Publicité

Disenhancement Problem

President at The Philosophy and Religion Society of Thailand à The Philosophy and Religion Society of Thailand
9 Oct 2012
Publicité

Contenu connexe

Plus de Soraj Hongladarom(20)

Publicité

Dernier(20)

Disenhancement Problem

  1. ผลงานวิจยเด่น ั โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ ภาควิชาปรัชญาและ ศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะอักษรศาสตร์
  2. Soraj Hongladarom, “The Disenhancement Problem in Agriculture: A Reply to Thompson,” Nanoethics 6.1(2012): 47 – 54.
  3. ปัญหาและที่มา  นักปรัชญา Paul Thompson ได้ตีพิมพ์บทความเสนอ ประเด็นว่า การใช้เทคโนโลยีเพื่อผลิตไก่ที่เกิดมาตา บอด เป็นการกระทำาที่ถูกจริยธรรม เนื่องจากในฟาร์ม ที่เลี้ยงไก่เป็นจำานวนมากๆ ไก่แต่ละตัวเลี้ยงอยู่ติดกัน มาก ทำาให้ไก่จิกตีกันและเกิดความเครียด หากใช้ เทคโนโลยีเพื่อผลิตไก่ที่เกิดมาตาบอด และต้องเสียค่า ยาและค่ารักษาพยาบาลมาก ก็จะอยู่ในฟาร์มด้วยกัน ได้อย่างดี ไม่มีการจิกตีกันและไม่เครียด ไก่จะมี “ความสุข” มากกว่า ดังนั้นจึงถูกหลักจริยธรรม
  4. ปัญหาและที่มา  ข้อเสนอของ Thompson ถูกต่อต้านอย่างหนักจาก กลุ่มอนุรักษ์สัตว์และที่นาสนใจคือโรงงานผลิตเนื้อไก่ ่ ในสหรัฐ ก็ต่อต้านด้วย เนื่องจากอาจต้องการแสดงว่า ตนเองประพฤติถูกหลักจริยธรรมด้วย ปัญหาของการ ผลิตไก่แบบที่ Thompson เสนอคือเป็นการกระทำาที่ ผิดธรรมชาติ เพราะเป็นการผลิตไก่มาเพื่อเป็น เครื่องจักรผลิตเนื้อป้อนตลาดเท่านั้น ไก่ที่เกิดมาแบบ นี้จะไม่มีวันใช้ชวิตตาม “ปกติ” ที่คยเขี่ยหาอาหารเอง ี ุ้ ได้
  5. ฟาร์มเลี้ยงไก่ใน ปัจจุบน
  6. ปัญหาและที่มา  อย่างไรก็ตาม เหตุผลของ Thompson ก็คือว่า การ เลี้ยงไก่ในฟาร์มขนาดใหญ่อย่างที่เป็นอยู่ เป็นการ ทรมานไก่อย่างยิ่ง เพราะไก่อยู่กันอย่างยัดเยียดแออัด ในเมื่อเราไม่สามารถล้มเลิกระบบเลี้ยงไก่แบบนี้ได้ เพราะมีความต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มสูงขึ้นตลอด เวลา ก็ต้องอาศัยเทคโนโลยีผลิตไก่ที่ไม่จิกตีกัน ทาง เดียวที่ทำาได้คอให้ไก่ตาบอดตั้งแต่กำาเนิด ื
  7. ปัญหาและที่มา  ข้อเสนอของ Thompson วางอยู่บนปัญหาทาง จริยธรรมที่เรียกกันว่า “disenhancement problem” หมายถึงการใช้เทคโนโลยีเพื่อทำาให้สิ่งมีชีวิตมีความ สามารถน้อยกว่าที่เป็นอยู่ตามธรรมชาติ  ปัญหานี้เป็นส่วนกลับของปัญหา “enhancement problem” ซึ่งเป็นเรื่องของการทำาให้สิ่งมีชวิต (โดย ี มากจะเป็นมนุษย์) มีความสามารถมากกว่าที่เป็นอยู่ ตามธรรมชาติ
  8. ปัญหาและที่มา  ข้อเสนอของ Thompson ก็ให้เกิดการถกเถียงและ อภิปรายอย่างกว้างขวาง บรรณาธิการของวารสาร Nanoethics ได้เชิญให้ อ. โสรัจจ์ เขียนบทความเพื่อ วิพากษ์วิจารณ์ข้อเสนอนี้ เพื่อรับการพิจารณาลงตี พิมพ์
  9. ผลการวิจัย  ข้อเสนอของ อ. โสรัจจ์ในบทความ “The Disenhancement Problem in Agriculture: A Reply to Thompson” ได้แก่ว่าปัญหาทางจริยธรรมที่ Thompson เสนอมีรากฐานมาจากแนวคิดการเลี้ยง ไก่แบบอุตสาหกรรม ต้นตอของปัญหาจึงไม่ใช่การ ปรับปรุงยีนของไก่ให้ตาบอด แต่อยู่ที่ระบบการผลิตที่ เน้นประสิทธิภาพและเน้นการผลิตเนื้อไก่ให้ได้ ปริมาณมากที่สุดแต่ต้นทุนถูกที่สด ุ
  10. ผลการวิจัย  Thompson พูดราวกับว่าสังคมไม่มีทางเลือกอื่น นอกจากต้องยอมรับวิธีการเลี้ยงไก่แบบนี้ แต่เรามีทาง ที่จะเลี่ยงมิให้ต้องเกิดปัญหาที่เราต้องเลือกระหว่าง การผลิตไก่ที่ตาดี (แต่จิกกัน) หรือตาบอด (แต่ไม่จิก กัน) ทางเลือกดังกล่าวคือให้การเลี้ยงไก่เป็นกิจกรรม ของชุมชนขนาดเล็ก ระดับตำาบลหรือหมูบ้าน แทนที่ ่ จะเป็นกิจกรรมของโรงงานขนาดใหญ่ระดับข้ามชาติ ที่ต้องใช้ทุนและความชำานาญสูงมาก
  11. ผลการวิจัย  การเลี้ยงไก่ในระดับชุมชนเป็นการสืบเนืองวัฒนธรรม ่ การเลี้ยงไก่ที่มีมาเป็นพันๆปี แนวคิดหลักคือให้ไก่มี เสรีภาพในการเคลื่อนไหวเพื่อหาอาหารและใช้ชวิต ี ตามปกติธรรมดา เนื้อไก่ที่ได้จะมีผลดีต่อสุขภาพ มากกว่า เพราะจะไม่มีไขมันมากเท่า การใช้ยาหรือ ฮอร์โมนก็จะน้อยกว่า  อย่างไรก็ตาม ปัญหาก็คอว่าจะทำาอย่างไรเพื่อให้ได้ ื เนื้อไก่ปริมาณมากๆที่ราคาพอจะซื้อได้ เพื่อเลี้ยงคนที่ มีแต่จะมีความต้องการมากขึ้น
  12. ผลการวิจัย  ทางแก้ปัญหาที่เสนอไว้คือ ให้แต่ละชุมชนรับผิดชอบการผลิตเนื้อ ไก่ของตนเอง การทำาเช่นนี้ให้ได้ผลจริงต้องมีการปรับเปลี่ยนวิถี ชีวิตของผู้คนในสังคมสมัยใหม่พอสมควร โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ สังคมต้องเลือกว่าจะยอมทำาแบบนี้ หรือจะยอมให้มีการใช้ เทคโนโลยีผลิตไก่ที่มีสภาพความเป็นไก่น้อยลงเรื่อยๆ และเป็น เพียงเครื่องจักรผลิตเนื้อมากขึ้น ภายใต้ข้อเสนอเรื่องไก่ชุมชน เนื้อไก่จะต้องแพงขึ้นเพราะปริมาณในตลาดจะน้อยลง ข้อดีคือเรา ไม่จำาเป็นต้องบริโภคเนื้อสัตว์ปริมาณมากเท่าที่เราทำาอยู่ มีเหตุผล ทางจริยธรรมว่าเหตุใดเราจึงควรบริโภคผักและธัญพืชมากขึ้น และกินเนื้อสัตว์ให้น้อยลง
  13. วิธีการวิจัย  การวิเคราะห์ทางปรัชญาและการวิจัยเอกสาร
Publicité