SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
นิยามของสัตว์ (Animal)
• เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (Multicellular)
• เป็นพวกยูคาริโอตที่กินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหารและมีเนื้อเยื่อที่พัฒนามาจากเยื่อคัพภะ
(heterotrophic eukaryotes with tissues that develop from
embryonic layers)
• มีลักษณะบ่งบอกความเป็นสัตว์เพียงพอที่จะจัดแยกออกเป็นหมวดหมู่ (Several
characteristics of animals Sufficiently define the group)
• ร่างกายประกอบด้วยโปรตีนโครงสร้าง (structural proteins) เช่น collagen
• มีเนื้อเยื่อประสาทและเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ (Nervous tissue and muscle
tissue) ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของพวกสัตว์ (unique to animals)
เกณฑ์ที่ใช้ในการจาแนกหมวดหมู่ของอาณาจักรสัตว์
1. ระดับการทางานร่วมกันของเซลล์ (Level of cell organization)
2. สมมาตร (Symmetry)
3. ลักษณะช่องว่างในลาตัวหรือช่องตัว (Body cavity or coelom)
4. การเปลี่ยนแปลงของ Blastopore
5. การเจริญในระยะตัวอ่อน
6. การแบ่งเป็นปล้อง (Segmentation)
1. ระดับการทางานร่วมกันของเซลล์
(Level of cell organization)
1.1 No true tissue (เนื้อเยื่อที่ไม่แท้จริง)
1.2 True tissue (เนื้อเยื่อที่แท้จริง)
1.2.1 เนื้อเยื่อ 2 ชั้น (Diploblastica)
1.2.2 เนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica)
2. สมมาตร (Symmetry)
2.1 Asymmetry (ไม่มีสมมาตร)
2.2 Radial symmetry (สมมาตรแบบรัศมี)
2.3 Bilateral symmetry (สมมาตรแบบครึ่งซีก)
3. ลักษณะช่องว่างในลาตัวหรือช่องตัว
(Body cavity or coelom)
3.1 acoelom หรือ No body cavity
(ไม่มีช่องว่างในลาตัวหรือไม่มีช่องตัว)
3.2 Pseudocoelom (มีช่องตัวเทียม)
3.3 Eucoelom or True coelom
(มีช่องตัวที่แท้จริง)
4. การเปลี่ยนแปลง
ของ Blastopore
4.1 Protostomia คือพวกที่
blastopore เปลี่ยนเป็น
ช่องปาก หรือเป็นสัตว์พวก
ที่ช่องปากเกิดก่อนช่องทวาร
4.2 Deuterostomia คือ
พวกที่ blastopore
เปลี่ยนเป็นช่องทวาร หรือ
เป็นสัตว์พวกที่ช่องปากเกิด
ภายหลังช่องทวาร
5. การเจริญในระยะตัวอ่อน
พบในสัตว์กลุ่มที่มีช่องปากแบบ
protostomia
5.1 Trochophore พบในสัตว์พวก
หนอนตัวแบน ไส้เดือนดิน ปลิง
หอย หมึก
5.2 Ecdysozoa เป็นกลุ่มที่มีการ
ลอกคราบขณะเจริญเติบโต พบใน
หนอนตัวกลม และ อาร์โทพอด
6.1 Superficial segmentation
(การแบ่งเป็นปล้องเฉพาะภายนอก
เฉพาะที่ผิวลาตัว) เช่น พยาธิตัวตืด
6.2 Metameric segmentation
(การแบ่งเป็นปล้องที่แท้จริง เกิดจาก
เนื้อเยื่อชั้น mesoderm แล้วทาให้เนื้อเยื่อ
ชั้นอื่นเกิดปล้องตามไปด้วยตลอดลาตัว)
เช่น ไส้เดือนดิน อาร์โทรพอด สัตว์มี
กระดูกสันหลัง
6. การแบ่งเป็นปล้อง (Segmentation)
Animal Kingdom
1. Phylum Porifera 2. Phylum Coelenterata
3. Phylum Platyhelminthes 4. Phylum Nematoda
5. Phylum Mollusca 6. Phylum Annelida
7. Phylum Arthropoda
8. Phylum Echinodermata
9. Phylum Chordata
• ลาตัวเป็นรูพรุน
• สมมาตรแบบรัศมี หรือไม่มีสมมาตร
• มีช่องน้าเข้าและช่องน้าออก
• มีโครงร่างแข็งหรือเป็นเส้นใยโปรตีน
• ผนังตัวของฟองน้าประกอบด้วยเซลล์ 2 ชั้น
• ไม่มีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และระบบประสาท
• มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
Phylum Porifera
1. กลุ่มที่ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง
ใช้โครงสร้างค้าจุน (spicule) จาแนกแบ่งออกเป็น
3 Class ได้แก่
1. Class Calcarea ได้แก่ ฟองน้าที่มีแกนแข็ง เป็นพวกหินปูน (CaCO3)
2. Class Hexactinellida ได้แก่ ฟองน้าที่มีแกนแข็งเป็นพวกแก้วหรือทราย
(Silica)
3. Class Demospongiae ได้แก่ ฟองน้าถูตัวที่มีแกนอ่อนนุ่ม
ประกอบด้วยสารประเภท Scleroprotien
• เป็นสัตว์ที่มีเนื้อเยื่อสองชั้น
• ทางเดินอาหารเป็นแบบไม่สมบูรณ์ มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก
• มีเข็มพิษ หรือNematocyst ใช้ในการป้องกัน และฆ่าเหยื่อ
• ไม่มีระบบหายใจ ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบขับถ่ายโดยเฉพาะ
• ระบบประสาทเป็นแบบข่ายใยประสาท (Nerve net) แผ่กระจายทั่วตัว
และหนาแน่นบริเวณหนวด
• การสืบพันธุ์ มีทั้งแบบอาศัยเพศ และแบบไม่อาศัยเพศแบบอาศัยเพศ
Phylum Coelenterata / Cnidaria
2. กลุ่มที่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง
2.1 สมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry)
• มีรูปร่างเป็น 2 แบบ คือ
- Polyp รูปร่างแบบต้นไม้
ได้แก่ ไฮดรา ปะการัง
ดอกไม้ทะเล
- Medusa รูปร่างคล้ายร่ม
หรือกระดิ่งคว่า ได้แก่
แมงกะพรุน
สัตว์ในไฟลัมนี้แบ่งออกเป็น 3 Class ได้แก่
1. Hydrozoa ส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็น Polyp บางช่วงเป็น
Medusa อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม (Colony) เช่น โอบีเลีย
แมงกระพรุนน้าจืด แมงกระพรุนลอย และไฮดรา
2. Scyphozoa ส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็น Medusa (รูปร่าง
คล้ายร่ม ว่ายน้าได้อิสระ) เช่น แมงกระพรุนไฟ แมงกระพรุนจาน
3. Anthozoa มีรูปร่างเป็นแบบ Polyp เท่านั้น อยู่รวมกัน
เป็นกลุ่ม มีการสร้างสารหินปูนเป็นเปลือกหุ้ม เช่น พวกปะการัง
หรือกัลปังหา
• มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
• ไม่มีช่องตัว (acoelomate / noncoelom)
• ร่างกายแบนทางด้านหลัง และด้านท้อง ไม่มีข้อ
ปล้อง
• มีท่อทางเดินอาหารที่เป็นปลายตัน หรือเป็น
แบบที่ไม่สมบูรณ์
มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก
• มีปมประสาทสมอง อวัยวะรับความรู้สึก และ
ช่องปากมารวมกันอยู่ทางด้านหน้าของลาตัว
Phylum Platyhelminthes
2.2 มีสมมาตรแบบด้านข้าง (bilateral symmetry)
กลุ่ม Protostomia และมีตัวอ่อนแบบ Trochophore
• ระบบขับถ่าย มีอวัยวะ ที่เรียกว่า protonephridia
• ไม่มีอวัยวะที่ใช้ในการหายใจโดยเฉพาะ
• ระบบประสาท ประกอบด้วย ปมประสาทด้านหน้า (anterior ganglia)
หรือปมประสาท
• ระบบสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยมีสองเพศอยู่ในตัวเดียวกัน จัดเป็นกะเทย
(hermaphrodite)
สัตว์ในไฟลัมนี้แบ่งออกเป็น 3 Class ได้แก่
1. Class Turbellaria เช่น พลานาเรีย ซึ่งดารงชีพโดยหากินอย่างอิสระ
2. Class Trematoda เช่น พยาธิใบไม้ชนิดต่างๆ ซึ่งดารงชีพโดยการ
เป็นปรสิต
3. Class Cestoda เช่น พยาธิตัวตืด ซึ่งดารงชีพโดยเป็นปรสิต
• สัตว์ลาตัวนิ่ม มักมีเปลือกแข็งที่มี CaCO3 หุ้มลาตัว ไม่มีปล้อง
• มี mantle ทาหน้าที่สร้างเปลือกหุ้มลาตัว (หมึกกล้วยและหมึกยักษ์ไม่มี
เปลือกแข็งเนื่องจากได้หายไประหว่างการเกิดวิวัฒนาการ)
• ระบบทางเดินอาหารเป็นแบบสมบูรณ์ คือ มีปากและทวารหนัก
• มีช่องตัวที่แท้จริง (coelom)
• ระบบหมุนเวียนโลหิตเป็นระบบเปิด (open circulation system)
• แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้เหงือก หรือปอด ผิวหนัง และเยื่อแมนเทิล
• การขับถ่ายมีไต หรือเนฟริเดียม (nephridium)
• ระบบประสาท ประกอบด้วย ปมประสาท 3 คู่
และมีเส้นประสาทใหญ่ 2 คู่
Phylum Mollusca
สัตว์ในไฟลัมนี้แบ่งออกเป็น 5 Class ได้แก่
1. Class Gastropoda เช่น หอยสังข์ หอยโข่ง หอยขม และหอยทาก
2. Class PolyPlascophora เช่น ลิ่นทะเล
3. Class Pelecypoda เช่น หอยกาบ หอยนางรม หอยแครง หอยเสียบ
4. Class Scaphopoda เช่น หอยงาช้าง
5. Class Cephalopoda เช่น หมึกกล้วย หมึกกระดอง
หมึกสาย หมึกยักษ์
• ลาตัวแบ่งออกเป็นปล้องอย่างชัดเจน ภายในมีเยื่อกั้น (ร่างกายแบ่งเป็น
ปล้องอย่างแท้จริง)
• มีเนื้อเยื่อสามชั้น มีช่องตัวที่แท้จริง
• มีรยางค์เป็นแท่งเล็กๆ เรียกว่า เดือย (setae) เป็นสารไคติน (chitin)
• หายใจผ่านทางผิวหนัง หรือเหงือก
• มีอวัยวะขับถ่ายอยู่ทุกปล้องๆ ละ 1 คู่ เรียกว่า เนฟริเดีย (nephridia)
• เป็นกะเทย (hermaphrodite) แต่มีการปฏิสนธิข้ามตัว
• ทางเดินอาหารสมบูรณ์เป็นท่อยาวตลอดร่างกาย
• ระบบหมุนเวียนโลหิตเป็นแบบปิด (closed circulatory system)
Phylum Annelida
สัตว์ในไฟลัมนี้แบ่งออกเป็น 4 Class ได้แก่
1. Class Oligochaeta เช่น ไส้เดือนดิน
2. Class Polychaeta เช่น แม่เพรียง ไส้เดือนทะเล
3. Class Hirudinea เป็นกลุ่มที่ดูดเลือดของสัตว์อื่นชั่วคราวโดยการ
ปล่อยสารคล้ายยาชา และปล่อยสาร hirudin ที่เป็นสารป้องกันไม่ให้
เลือดของโฮสต์แข็งตัว เช่น ปลิงน้าจืด ปลิงดูดเลือด ปลิงควาย ปลิงเข็ม
ทากดูดเลือด
4. Class Archiannelida เช่น หนอนทะเล
• มีเนื้อเยื่อสามชั้น มีช่องว่างในลาตัวแบบเทียม (Pseudocoelomate)
• ลาตัวกลม ยาว แหลมหัวแหลมท้าย ไม่มีข้อปล้อง มีสารคิวทิเคิลหุ้มตัว
• ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด ไม่มีอวัยวะหายใจ
• เป็นสัตว์แยกเพศ
• ทางเดินอาหารสมบูรณ์ ประกอบด้วยปากและทวารหนัก
• มีปมประสาทรูปวงแหวน (Nerve ring) อยู่รอบคอหอย และมีแขนงประสาทแยก
ออกทางด้านท้อง และทางด้านหลัง
• มีระบบกล้ามเนื้อยาวตลอดลาตัว (Longitudinal muscle)
Phylum Nematoda
2.2 มีสมมาตรแบบด้านข้าง (bilateral symmetry)
กลุ่ม Protostomia และมีตัวอ่อนแบบ ecdysozoa
สัตว์ในไฟลัมนี้สามารถแบ่งตามประเภทการดารงชีวิตได้
3 ประเภท ได้แก่
1. พยาธิตัวกลมในลาไส้ เช่น พยาธิเส้นด้าย พยาธิปากขอ
พยาธิไส้เดือนตัวกลม พยาธิแส้ม้า
2. พยาธิตัวกลมในเนื้อเยื่อ เช่น พยาธิโรคเท้าช้าง พยาธิตัวจี๊ด
3. พยาธิตัวกลมที่เป็นอิสระ เช่น หนอนน้าส้มสายชู ไส้เดือนฝอย
หนอนในน้าเน่า
• มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น และมีช่องตัวแบบแท้งจริง
• ลาตัวมีลักษณะเป็นปล้อง แบ่งออกเป็น3 ส่วน คือ ส่วนหัว ส่วนอก และ
ส่วนท้อง และมีรยางค์เป็นข้อๆต่อกัน ยื่นออกจากลาตัวเป็นคู่ๆ
• ทางเดินอาหารเป็นแบบสมบูรณ์ มีปากและทวารหนัก
• ระบบหมุนเวียนโลหิตเป็นระบบเปิด (Open circutory sysytem)
• มีระบบขับถ่ายเป็นลักษณะเฉพาะของกลุ่ม
• ระบบประสาทมีปมประสาทที่หัว 1 คู่ และมีเส้นประสาททางด้านท้อง
ทอดไปตามความยาวของลาตัว 1 คู่ มีอวัยวะสัมผัสเจริญดี
• ระบบสืบพันธุ์เป็นสัตว์แยกเพศ
Phylum Arthropoda
สัตว์ในไฟลัมนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 6 Class ได้แก่
1. Class Merostoma ได้แก่
แมงดาจาน(แมงดาหางเหลี่ยม),
แมงดาถ้วย(แมงดาหางกลม)
หรือเหรา มีลาตัวแบ่งออกเป็น
2 ส่วน คือ หัวกับอกรวมกัน
และส่วนท้อง มีรยางค์คู่แรก
ทาหน้าที่ช่วยในการกินอาหาร
มีขาเดิน 5 คู่ ปลายขาคู่
สุดท้ายเป็นแผ่นซ้อนกันใช้ขุด
ทรายเวลาฝังตัว
2. Class Arachnida ได้แก่ แมงมุม แมงป่อง บึ้ง เห็บ ไร ฯลฯ มีส่วนหัว
และอกรวมกัน มีรยางค์ 6 คู่ (คู่ที่ 1-2 ใช้จับอาหารและรับความรู้สึก,
ขาเดิน4คู่) ในแมงมุมที่ส่วนท้ายของท้องมีต่อมสร้างใยและอวัยวะชักใย,
แมงป่องปล้องสุดท้ายเปลี่ยนแปลงเป็นอวัยวะสาหรับต่อยเหยื่อและสร้าง
สารพิษ
3. Class Diplopoda ได้แก่ กิ้งกือ กระสุนพระอินทร์ ตะเข็บ
ลาตัวเป็นปล้องจานวนมาก มีรยางค์ปล้องละ 2 คู่ บริเวณหัวมีหนวด 1 คู่
4. Class Chilopoda ได้แก่ ตะขาบ
มีรยางค์ปล้องละ 1 คู่ บริเวณหัวมีหนวด 1 คู่
ปล้องแรกของลาตัวมีเขี้ยวพิษ 1 คู่ แนบกับส่วนหัว
5. Class Insecta ได้แก่ แมลง, ยุง, เรือด, ไรไก่, เหา, หมัด, เหลือบ
เป็นสัตว์ที่มีจานวนสปีชีส์มากที่สุด ลาตัวแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ หัว อก
และท้อง มีหนวด 1 คู่, มีขา 3 คู่อยู่บริเวณส่วนอก, บางชนิดอาจมีปีก
6. Class Crustacea ได้แก่ กุ้ง, กั้ง, ปู, ไรน้า
มีรยางค์จานวนมากทาหน้าที่พิเศษหลายอย่าง รยางค์ส่วนอกทาหน้าที่ใช้เดิน
รยางค์ส่วนท้องเปลี่ยนไปทาหน้าที่พิเศษ(ว่ายน้า, แลกเปลี่ยนแก๊ส, เป็นที่
เกาะของไข่), มีหนวด 2 คู่
•พบอยู่ในทะเลทั้งหมด
•ตัวอ่อนมีสมมาตรด้านข้าง ตัวเต็มวัยมีสมมาตรรัศมี ส่วนใหญ่ลาตัวเป็นแฉก
•มีโครงร่างแข็งภายในหุ้มด้วย CaCO3 มีผิวชั้นนอกบางเป็นชั้น cutin
•มีระบบท่อน้า (water vascular system) ที่ปรับเปลี่ยนมาจากช่องตัว
แยกไปตามแฉกและแตกแขนงออกเป็น tube feet
•บางชนิดผิวลาตัวมีหนามยื่นออกมา
•อวัยวะที่ใช้ในการหายใจ คือ เหงือกที่ผิวหนัง
Phylum Echinodermata
2.2 มีสมมาตรแบบด้านข้าง (bilateral symmetry)
กลุ่ม Deuterostomia
• ระบบหมุนเวียนโลหิต มีลักษณะลดลงไปอย่างมาก บางชนิดไม่มีเลย ส่วน
การขับถ่ายไม่มีอวัยวะขับถ่ายที่ทาหน้าที่โดยตรง
• ทางเดินอาหารเป็นแบบสมบูรณ์ ยกเว้น ดาวเปราะ
• ระบบประสาทไม่มีส่วนสมองที่แท้จริง
• มีเพศแยกกัน
• ดาวทะเล, ดาวเปราะ, หอยเม่น,
อีแปะทะเล, ปลิงทะเล, พลับพลึงทะเล
ดาวขนนก, ดาวมงกุฎหนาม
• มีลักษณะสาคัญที่พบในวัฎจักรชีวิตในระยะ embryo
1. มีโนโตคอร์ด (notochord) เป็นแท่งยาวตลอดลาตัว อยู่ระหว่างท่อทางเดินอาหาร
และท่อประสาท (แอมฟิออกซัสและปลาปลากลมพบตลอดชีวิต)
2. มีช่องเหงือกอยู่บริเวณคอหอย (pharyngeal gill slits) เป็นคู่ ๆ (ฉลามและ
กระเบนมีตลอดชีวิต, ในมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปเป็นท่อยูสเตเชียน ต่อมทอลซิน
ต่อมไทรอยด์และพาราไทรอยด์)
3. มีท่อประสาทกลวงด้านหลัง (Dorsal Hollow Nerve Cord)
เจริญมาจากเนื้อเยื่อชั้น ectoderm ซึ่งต่อไปจะพัฒนาไปเป็นสมองและไขสันหลัง
4. มีหาง (tail)
Phylum Chordata
กลุ่มที่ไม่มีกระดูกสันหลัง
(Invertebrate)
• Urochordate เป็นสัตว์ที่มีถุงหุ้มตัว
ประกอบด้วยสารคล้ายเซลลูโลส ตัวเต็มวัย
ไม่มีโนโทคอร์ด ไม่มีเส้นประสาทขนาดใหญ่
บริเวณหลัง และหางจะหดหายไปในระยะตัว
เต็มวัย เช่น เพรียงหัวหอม (Tunicate)
Amphioxus
• Cephalochordate สัตว์ที่ระยะตัวเต็มวัยมีท่อประสาทขนาดใหญ่ที่บริเวณหลัง มีโนโทคอร์ด
ยาวตลอดลาตัวและมีตลอดชีวิต มีช่องเหงือกที่คอหอย และมีหาง เช่น แอมฟิออกซัส
(Amphioxus)
กลุ่มมีกระดูกสันหลัง (vertebrate)
1. กลุ่มที่ไม่มีขากรรไกร
Class Cyclostomata หรือ Class Agnatha เช่น hagfish, lampray
กลุ่มนี้เรียกว่า ปลาปากกลม เนื่องจากไม่มีขากรรไกร ลาตัวยาวคล้ายปลาไหล
ขอบบนของปากและลิ้นมีฟันเล็กๆ แหลมคมมากมาย มีโครงร่างเป็นกระดูกอ่อน
ลาตัวนิ่ม ไม่มีเกล็ด ไม่มีครีบคู่เหมือนปลาทั่วไป
2. กลุ่มที่มีขากรรไกร
Class Chondrichthyes
ได้แก่ ปลากระดูกอ่อน มี
โครงร่างเป็นกระดูกอ่อนที่
ยืดหยุ่นตัวดี มีขากรรไกร
มีช่องเหงือกเห็นชัดเจนจาก
ภายนอก มีครีบคู่ หรือ
ครีบเดี่ยว มีเกล็ดที่คมปก
คลุมผิวหนัง มีปากอยู่ด้าน
ท้อง มีฟันแหลมคม มีการ
ปฏิสนธิภายในและออกลูก
เป็นตัว เป็นสัตว์เลือดเย็น
เช่น
ปลากระเบน ปลาฉลาม
ปลาโรนัน ปลาฉนาก
Class Osteicthyes ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง
ซึ่งภายในเป็นกระดูกแข็งที่มี Ca3(PO4)2
มีเกล็ดปกคลุม มีครีบคู่ 2 คู่ คือ ครีบอก
และครีบสะโพก ใช้เหงือกแลกเปลื่ยนแก๊ส
ยกเว้น ปลาปอด, ปลาที่มีครีบเนื้อ
(coelacanth) จะใช้ปอดในการหายใจ
มีแผ่นปิดช่องเหงือก(operculum) มีถุงลม
(air bladder)ช่วยควบคุมการลอยตัวในน้า
ส่วนใหญ่ปฏิสนธิภายนอกร่างกาย เป็นสัตว์
เลือดเย็น ได้แก่ ปลาช่อน ปลาดุก ปลาทู
ปลาตะเพียน ม้าน้า ฯลฯ
Class Amphibia ได้แก่ สัตว์สะเทินบกสะเทินน้า
ตัวอ่อนอยู่ในน้าหายใจด้วยเหงือกภายนอก ตัวเต็มวัยอยู่
บนบกหายใจด้วยปอดผิวหนัง ยกเว้นซาลามานเดอร์บาง
ชนิดที่อยู่ในน้าตลอดชีวิต วางไข่ในน้า ปฏิสนธิภายนอก
ผิวหนังไม่มีเกล็ดและเปียกชื้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
เพื่อการเจริญเติบโต (metamorphosis) มีหัวใจ 3 ห้อง
เป็นสัตว์เลือดเย็น แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มกบ
กลุ่มซาลามานเดอร์ และกลุ่มงูดิน
Class Reptilia ได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ใน
คลาสนี้เป็นสัตว์บกอย่างแท้จริง มี 4 ขา ปลายนิ้ว
มีเล็บ ผิวหนังมีเกล็ดมีสารเคราทิน(keratin) เพื่อ
ป้องกันการสูญเสียน้าจากร่างกาย หายใจด้วยปอด
มีหัวใจ 3 ห้อง (ยกเว้น จระเข้) เป็นสัตว์เลือดเย็น
มีการปฏิสนธิภายใน วางไข่บนบก ไข่มีเปลือกแข็ง
และเหนียว ภายในไข่มีถุงแอลเลนทอยส์ ทาหน้าที่
แลกเปลี่ยนก๊าซ ขณะเจริญเติบโตในไข่ เช่น เต่า
จระเข้ ตุ๊กแก จิ้งเหลน จิ้งจก งู กิ้งก่า ฯลฯ
Class Aves ได้แก่ สัตว์ปีก เป็น
ลาตัวมีขน (Feather) ปกคลุม ขามี
2 ข้าง นิ้วมีเล็บ ขาหน้าเปลี่ยนแปลง
เป็นปีก กระดูกบางเป็นโพรง จึงมี
น้าหนักตัวเบา มีถุงลมแทรกไปตาม
ช่องว่างของลาตัวและตามโพรงกระดูก
ไข่มีเปลือกแข็งหุ้มปริมาณไข่แดงมาก
เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีหัวใจ 4 ห้อง
ไม่มีต่อมเหงื่อ ไม่มีต่อมน้านม
ปฏิสนธิภายใน ได้แก่ นกประเภท
ต่างๆ ทั้งที่บินได้และบินไม่ได้
Class Mammalia ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
• ในเพศเมียทุกชนิดมีต่อมน้านมทาหน้าที่ผลิตน้านมสาหรับเลี้ยงลูกอ่อน
• มีขนเป็นเส้นๆ (Hair) คลุมตัว
• เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีอุณหภูมิในร่างกาย
• หัวใจมี 4 ห้อง เม็ดเลือดแดงไม่มีนิวเคลียส
• มีการปฏิสนธิภายในร่างกาย ตัวอ่อนเจริญภายในมดลูก เกือบทุกชนิดออกลูก
เป็นตัว ยกเว้น ตุ่นปากเป็ดและตัวกินมดมีหนาม
• ตัวอย่างเช่น นางอาย ลิง ชิมแปนซี ชะนี เสือ แมว สุนัข สุกร สิงโต
หมาใน หมี พังพอน โค กระบือ ช้าง ม้า มนุษย์ หนู ค้างคาว นางอาย
ปลาวาฬ โลมา แมวน้า สิงโตทะเล ฯลฯ
กลุ่ม Monotremes
• มีลักษณะโบราณ คือ ออกลูกเป็นไข่ แต่มีขน
และต่อมน้านม
• ตัวอ่อนฟักออกจากไข่แล้วจะเลียน้านมบริเวณ
หน้าท้องของแม่กิน
• พบเฉพาะในประเทศออสเตรเลียและนิวกินี
เท่านั้น เช่น ตุ่นปากเป็ด (Platypus) , ตัวกิน
มดมีหนาม (Equidna)
กลุ่ม Marsupials
• มีถุงหน้าท้อง ภายในมีต่อมน้านมที่มีหัวนม
เพื่อเลี้ยงดูตัวอ่อน เนื่องจากสัตว์กลุ่มนี้ตั้งท้องใน
ระยะเวลาที่สั้นมาก (ตัวอ่อนพัฒนาในถุงหน้า
ท้องแม่จนเป็นตัวเต็มวัย)
• ตัวอย่างเช่น kangaroo, opossum, koala,
sugar glider, marsupial mole, wombat
กลุ่ม Eutherians
• มีรก (placenta) ใช้ส่งสารอาหารเลี้ยงตัว
อ่อน
• ใช้ระยะเวลาในการตั้งท้องนานกว่ากลุ่ม
marsupial โดยตัวอ่อนเจริญเติบโตที่สมบูรณ์
ภายในมดลูก
• สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมทั่วไป เช่น นางอาย
ลิง ชิมแปนซี ชะนี เสือ แมว สุนัข สุกร
สิงโต หมาใน หมี พังพอน โค กระบือ ช้าง
ม้า มนุษย์ หนู ค้างคาว นางอาย ปลาวาฬ
โลมา แมวน้า สิงโตทะเล
Primate
• มีมือและเท้าสาหรับยึดเกาะ
มีนิ้วหัวแม่มือพับขวางได้
• มีสมองขนาดใหญ่
ขากรรไกรสั้น ใบหน้าแบน
• มีเล็บแบนทั้งนิ้วมือนิ้วเท้า
• มีพฤติกรรมในการเลี้ยงลูก
อ่อนและพฤติกรรมทางสังคมที่
ซับซ้อน
• แบ่งสายวิวัฒนาการออกเป็น
2 สาย คือ Prosimian และ
Anthropoid
Prosimian
• ลาตัวมีขนาดเล็ก ตากลมโต
• มีนิ้ว 5 นิ้ว ออกหากินเวลากลางคืน
• ได้แก่ ลิงลมหรือนางอาย (Lemurs),
ลิงทาร์ซิเออร์ (Tarsiers)
Anthropoids
• สมองมีขนาดใหญ่ หน้าผากแบน
• มองเห็นได้ดีในเวลากลางวัน
• แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ ลิงมีหาง ลิงไม่มีหาง
และมนุษย์
• ลิงมีหาง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
ลิงโลกเก่า คือ ลิงที่ไม่สามารถใช้หางใน
การยึดเกาะต้นไม้ได้ เช่น ลิงแสม ลิงบาบูน
ลิงโลกใหม่ คือ ลิงที่สามารถใช้หางในการ
ยึดเกาะต้นไม้ได้ เช่น ลิงสไปเดอร์
Anthropoids
•ลิงไม่มีหาง (ape) ได้แก่ ชะนี อุรังอุตัง
กอริลลา และชิมแปนซี
• สืบสายวิวัฒนาการมาจากลิงโลกเก่า
• แขนยาว แต่ขาสั้น และไม่มีหาง

More Related Content

What's hot

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to Kingdom Animalia

อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชPandora Fern
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955Bira39
 
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)Churuthikorn Kummoo
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 

Similar to Kingdom Animalia (20)

อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
 
Animalia kingdom
Animalia kingdomAnimalia kingdom
Animalia kingdom
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
ไฟลัมซีเลนเทอราตา(Phylum Coelenterata)
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
Body
BodyBody
Body
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 

More from Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 

More from Thanyamon Chat. (20)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 

Kingdom Animalia

  • 2.
  • 3. นิยามของสัตว์ (Animal) • เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (Multicellular) • เป็นพวกยูคาริโอตที่กินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหารและมีเนื้อเยื่อที่พัฒนามาจากเยื่อคัพภะ (heterotrophic eukaryotes with tissues that develop from embryonic layers) • มีลักษณะบ่งบอกความเป็นสัตว์เพียงพอที่จะจัดแยกออกเป็นหมวดหมู่ (Several characteristics of animals Sufficiently define the group) • ร่างกายประกอบด้วยโปรตีนโครงสร้าง (structural proteins) เช่น collagen • มีเนื้อเยื่อประสาทและเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ (Nervous tissue and muscle tissue) ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของพวกสัตว์ (unique to animals)
  • 4. เกณฑ์ที่ใช้ในการจาแนกหมวดหมู่ของอาณาจักรสัตว์ 1. ระดับการทางานร่วมกันของเซลล์ (Level of cell organization) 2. สมมาตร (Symmetry) 3. ลักษณะช่องว่างในลาตัวหรือช่องตัว (Body cavity or coelom) 4. การเปลี่ยนแปลงของ Blastopore 5. การเจริญในระยะตัวอ่อน 6. การแบ่งเป็นปล้อง (Segmentation)
  • 5. 1. ระดับการทางานร่วมกันของเซลล์ (Level of cell organization) 1.1 No true tissue (เนื้อเยื่อที่ไม่แท้จริง) 1.2 True tissue (เนื้อเยื่อที่แท้จริง) 1.2.1 เนื้อเยื่อ 2 ชั้น (Diploblastica) 1.2.2 เนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica)
  • 6.
  • 7. 2. สมมาตร (Symmetry) 2.1 Asymmetry (ไม่มีสมมาตร) 2.2 Radial symmetry (สมมาตรแบบรัศมี) 2.3 Bilateral symmetry (สมมาตรแบบครึ่งซีก)
  • 8.
  • 9. 3. ลักษณะช่องว่างในลาตัวหรือช่องตัว (Body cavity or coelom) 3.1 acoelom หรือ No body cavity (ไม่มีช่องว่างในลาตัวหรือไม่มีช่องตัว) 3.2 Pseudocoelom (มีช่องตัวเทียม) 3.3 Eucoelom or True coelom (มีช่องตัวที่แท้จริง)
  • 10.
  • 11.
  • 12. 4. การเปลี่ยนแปลง ของ Blastopore 4.1 Protostomia คือพวกที่ blastopore เปลี่ยนเป็น ช่องปาก หรือเป็นสัตว์พวก ที่ช่องปากเกิดก่อนช่องทวาร 4.2 Deuterostomia คือ พวกที่ blastopore เปลี่ยนเป็นช่องทวาร หรือ เป็นสัตว์พวกที่ช่องปากเกิด ภายหลังช่องทวาร
  • 13.
  • 14. 5. การเจริญในระยะตัวอ่อน พบในสัตว์กลุ่มที่มีช่องปากแบบ protostomia 5.1 Trochophore พบในสัตว์พวก หนอนตัวแบน ไส้เดือนดิน ปลิง หอย หมึก 5.2 Ecdysozoa เป็นกลุ่มที่มีการ ลอกคราบขณะเจริญเติบโต พบใน หนอนตัวกลม และ อาร์โทพอด
  • 15.
  • 16. 6.1 Superficial segmentation (การแบ่งเป็นปล้องเฉพาะภายนอก เฉพาะที่ผิวลาตัว) เช่น พยาธิตัวตืด 6.2 Metameric segmentation (การแบ่งเป็นปล้องที่แท้จริง เกิดจาก เนื้อเยื่อชั้น mesoderm แล้วทาให้เนื้อเยื่อ ชั้นอื่นเกิดปล้องตามไปด้วยตลอดลาตัว) เช่น ไส้เดือนดิน อาร์โทรพอด สัตว์มี กระดูกสันหลัง 6. การแบ่งเป็นปล้อง (Segmentation)
  • 17. Animal Kingdom 1. Phylum Porifera 2. Phylum Coelenterata 3. Phylum Platyhelminthes 4. Phylum Nematoda 5. Phylum Mollusca 6. Phylum Annelida 7. Phylum Arthropoda 8. Phylum Echinodermata 9. Phylum Chordata
  • 18. • ลาตัวเป็นรูพรุน • สมมาตรแบบรัศมี หรือไม่มีสมมาตร • มีช่องน้าเข้าและช่องน้าออก • มีโครงร่างแข็งหรือเป็นเส้นใยโปรตีน • ผนังตัวของฟองน้าประกอบด้วยเซลล์ 2 ชั้น • ไม่มีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และระบบประสาท • มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ Phylum Porifera 1. กลุ่มที่ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง
  • 19. ใช้โครงสร้างค้าจุน (spicule) จาแนกแบ่งออกเป็น 3 Class ได้แก่ 1. Class Calcarea ได้แก่ ฟองน้าที่มีแกนแข็ง เป็นพวกหินปูน (CaCO3) 2. Class Hexactinellida ได้แก่ ฟองน้าที่มีแกนแข็งเป็นพวกแก้วหรือทราย (Silica) 3. Class Demospongiae ได้แก่ ฟองน้าถูตัวที่มีแกนอ่อนนุ่ม ประกอบด้วยสารประเภท Scleroprotien
  • 20. • เป็นสัตว์ที่มีเนื้อเยื่อสองชั้น • ทางเดินอาหารเป็นแบบไม่สมบูรณ์ มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก • มีเข็มพิษ หรือNematocyst ใช้ในการป้องกัน และฆ่าเหยื่อ • ไม่มีระบบหายใจ ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบขับถ่ายโดยเฉพาะ • ระบบประสาทเป็นแบบข่ายใยประสาท (Nerve net) แผ่กระจายทั่วตัว และหนาแน่นบริเวณหนวด • การสืบพันธุ์ มีทั้งแบบอาศัยเพศ และแบบไม่อาศัยเพศแบบอาศัยเพศ Phylum Coelenterata / Cnidaria 2. กลุ่มที่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง 2.1 สมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry)
  • 21. • มีรูปร่างเป็น 2 แบบ คือ - Polyp รูปร่างแบบต้นไม้ ได้แก่ ไฮดรา ปะการัง ดอกไม้ทะเล - Medusa รูปร่างคล้ายร่ม หรือกระดิ่งคว่า ได้แก่ แมงกะพรุน
  • 22. สัตว์ในไฟลัมนี้แบ่งออกเป็น 3 Class ได้แก่ 1. Hydrozoa ส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็น Polyp บางช่วงเป็น Medusa อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม (Colony) เช่น โอบีเลีย แมงกระพรุนน้าจืด แมงกระพรุนลอย และไฮดรา 2. Scyphozoa ส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็น Medusa (รูปร่าง คล้ายร่ม ว่ายน้าได้อิสระ) เช่น แมงกระพรุนไฟ แมงกระพรุนจาน 3. Anthozoa มีรูปร่างเป็นแบบ Polyp เท่านั้น อยู่รวมกัน เป็นกลุ่ม มีการสร้างสารหินปูนเป็นเปลือกหุ้ม เช่น พวกปะการัง หรือกัลปังหา
  • 23. • มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น • ไม่มีช่องตัว (acoelomate / noncoelom) • ร่างกายแบนทางด้านหลัง และด้านท้อง ไม่มีข้อ ปล้อง • มีท่อทางเดินอาหารที่เป็นปลายตัน หรือเป็น แบบที่ไม่สมบูรณ์ มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก • มีปมประสาทสมอง อวัยวะรับความรู้สึก และ ช่องปากมารวมกันอยู่ทางด้านหน้าของลาตัว Phylum Platyhelminthes 2.2 มีสมมาตรแบบด้านข้าง (bilateral symmetry) กลุ่ม Protostomia และมีตัวอ่อนแบบ Trochophore
  • 24. • ระบบขับถ่าย มีอวัยวะ ที่เรียกว่า protonephridia • ไม่มีอวัยวะที่ใช้ในการหายใจโดยเฉพาะ • ระบบประสาท ประกอบด้วย ปมประสาทด้านหน้า (anterior ganglia) หรือปมประสาท • ระบบสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยมีสองเพศอยู่ในตัวเดียวกัน จัดเป็นกะเทย (hermaphrodite)
  • 25. สัตว์ในไฟลัมนี้แบ่งออกเป็น 3 Class ได้แก่ 1. Class Turbellaria เช่น พลานาเรีย ซึ่งดารงชีพโดยหากินอย่างอิสระ 2. Class Trematoda เช่น พยาธิใบไม้ชนิดต่างๆ ซึ่งดารงชีพโดยการ เป็นปรสิต 3. Class Cestoda เช่น พยาธิตัวตืด ซึ่งดารงชีพโดยเป็นปรสิต
  • 26. • สัตว์ลาตัวนิ่ม มักมีเปลือกแข็งที่มี CaCO3 หุ้มลาตัว ไม่มีปล้อง • มี mantle ทาหน้าที่สร้างเปลือกหุ้มลาตัว (หมึกกล้วยและหมึกยักษ์ไม่มี เปลือกแข็งเนื่องจากได้หายไประหว่างการเกิดวิวัฒนาการ) • ระบบทางเดินอาหารเป็นแบบสมบูรณ์ คือ มีปากและทวารหนัก • มีช่องตัวที่แท้จริง (coelom) • ระบบหมุนเวียนโลหิตเป็นระบบเปิด (open circulation system) • แลกเปลี่ยนแก๊สโดยใช้เหงือก หรือปอด ผิวหนัง และเยื่อแมนเทิล • การขับถ่ายมีไต หรือเนฟริเดียม (nephridium) • ระบบประสาท ประกอบด้วย ปมประสาท 3 คู่ และมีเส้นประสาทใหญ่ 2 คู่ Phylum Mollusca
  • 27. สัตว์ในไฟลัมนี้แบ่งออกเป็น 5 Class ได้แก่ 1. Class Gastropoda เช่น หอยสังข์ หอยโข่ง หอยขม และหอยทาก 2. Class PolyPlascophora เช่น ลิ่นทะเล 3. Class Pelecypoda เช่น หอยกาบ หอยนางรม หอยแครง หอยเสียบ 4. Class Scaphopoda เช่น หอยงาช้าง 5. Class Cephalopoda เช่น หมึกกล้วย หมึกกระดอง หมึกสาย หมึกยักษ์
  • 28. • ลาตัวแบ่งออกเป็นปล้องอย่างชัดเจน ภายในมีเยื่อกั้น (ร่างกายแบ่งเป็น ปล้องอย่างแท้จริง) • มีเนื้อเยื่อสามชั้น มีช่องตัวที่แท้จริง • มีรยางค์เป็นแท่งเล็กๆ เรียกว่า เดือย (setae) เป็นสารไคติน (chitin) • หายใจผ่านทางผิวหนัง หรือเหงือก • มีอวัยวะขับถ่ายอยู่ทุกปล้องๆ ละ 1 คู่ เรียกว่า เนฟริเดีย (nephridia) • เป็นกะเทย (hermaphrodite) แต่มีการปฏิสนธิข้ามตัว • ทางเดินอาหารสมบูรณ์เป็นท่อยาวตลอดร่างกาย • ระบบหมุนเวียนโลหิตเป็นแบบปิด (closed circulatory system) Phylum Annelida
  • 29. สัตว์ในไฟลัมนี้แบ่งออกเป็น 4 Class ได้แก่ 1. Class Oligochaeta เช่น ไส้เดือนดิน 2. Class Polychaeta เช่น แม่เพรียง ไส้เดือนทะเล 3. Class Hirudinea เป็นกลุ่มที่ดูดเลือดของสัตว์อื่นชั่วคราวโดยการ ปล่อยสารคล้ายยาชา และปล่อยสาร hirudin ที่เป็นสารป้องกันไม่ให้ เลือดของโฮสต์แข็งตัว เช่น ปลิงน้าจืด ปลิงดูดเลือด ปลิงควาย ปลิงเข็ม ทากดูดเลือด 4. Class Archiannelida เช่น หนอนทะเล
  • 30. • มีเนื้อเยื่อสามชั้น มีช่องว่างในลาตัวแบบเทียม (Pseudocoelomate) • ลาตัวกลม ยาว แหลมหัวแหลมท้าย ไม่มีข้อปล้อง มีสารคิวทิเคิลหุ้มตัว • ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด ไม่มีอวัยวะหายใจ • เป็นสัตว์แยกเพศ • ทางเดินอาหารสมบูรณ์ ประกอบด้วยปากและทวารหนัก • มีปมประสาทรูปวงแหวน (Nerve ring) อยู่รอบคอหอย และมีแขนงประสาทแยก ออกทางด้านท้อง และทางด้านหลัง • มีระบบกล้ามเนื้อยาวตลอดลาตัว (Longitudinal muscle) Phylum Nematoda 2.2 มีสมมาตรแบบด้านข้าง (bilateral symmetry) กลุ่ม Protostomia และมีตัวอ่อนแบบ ecdysozoa
  • 31. สัตว์ในไฟลัมนี้สามารถแบ่งตามประเภทการดารงชีวิตได้ 3 ประเภท ได้แก่ 1. พยาธิตัวกลมในลาไส้ เช่น พยาธิเส้นด้าย พยาธิปากขอ พยาธิไส้เดือนตัวกลม พยาธิแส้ม้า 2. พยาธิตัวกลมในเนื้อเยื่อ เช่น พยาธิโรคเท้าช้าง พยาธิตัวจี๊ด 3. พยาธิตัวกลมที่เป็นอิสระ เช่น หนอนน้าส้มสายชู ไส้เดือนฝอย หนอนในน้าเน่า
  • 32. • มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น และมีช่องตัวแบบแท้งจริง • ลาตัวมีลักษณะเป็นปล้อง แบ่งออกเป็น3 ส่วน คือ ส่วนหัว ส่วนอก และ ส่วนท้อง และมีรยางค์เป็นข้อๆต่อกัน ยื่นออกจากลาตัวเป็นคู่ๆ • ทางเดินอาหารเป็นแบบสมบูรณ์ มีปากและทวารหนัก • ระบบหมุนเวียนโลหิตเป็นระบบเปิด (Open circutory sysytem) • มีระบบขับถ่ายเป็นลักษณะเฉพาะของกลุ่ม • ระบบประสาทมีปมประสาทที่หัว 1 คู่ และมีเส้นประสาททางด้านท้อง ทอดไปตามความยาวของลาตัว 1 คู่ มีอวัยวะสัมผัสเจริญดี • ระบบสืบพันธุ์เป็นสัตว์แยกเพศ Phylum Arthropoda
  • 33. สัตว์ในไฟลัมนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 6 Class ได้แก่ 1. Class Merostoma ได้แก่ แมงดาจาน(แมงดาหางเหลี่ยม), แมงดาถ้วย(แมงดาหางกลม) หรือเหรา มีลาตัวแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หัวกับอกรวมกัน และส่วนท้อง มีรยางค์คู่แรก ทาหน้าที่ช่วยในการกินอาหาร มีขาเดิน 5 คู่ ปลายขาคู่ สุดท้ายเป็นแผ่นซ้อนกันใช้ขุด ทรายเวลาฝังตัว
  • 34. 2. Class Arachnida ได้แก่ แมงมุม แมงป่อง บึ้ง เห็บ ไร ฯลฯ มีส่วนหัว และอกรวมกัน มีรยางค์ 6 คู่ (คู่ที่ 1-2 ใช้จับอาหารและรับความรู้สึก, ขาเดิน4คู่) ในแมงมุมที่ส่วนท้ายของท้องมีต่อมสร้างใยและอวัยวะชักใย, แมงป่องปล้องสุดท้ายเปลี่ยนแปลงเป็นอวัยวะสาหรับต่อยเหยื่อและสร้าง สารพิษ
  • 35. 3. Class Diplopoda ได้แก่ กิ้งกือ กระสุนพระอินทร์ ตะเข็บ ลาตัวเป็นปล้องจานวนมาก มีรยางค์ปล้องละ 2 คู่ บริเวณหัวมีหนวด 1 คู่ 4. Class Chilopoda ได้แก่ ตะขาบ มีรยางค์ปล้องละ 1 คู่ บริเวณหัวมีหนวด 1 คู่ ปล้องแรกของลาตัวมีเขี้ยวพิษ 1 คู่ แนบกับส่วนหัว
  • 36. 5. Class Insecta ได้แก่ แมลง, ยุง, เรือด, ไรไก่, เหา, หมัด, เหลือบ เป็นสัตว์ที่มีจานวนสปีชีส์มากที่สุด ลาตัวแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ หัว อก และท้อง มีหนวด 1 คู่, มีขา 3 คู่อยู่บริเวณส่วนอก, บางชนิดอาจมีปีก 6. Class Crustacea ได้แก่ กุ้ง, กั้ง, ปู, ไรน้า มีรยางค์จานวนมากทาหน้าที่พิเศษหลายอย่าง รยางค์ส่วนอกทาหน้าที่ใช้เดิน รยางค์ส่วนท้องเปลี่ยนไปทาหน้าที่พิเศษ(ว่ายน้า, แลกเปลี่ยนแก๊ส, เป็นที่ เกาะของไข่), มีหนวด 2 คู่
  • 37. •พบอยู่ในทะเลทั้งหมด •ตัวอ่อนมีสมมาตรด้านข้าง ตัวเต็มวัยมีสมมาตรรัศมี ส่วนใหญ่ลาตัวเป็นแฉก •มีโครงร่างแข็งภายในหุ้มด้วย CaCO3 มีผิวชั้นนอกบางเป็นชั้น cutin •มีระบบท่อน้า (water vascular system) ที่ปรับเปลี่ยนมาจากช่องตัว แยกไปตามแฉกและแตกแขนงออกเป็น tube feet •บางชนิดผิวลาตัวมีหนามยื่นออกมา •อวัยวะที่ใช้ในการหายใจ คือ เหงือกที่ผิวหนัง Phylum Echinodermata 2.2 มีสมมาตรแบบด้านข้าง (bilateral symmetry) กลุ่ม Deuterostomia
  • 38. • ระบบหมุนเวียนโลหิต มีลักษณะลดลงไปอย่างมาก บางชนิดไม่มีเลย ส่วน การขับถ่ายไม่มีอวัยวะขับถ่ายที่ทาหน้าที่โดยตรง • ทางเดินอาหารเป็นแบบสมบูรณ์ ยกเว้น ดาวเปราะ • ระบบประสาทไม่มีส่วนสมองที่แท้จริง • มีเพศแยกกัน • ดาวทะเล, ดาวเปราะ, หอยเม่น, อีแปะทะเล, ปลิงทะเล, พลับพลึงทะเล ดาวขนนก, ดาวมงกุฎหนาม
  • 39. • มีลักษณะสาคัญที่พบในวัฎจักรชีวิตในระยะ embryo 1. มีโนโตคอร์ด (notochord) เป็นแท่งยาวตลอดลาตัว อยู่ระหว่างท่อทางเดินอาหาร และท่อประสาท (แอมฟิออกซัสและปลาปลากลมพบตลอดชีวิต) 2. มีช่องเหงือกอยู่บริเวณคอหอย (pharyngeal gill slits) เป็นคู่ ๆ (ฉลามและ กระเบนมีตลอดชีวิต, ในมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปเป็นท่อยูสเตเชียน ต่อมทอลซิน ต่อมไทรอยด์และพาราไทรอยด์) 3. มีท่อประสาทกลวงด้านหลัง (Dorsal Hollow Nerve Cord) เจริญมาจากเนื้อเยื่อชั้น ectoderm ซึ่งต่อไปจะพัฒนาไปเป็นสมองและไขสันหลัง 4. มีหาง (tail) Phylum Chordata
  • 40.
  • 41. กลุ่มที่ไม่มีกระดูกสันหลัง (Invertebrate) • Urochordate เป็นสัตว์ที่มีถุงหุ้มตัว ประกอบด้วยสารคล้ายเซลลูโลส ตัวเต็มวัย ไม่มีโนโทคอร์ด ไม่มีเส้นประสาทขนาดใหญ่ บริเวณหลัง และหางจะหดหายไปในระยะตัว เต็มวัย เช่น เพรียงหัวหอม (Tunicate)
  • 42. Amphioxus • Cephalochordate สัตว์ที่ระยะตัวเต็มวัยมีท่อประสาทขนาดใหญ่ที่บริเวณหลัง มีโนโทคอร์ด ยาวตลอดลาตัวและมีตลอดชีวิต มีช่องเหงือกที่คอหอย และมีหาง เช่น แอมฟิออกซัส (Amphioxus)
  • 43. กลุ่มมีกระดูกสันหลัง (vertebrate) 1. กลุ่มที่ไม่มีขากรรไกร Class Cyclostomata หรือ Class Agnatha เช่น hagfish, lampray กลุ่มนี้เรียกว่า ปลาปากกลม เนื่องจากไม่มีขากรรไกร ลาตัวยาวคล้ายปลาไหล ขอบบนของปากและลิ้นมีฟันเล็กๆ แหลมคมมากมาย มีโครงร่างเป็นกระดูกอ่อน ลาตัวนิ่ม ไม่มีเกล็ด ไม่มีครีบคู่เหมือนปลาทั่วไป
  • 44. 2. กลุ่มที่มีขากรรไกร Class Chondrichthyes ได้แก่ ปลากระดูกอ่อน มี โครงร่างเป็นกระดูกอ่อนที่ ยืดหยุ่นตัวดี มีขากรรไกร มีช่องเหงือกเห็นชัดเจนจาก ภายนอก มีครีบคู่ หรือ ครีบเดี่ยว มีเกล็ดที่คมปก คลุมผิวหนัง มีปากอยู่ด้าน ท้อง มีฟันแหลมคม มีการ ปฏิสนธิภายในและออกลูก เป็นตัว เป็นสัตว์เลือดเย็น เช่น ปลากระเบน ปลาฉลาม ปลาโรนัน ปลาฉนาก
  • 45. Class Osteicthyes ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง ซึ่งภายในเป็นกระดูกแข็งที่มี Ca3(PO4)2 มีเกล็ดปกคลุม มีครีบคู่ 2 คู่ คือ ครีบอก และครีบสะโพก ใช้เหงือกแลกเปลื่ยนแก๊ส ยกเว้น ปลาปอด, ปลาที่มีครีบเนื้อ (coelacanth) จะใช้ปอดในการหายใจ มีแผ่นปิดช่องเหงือก(operculum) มีถุงลม (air bladder)ช่วยควบคุมการลอยตัวในน้า ส่วนใหญ่ปฏิสนธิภายนอกร่างกาย เป็นสัตว์ เลือดเย็น ได้แก่ ปลาช่อน ปลาดุก ปลาทู ปลาตะเพียน ม้าน้า ฯลฯ
  • 46. Class Amphibia ได้แก่ สัตว์สะเทินบกสะเทินน้า ตัวอ่อนอยู่ในน้าหายใจด้วยเหงือกภายนอก ตัวเต็มวัยอยู่ บนบกหายใจด้วยปอดผิวหนัง ยกเว้นซาลามานเดอร์บาง ชนิดที่อยู่ในน้าตลอดชีวิต วางไข่ในน้า ปฏิสนธิภายนอก ผิวหนังไม่มีเกล็ดและเปียกชื้น มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เพื่อการเจริญเติบโต (metamorphosis) มีหัวใจ 3 ห้อง เป็นสัตว์เลือดเย็น แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มกบ กลุ่มซาลามานเดอร์ และกลุ่มงูดิน
  • 47. Class Reptilia ได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ใน คลาสนี้เป็นสัตว์บกอย่างแท้จริง มี 4 ขา ปลายนิ้ว มีเล็บ ผิวหนังมีเกล็ดมีสารเคราทิน(keratin) เพื่อ ป้องกันการสูญเสียน้าจากร่างกาย หายใจด้วยปอด มีหัวใจ 3 ห้อง (ยกเว้น จระเข้) เป็นสัตว์เลือดเย็น มีการปฏิสนธิภายใน วางไข่บนบก ไข่มีเปลือกแข็ง และเหนียว ภายในไข่มีถุงแอลเลนทอยส์ ทาหน้าที่ แลกเปลี่ยนก๊าซ ขณะเจริญเติบโตในไข่ เช่น เต่า จระเข้ ตุ๊กแก จิ้งเหลน จิ้งจก งู กิ้งก่า ฯลฯ
  • 48. Class Aves ได้แก่ สัตว์ปีก เป็น ลาตัวมีขน (Feather) ปกคลุม ขามี 2 ข้าง นิ้วมีเล็บ ขาหน้าเปลี่ยนแปลง เป็นปีก กระดูกบางเป็นโพรง จึงมี น้าหนักตัวเบา มีถุงลมแทรกไปตาม ช่องว่างของลาตัวและตามโพรงกระดูก ไข่มีเปลือกแข็งหุ้มปริมาณไข่แดงมาก เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีหัวใจ 4 ห้อง ไม่มีต่อมเหงื่อ ไม่มีต่อมน้านม ปฏิสนธิภายใน ได้แก่ นกประเภท ต่างๆ ทั้งที่บินได้และบินไม่ได้
  • 49. Class Mammalia ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม • ในเพศเมียทุกชนิดมีต่อมน้านมทาหน้าที่ผลิตน้านมสาหรับเลี้ยงลูกอ่อน • มีขนเป็นเส้นๆ (Hair) คลุมตัว • เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีอุณหภูมิในร่างกาย • หัวใจมี 4 ห้อง เม็ดเลือดแดงไม่มีนิวเคลียส • มีการปฏิสนธิภายในร่างกาย ตัวอ่อนเจริญภายในมดลูก เกือบทุกชนิดออกลูก เป็นตัว ยกเว้น ตุ่นปากเป็ดและตัวกินมดมีหนาม • ตัวอย่างเช่น นางอาย ลิง ชิมแปนซี ชะนี เสือ แมว สุนัข สุกร สิงโต หมาใน หมี พังพอน โค กระบือ ช้าง ม้า มนุษย์ หนู ค้างคาว นางอาย ปลาวาฬ โลมา แมวน้า สิงโตทะเล ฯลฯ
  • 50. กลุ่ม Monotremes • มีลักษณะโบราณ คือ ออกลูกเป็นไข่ แต่มีขน และต่อมน้านม • ตัวอ่อนฟักออกจากไข่แล้วจะเลียน้านมบริเวณ หน้าท้องของแม่กิน • พบเฉพาะในประเทศออสเตรเลียและนิวกินี เท่านั้น เช่น ตุ่นปากเป็ด (Platypus) , ตัวกิน มดมีหนาม (Equidna)
  • 51. กลุ่ม Marsupials • มีถุงหน้าท้อง ภายในมีต่อมน้านมที่มีหัวนม เพื่อเลี้ยงดูตัวอ่อน เนื่องจากสัตว์กลุ่มนี้ตั้งท้องใน ระยะเวลาที่สั้นมาก (ตัวอ่อนพัฒนาในถุงหน้า ท้องแม่จนเป็นตัวเต็มวัย) • ตัวอย่างเช่น kangaroo, opossum, koala, sugar glider, marsupial mole, wombat
  • 52. กลุ่ม Eutherians • มีรก (placenta) ใช้ส่งสารอาหารเลี้ยงตัว อ่อน • ใช้ระยะเวลาในการตั้งท้องนานกว่ากลุ่ม marsupial โดยตัวอ่อนเจริญเติบโตที่สมบูรณ์ ภายในมดลูก • สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมทั่วไป เช่น นางอาย ลิง ชิมแปนซี ชะนี เสือ แมว สุนัข สุกร สิงโต หมาใน หมี พังพอน โค กระบือ ช้าง ม้า มนุษย์ หนู ค้างคาว นางอาย ปลาวาฬ โลมา แมวน้า สิงโตทะเล
  • 53. Primate • มีมือและเท้าสาหรับยึดเกาะ มีนิ้วหัวแม่มือพับขวางได้ • มีสมองขนาดใหญ่ ขากรรไกรสั้น ใบหน้าแบน • มีเล็บแบนทั้งนิ้วมือนิ้วเท้า • มีพฤติกรรมในการเลี้ยงลูก อ่อนและพฤติกรรมทางสังคมที่ ซับซ้อน • แบ่งสายวิวัฒนาการออกเป็น 2 สาย คือ Prosimian และ Anthropoid
  • 54.
  • 55. Prosimian • ลาตัวมีขนาดเล็ก ตากลมโต • มีนิ้ว 5 นิ้ว ออกหากินเวลากลางคืน • ได้แก่ ลิงลมหรือนางอาย (Lemurs), ลิงทาร์ซิเออร์ (Tarsiers)
  • 56. Anthropoids • สมองมีขนาดใหญ่ หน้าผากแบน • มองเห็นได้ดีในเวลากลางวัน • แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ ลิงมีหาง ลิงไม่มีหาง และมนุษย์ • ลิงมีหาง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ลิงโลกเก่า คือ ลิงที่ไม่สามารถใช้หางใน การยึดเกาะต้นไม้ได้ เช่น ลิงแสม ลิงบาบูน ลิงโลกใหม่ คือ ลิงที่สามารถใช้หางในการ ยึดเกาะต้นไม้ได้ เช่น ลิงสไปเดอร์
  • 57. Anthropoids •ลิงไม่มีหาง (ape) ได้แก่ ชะนี อุรังอุตัง กอริลลา และชิมแปนซี • สืบสายวิวัฒนาการมาจากลิงโลกเก่า • แขนยาว แต่ขาสั้น และไม่มีหาง