52. ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 6 ประเด็นการบรรยาย  กรอบแนวคิดการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ  พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ  สิทธิประโยชน์  กลไกการบริหาร/งบประมาณ 
  • 53. ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 7 เขตเศรษฐกิจพิเศษ : พื้นที่ที่มีศักยภาพเหมาะสมในการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พื้นที่ที่มีศักยภาพเหมาะสมในการจัดตั้งเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ ระยะที่ 1 และ 2 ทั้ง 10 จังหวัด ล้วนเป็นพื้นที่ชายแดน บนแนวระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง (GMS Economic Corridors) ซึ่งสามารถเข้าถึงปัจจัยการผลิตในพื้นที่ใกล้เคียงและเขต เศรษฐกิจ รวมทั้งฐานการผลิตของประเทศเพื่อนบ้าน และเป็นการเตรียม ความพร้อมของประเทศไทยในการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) โดยแนวทางการพัฒนาสาหรับพื้นที่เป้าหมาย แต่ละแห่ง พิจารณาจากปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1.ศักยภาพ ขีดความสามารถในการแข่งขัน 2.โอกาส 3.ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐาน 4.ปัจจัยการผลิตในพื้นที่ 5.ลักษณะและมูลค่าการค้าชายแดน 6.แนวทางการพัฒนาพื้นที่ของ ประเทศเพื่อนบ้าน 7.ปัญหา/ข้อจากัดในการพัฒนา
  • 54. ข้อมูล ณ วันที่ 10 เมษายน 2558 www.nesdb.go.th 8 แม่สอด จ.ตาก1 อ.สะเดา จ.สงขลา2 อรัญประเทศ จ.สระแก้ว4 ในส่วน ของ 5 พื้น ที่ ชายแดน ที่ได้รับพิจารณาเป็น เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะแรกนั้น ให้ดาเนินการ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2557 เป็น ต้นไป โดยปรับแผนงานของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ เตรียมงบประมาณประจาปี 2558 เป็นลาดับแรก ทั้ ง นี้ ใ ห้ ส า ม า ร ถ ดาเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม ภายในปี 2558 ชายแดน จ.มุกดาหาร3 ชายแดน จ.ตราด5 ขอบเขตพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ : ประกาศเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2558
  • 55. 27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th 16 แม่สอด ย่างกุ้ง เมียวดี เมาะละแหม่ง EWEC การเชื่อมโยงระดับภูมิภาค • เป็นประตูฝั่งตะวันตกของไทยบนแนวระเบียง เศรษฐกิจ EWEC • เชื่อมตรงกับเขตเศรษฐกิจชายแดนเมียวดี สามารถเชื่อมต่อสู่ท่าเรือเมาะละแหม่ง และ กรุงย่างกุ้งของเมียนมาร์ ศักยภาพ แนวทางการพัฒนา • มีฐานการลงทุนเดิมในพื้นที่ แรงงานพร้อม  อุตสาหกรรมใช้แรงงานเข้มข้น เช่น สิ่งทอ • อุตสาหกรรมสินค้าเกษตรแปรรูป เฟอร์นิเจอร์ • การใช้ประโยชน์พื้นที่เพื่อจัดตั้งคลังสินค้า พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่ศุลกากร  ศูนย์โลจิสติกส์ ปัญหา ข้อจากัด • การจราจรแออัดบริเวณ ด่านพรมแดน • การลักลอบขนสินค้าข้าม แดนผิดกฎหมาย • ขาดการวางแผนพัฒนา เมืองอย่างเป็นระบบ • ปัญหาสังคมด้านต่างๆ จากแรงงานต่างด้าว • เส้นทางแม่สอด-ตาก มีความคดเคี้ยว-ชัน • เส้นทางถนนในเมียนมาร์ ยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร มูลค่าการค้าชายแดนด่านแม่สอดปี 2556 : ประมาณ 46,308.94 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี 52-56 : ร้อยละ 19.6 ต่อปี EWEC การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • ขยายถนน 4 เลน (เส้นทางตาก-แม่สอด) • สะพานข้ามแม่น้าเมยแห่งที่ 2 • การพัฒนาสนามบินแม่สอด 3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - แม่สอด จ.ตาก
  • 56. 27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th 17 3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - บทบาทพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจแม่สอด (คู่ขนานกับเขตเศรษฐกิจเมียวดี) เขตพัฒนาเศรษฐกิจแม่สอด จ.ตาก เขตเศรษฐกิจเมียวดี เมียนมาร์ • เขตเศรษฐกิจพิเศษ-เขตอุตสาหกรรมชายแดน : - อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น - การแปรรูปสินค้าเกษตร • พื้นที่อานวยความสะดวกในการขนส่งสินค้า ข้ามแดน/คลังสินค้า/ผู้ให้บริการโลจิกติกส์ • ตลาดการค้าชายแดน • สิ่งอานวยความสะดวกในการท่องเที่ยว (โรงแรม บริษัทนาเที่ยว) • สถาบันการเงิน • ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center) • พื้นที่เกษตรกรรม • นิคมอุตสาหกรรม และการพาณิชย์ (ข้อมูลอยู่ระหว่างการศึกษา โครงการศึกษาเพื่อวางยุทธศาสตร์การพัฒนา ระดับประเทศและระดับพื้นที่)
  • 57. 27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th 18 มุกดาหารย่างกุ้ง เมียวดี เมาะละแหม่ง EWEC การเชื่อมโยงระดับภูมิภาค • ประตูฝั่งตะวันออกของไทยบนแนว EWEC • มีสะพานมิตรภาพไทย-ลาว เชื่อมสู่สปป.ลาว ผ่านเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน สามารถ เชื่อมต่อสู่ท่าเรือดานังของเวียดนาม หรือขึ้นสู่ จีนตอนใต้ (หนานหนิง) ศักยภาพ แนวทางการพัฒนา • ฐานการผลิตอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ • การค้าส่ง  พื้นที่ค้าส่ง ศูนย์กระจายสินค้า • การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ  พัฒนาพื้นที่ ศุลกากร การใช้ประโยชน์พื้นที่เพื่อจัดตั้ง คลังสินค้า ศูนย์โลจิสติกส์ • การท่องเที่ยวข้ามแดน ปัญหา ข้อจากัด • โครงข่ายเส้นทาง คมนาคมเชื่อมโยงกับ ประเทศเพื่อนบ้าน ยังไม่ได้รับการปรับปรุง • อยู่ห่างจากท่าเรือ (520 กม.) การขนส่งผ่าน ท่าเรือดานังมีต้นทุนสูง ใช้เวลานาน • ขาดการวางแผนพัฒนา เมืองอย่างเป็นระบบ • การขยายทางหลวง (หมายเลข 12) • การพัฒนาระบบรถไฟรางคู่ ระยะทาง 336 กม. (สาย บ้านไผ่–มหาสารคาม– ร้อยเอ็ด–มุกดาหาร–นครพนม) มูลค่าการค้าชายแดนปี 2556 : ประมาณ 30,441.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี 52-56 : ร้อยละ 20.1 ต่อปี EWEC การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - จ.มุกดาหาร
  • 58. 27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th 19 การเชื่อมโยงระดับภูมิภาค • ประตูฝั่งตะวันออกของไทยบนแนว SEC • เชื่อมต่อสู่กัมพูชา ซึ่งมีเขตเศรษฐกิจพิเศษปอย เปต-โอเนียง Sanco-Poipet เสียมเรียบ และ เมืองศรีโสภณ โดยสามารถเชื่อมต่อออกสู่ทะเล ผ่านท่าเรือของเวียดนาม ศักยภาพ แนวทางการพัฒนา • พื้นที่ค้าส่ง-ค้าปลีก • ฐานการผลิตอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร • การขนส่งต่อเนื่อง  คลังสินค้าระหว่างประเทศ • มีคณะทางานร่วมไทย-กัมพูชาเพื่อจัดตั้งเขต เศรษฐกิจพิเศษ ปัญหา ข้อจากัด • การจราจรบริเวณด่าน พรมแดนแออัด • โครงข่ายเส้นทาง คมนาคมในประเทศเพื่อน บ้านไม่สะดวก • ปัญหาสังคม เช่น แรงงานผิดกฎหมาย ยาเสพติดการค้ามนุษย์ • ปัญหาความมั่นคง การ แบ่งเขตพรมแดน • ขยายทางหลวง 4 เลน (สาย 304 อ.สารคาม บรรจบกับ สาย 33 สระแก้ว 27.7 กม.) (สาย 33 ท่าข้าม บรรจบกับ สาย 3511 หนองเอียน 12 กม.) • ขยายเส้นทางอรัญ-ชายแดน เป็น 4 เลน ระยะ 22 กม. อรัญประเทศทวาย เสียมเรียบ ปอยเปต SEC มูลค่าการค้าชายแดนปี 2556 : ประมาณ 59,651.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี 52-56 : ร้อยละ 28.2 ต่อปี SEC การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - อรัญประเทศ จ.สระแก้ว
  • 59. 27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th 20 การเชื่อมโยงระดับภูมิภาค • ประตูฝั่งตะวันออกของไทยบนแนว Southern Coastal Road Corridor / SubCorridor) • เชื่อมต่อเขตเศรษฐกิจพิเศษเกาะกง ของกัมพูชา สามารถเชื่อมเข้าถึงท่าเรือสีหนุวิลล์ (233 กม.) และท่าเรือแหลมฉบัง (230 กม.) ศักยภาพ แนวทางการพัฒนา • พื้นที่ท่องเที่ยว  การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ • การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ  คลังสินค้า ศูนย์โลจิสติกส์ • การค้าชายแดน  พื้นที่การค้าชายแดนปลอดภาษี • มีคณะทางานร่วมไทย-กัมพูชาเพื่อจัดตั้งเขต เศรษฐกิจพิเศษ ปัญหา ข้อจากัด • เศรษฐกิจมีขนาดเล็ก • ขาดแคลนแรงงานใน พื้นที่ • ขาดการวางแผนพัฒนา เมืองอย่างเป็นระบบ ตราด ทวาย เสียมเรียบ ปอยเปต SCRC เกาะกง มูลค่าการค้าชายแดนปี 2556 : ประมาณ 26,825.81 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี 52-56 : ร้อยละ 10.5 ต่อปี SEC SCRC การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • การขยายทางหลวง 4 เลน (สาย 3 ตราด-หาดเล็ก 35 กม.) • พัฒนารถไฟ สาย แหลมฉบัง-มาบตาพุด • ท่าเทียบเรือคลองใหญ่ 3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - จ.ตราด
  • 60. 21 การเชื่อมโยงระดับภูมิภาค • ประตูทางใต้ของไทยบนแนว NSEC • เป็นช่องทางขนส่งหลักทางถนนและ ราง เชื่อมต่อกับมาเลเซีย สู่สิงคโปร์ • ใกล้ท่าเรือปีนังและท่าเรือกลางของ มาเลเซีย • อยู่ใกล้พื้นที่อุตสาหกรรมหนัก อุตฯ ยางพารา อุตฯฮาลาล ของมาเลเซีย ศักยภาพ แนวทางการพัฒนา • พื้นที่ต่อขยายนิคมอุตสาหกรรมรองรับ อุตสาหกรรมเชื่อมโยงเพื่อการส่งออก • มีถนนและระบบรางเชื่อมโยงชายแดน • มีคณะทางานร่วมไทย-มาเลเซีย ด่านปาดังเบซาร์  การขนส่งต่อเนื่อง ยางพารา อาหารฮาลาล ด่านสะเดา  ยางพารา อาหารทะเล ปัญหา ข้อจากัด • พื้นที่/การจราจรแออัด • ขาดแคลนแรงงาน • สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม • ขาดการบริหารจัดการ ตลาดสินค้าเกษตรครบ วงจร • การวางแผนพัฒนาเมือง ปาดังเบซาร์ สะเดา ด่าน สะเดา ด่าน ปาดังเบซาร์ มูลค่าการค้าชายแดนปี 2556 : ด่านสะเดา 330,022.68 ล้านบาท ด่านปาดังเบซาร์ 163,308.62 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปี 52-56 : ด่านสะเดา ร้อยละ 9.1 ต่อปี ด่านปาดังเบซาร์ ร้อยละ 6.2 ต่อปี • ถนนมอเตอร์เวย์ สาย หาดใหญ่-ชายแดน • พัฒนารถไฟรางคู่ เส้นทาง หาดใหญ่ – ปาดังเบซาร์ • การก่อสร้างท่าเรือ (ท่าเรือสงขลา) NSEC 27 สิงหาคม 2557 www.nesdb.go.th การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน 3. พื้นที่ที่มีศักยภาพ - อ.สะเดา จ.สงขลา 21