SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
หนวยการเรียนรูที่ 2
                                       เรื่อง จํานวนเต็ม
รายวิชาที่นามาบูรณาการ
            ํ
         ศิลปะ ภาษาไทย
1. มาตรฐานการเรียนรู
         มฐ. ค 1.1 มฐ. ค 1.2 มฐ. ค 4.1
2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
         ค 1.1 ม.1/1 ค 1.2 ม.1/1 ค 4.1 ม.1/1
3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 จํานวนเต็ม
   3.2 การบวกจํานวนเต็ม
   3.3 การลบจํานวนเต็ม
   3.4 การคูณจํานวนเต็ม
   3.5 การหารจํานวนเต็ม
4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
         1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-19 และแบบฝกหัด 1-6
         2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
         3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ
   4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
         1) การปฏิบัติกิจกรรมในชันเรียน
                                 ้
         2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                    39

 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม

                                                               แนวทางการจัดการเรียนรู
        รองรอยการเรียนรู
                                                      บทบาทครู                     บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
     1) การทํากิจกรรมตรวจสอบ            - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง      - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมในชั้น
        ความเขาใจ 1-19 และ             - แนะการทําแบบฝกหัดและ             เรียน
        แบบฝกหัด 1-6                     กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ        - ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและ
     2) การทํากิจกรรมกลุม              - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดใน         แบบฝกหัด
     3) การทํากิจกรรมบูรณาการ             แตละเรื่อง                     - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนรายกลุม
5.2 ผลการปฏิบัตงานไดแก
                 ิ
    1) การปฏิบัติกิจกรรมในชัน
                            ้           - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป    - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด
       เรียนและการใชบริการ               ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนือหา
                                                                    ้       ประจําหนวย
       หองสมุดของโรงเรียนอยาง           ประจําหนวย                     - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยใน
       เหมาะสม                          - แนะนําใหนกเรียนใชบริการ
                                                      ั                     หองสมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุม
    2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ          หองสมุดของโรงเรียนอยาง          สาระการเรียนรูคณิตศาสตร
       กิจกรรมกลุม                       เหมาะสม                         - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบหมาย
                                        - แนะนําวิธการจัดกลุมและการทํา
                                                    ี                       และชวยกันทํากิจกรรมในชันเรียน
                                                                                                        ้
                                          กิจกรรมกลุม

5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์               - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง   - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ
    ทางการเรียน                           ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก
                                          ครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                              40

                                             แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
                                                เรื่อง จํานวนเต็ม
                                                 เวลา 4 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        มีความคิดรวบยอดเกียวกับจํานวนเต็ม สามารถคํานวณเกี่ยวกับจํานวนเต็ม และสามารถนําความรูเกี่ยวกับ
                           ่
จํานวนเต็มไปใชในชีวิตประจําวันได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) จําแนกและยกตัวอยางจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนยได
        2) เปรียบเทียบจํานวนเต็มได
        3) บอกความสัมพันธของจํานวนจากแบบรูปที่กําหนดใหได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
        1) จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนย
        2) การเปรียบเทียบจํานวนเต็ม
        3) จํานวนตรงขาม
        4) คาสัมบูรณของจํานวนเต็ม
        5) แบบรูปของจํานวน
        6) การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางจํานวนสองจํานวน
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
        1) ทักษะการใหเหตุผล
        2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย
        3) ทักษะการแกปญหา
   2.3 ทักษะการคิด
        การคิดวิเคราะห การคิดแปลความ การคิดสรุปความ การคิดคํานวณ

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน/ชินงาน
                 ้
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-9 และแบบฝกหัด 1
        2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                     41

   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
       1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
       2) เลือกหัวหนากลุม
       3) หัวหนากลุมแบงงาน
       4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด
       5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
       6) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
       1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
       2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
       1) นักเรียนรูวธีเปรียบเทียบจํานวนเต็ม
                        ิ
       2) นักเรียนรูวธีหาจํานวนทีตอจากแบบรูปที่กําหนดให
                      ิ            ่

4. แนวทางการวัดและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
       1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
       2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
       3) ทําได 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
       ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพือการเรียนรู
                                 ่
    5.1 ขั้นนํา
        ชั่วโมงที่ 1 (จํานวนเต็มและการเปรียบเทียบจํานวนเต็ม)
        1. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับจํานวน โดยเขียนจํานวนตางๆ บนกระดาน เชน 3, 15, 6.4,
 25 , 189, 6 , 34.56, 10 3 จากนั้นใหนกเรียนแบงกลุมจํานวนที่ครูเขียนบนกระดานวาแบงไดกแบบ ใช
                                       ั                                                   ่ี
 4          7             5
หลักเกณฑอยางไรในการแบง
        2. ครูใหนักเรียนบอกจํานวนนับ ไดแก 1, 2, 3, 4, … จากนันถามนักเรียนวา จํานวนนับที่นอยที่สุดมีหรือไม
                                                                 ้
(มี คือ 1) จํานวนนับที่มากทีสุดมีหรือไม (ไมมี เนื่องจากไมสามารถระบุไดวาจํานวนนับตัวสุดทายคือจํานวนใด)
                             ่
ครูแนะนําวา จํานวนนับหรือจํานวนธรรมชาติ เรียกไดอกชื่อหนึ่งคือ จํานวนเต็มบวก
                                                         ี
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                           42

       ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนตรงขามและคาสัมบูรณ)
       ครูนําตารางแสดงการเดินทางของรถไฟไปติดบนกระดาน ดังนี้

                              ออกเดินทางจากกรุงเทพฯ ถึงสถานี         ระยะทาง (กม.)
                                         สระบุรี                         113
                                         ปากชอง                         180
                                          สีคิ้ว                         224
                                       นครราชสีมา                        264
                                         บุรีรัมย                       376

      จากตารางเดินรถไฟดังกลาว ครูซักถามถึงเรื่องระยะทางจากสถานีหวลําโพงถึงสถานีตางๆ พรอมทั้ง
                                                                 ั
ซักถามนักเรียนวา ระยะทางสามารถเปนลบไดหรือไม (ไมได)
      ชั่งโมงที่ 3 (แบบรูปของจํานวน)
      1. ครูนําตารางผลการสอบวิชาคณิตศาสตรและวิชาภาษาไทยของนายชูชัยและนายชูชาติจํานวน 10 ครั้ง
คะแนนเต็ม 20 คะแนน ติดบนกระดาน

                              ชื่อและวิชา             ชูชัย                 ชูชาติ
                        ครั้งที่              คณิตฯ       ภาษาไทย   คณิตฯ        ภาษาไทย
                                   1             1            10     10              2
                                   2             2            9       9              4
                                   3             3            8       8              6
                                   4             4            7       7              8
                                   5             5            6       6              10
                                   6             6            5       5              12
                                   7             7            4       4              14
                                   8             8            3       3              16
                                   9             9            2       2              18
                                   10           10            1       1              20

       2. ครูสนทนาซักถามถึงผลการเรียนของนายชูชาติและนายชูชัยวาเปนอยางไร
       3. ครูใหนักเรียนนําผลสอบของทั้ง 2 คน และ 2 วิชา ไปวาดบนเสนจํานวน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                      43

        ชั่วโมงที่ 4 (การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางจํานวนสองจํานวน)
        ครูยกตัวอยางประเทศที่มีอณหภูมิติดลบ 1 ประเทศ และประเทศที่มีอณหภูมิไมติดลบ 1 ประเทศ แลวให
                                   ุ                                 ุ
นักเรียนชวยกันแสดงความคิดเห็นวาเรามีวธีอธิบายถึงความแตกตางอุณหภูมิของทั้ง 2 ประเทศ อยางไรบาง
                                          ิ
    5.2 ขั้นสอน
                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (จํานวนเต็มและการเปรียบเทียบจํานวนเต็ม)
1. ครูสรางเสนจํานวนบนกระดานดํา ดังนี้                                           ทักษะการคิดแปลความ


    ครูเชื่อมโยงความคิดขั้นนําพรอมสรุปวา จํานวนที่อยูดานขวาของ 0 เราสามารถ
                                                       
เรียกวา จํานวนนับ จํานวนเต็มบวก หรือจํานวนธรรมชาติก็ได
2. จากเสนจํานวนในขอ 1 ครูใหนักเรียนสังเกตจํานวนที่อยูทางซายของศูนย จะมี         ทักษะการคิดแปลความ
เครื่องหมาย (–) กํากับอยูหนาตัวเลข จํานวนที่มีลักษณะดังกลาว เรียกวาจํานวนเต็มลบ
ครูสรุปลักษณะของจํานวนเต็มลบ ดังนี้
    “ จํานวนเต็มลบเปนจํานวนที่มคานอยกวาศูนย หรือเปนจํานวนที่อยูทางซายมือของ
                                   ี
ศูนยบนเสนจํานวน”
3. ครูถามนักเรียนวา 0 เปนจํานวนเต็มบวกหรือจํานวนเต็มลบ (ไมเปนทั้งจํานวนเต็ม       ทักษะการคิดวิเคราะห
บวกและจํานวนเต็มลบแต 0 เปนจํานวนเต็ม เรียกวา จํานวนเต็มศูนย)
4. จากเสนจํานวนในขอ 1 ครูใหนักเรียนบอกจํานวนเต็มที่กําหนดใหตอไปนี้               ทักษะการคิดวิเคราะห
    1) จํานวนเต็มที่อยูระหวาง –5 กับ 3
         (–4, –3, –2, –1, 0, 1, 2)
    2) จํานวนเต็มบวกที่อยูระหวาง –3 กับ 4
         ( 1, 2, 3)
    3) จํานวนเต็มลบที่อยูระหวาง –5 กับ 2
         (–4, –3, –2, –1)
    4) ใหนกเรียนบอกจํานวนเต็มที่ตอจาก –5 ไปทางซายของเสนจํานวนอีก 4 จํานวน
             ั
         (–6, –7, –8, –9)
5. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปเรื่องจํานวนเต็ม ดังนี้                                   ทักษะการคิดสรุปความ

           จํานวนเต็มที่อยูทางดานขวาของ 0 เปนจํานวนเต็มบวกหรือเรียกวา
       จํานวนนับ หรือจํานวนธรรมชาติ
           จํานวนเต็มที่อยูทางดานซายของ 0 เปนจํานวนเต็มลบ
            0 อานวา ศูนย เปนจํานวนเต็มที่ไมเปนบวกและไมเปนลบ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                     44

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
6. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดยการถามตอบกับนักเรียน
        ั
7. ครูใหนักเรียนอานอุณหภูมิและตอบคําถามในหนังสือเรียนหนา 38-39 จากนัน    ้        ทักษะการคิดวิเคราะห
อธิบายใหเห็นการหาคาของอุณหภูมิที่ตางกันโดยใชเสนจํานวน ครูใชคําพูดเพื่อแนะ
แนวทางในการสรุป ดังนี้
    “สําหรับจํานวนใดๆ บนเสนจํานวน จํานวนที่อยูทางขวาจะมีคามากกวาจํานวนที่อยู
ทางซาย”
8. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 ทายชัวโมงเรียน
                                                         ่
9. ครูใหนักเรียนแบงกลุมชวยกันทํากิจกรรม “เรียงลําดับจากธรรมชาติ” ในหนังสือ       ทักษะการคิดวิเคราะห
เรียนหนา 40 แลวอภิปรายผลที่ไดจากกิจกรรมรวมกัน
ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนตรงขามและคาสัมบูรณ)
1. ครูสรางเสนจํานวนบนกระดาน ดังนี้




2. ครูใหนักเรียนพิจารณาระยะทางของจํานวนตอไปนี้อยูหางจาก 0 กีหนวย
                                                                  ่                  ทักษะการคิดวิเคราะห
    –2 และ 2 อยูหางจาก 0 เปนระยะทางเทากัน คือ 2 หนวย
                   
    –4 และ 4 อยูหางจาก 0 เปนระยะทางเทากัน คือ 4 หนวย
                    
    –8 และ 8 อยูหางจาก 0 เปนระยะทางเทากัน คือ 8 หนวย
                     
3. เมื่อครูเห็นวานักเรียนมองเห็นความสัมพันธออกแลว ใหครูแนะตอไปวาเราจะเรียก     ทักษะการคิดแปลความ
    –2 และ 2 วาเปนจํานวนตรงขามซึ่งกันและกัน
    –4 และ 4 วาเปนจํานวนตรงขามซึ่งกันและกัน
    –8 และ 8 วาเปนจํานวนตรงขามซึ่งกันและกัน
4. นั่นคือ –2 เปนจํานวนตรงขามของ 2 และ 2 เปนจํานวนตรงขามของ –2                   ทักษะการคิดแปลความ
            –4 เปนจํานวนตรงขามของ 4 และ 4 เปนจํานวนตรงขามของ –4
            –8 เปนจํานวนตรงขามของ 8 และ 8 เปนจํานวนตรงขามของ –8
5. ครูถามนักเรียนวา จํานวนตรงขามของ 0 คืออะไร (0)                                  ทักษะการคิดวิเคราะห
6. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปเรื่องจํานวนตรงขาม ดังนี้                               ทักษะการคิดสรุปความ
        ถา a เปนจํานวนใดๆ จํานวนตรงขามของ a มีเพียงจํานวนเดียวคือ –a

7. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และ 4 โดยการถามตอบทีละขอ
        ั
8. ครูซักถามนักเรียนเพิ่มเติมถึงจํานวนตรงขามและนําเขาสูเรื่องคาสัมบูรณ ดังนี้   ทักษะการคิดวิเคราะห
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                 45

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
    คาสัมบูรณของจํานวนเต็มใดๆ คือระยะจากศูนยไปยังจํานวนเต็มนั้น ดังนั้นคา
สัมบูรณของจํานวนเต็มใดๆ จึงไมเปนลบ เราแทนคาสัมบูรณของ a ดวยสัญลักษณ |a|
9. ครูยกตัวอยางเพิ่มเติมและซักถามนักเรียนเพื่อกระตุนความคิด ดังนี้             ทักษะการคิดวิเคราะห
   ตัวอยาง จงหาคาสัมบูรณของ 5, 10, 20, 30, –10, –20
10. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 พรอมเฉลยตอนทายชั่วโมง
11. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความหมายของจํานวนตรงขามและคาสัมบูรณอีกครั้ง
ชั่วโมงที่ 3 (แบบรูปของจํานวน)
1. จากตารางในขั้นนํา จะไดวา                                   วิชาคณิตศาสตร
                                                            วิชาภาษาไทย

  ชูชัย


  ชูชาติ

2. ครูถามนักเรียนวา จากเสนจํานวน คะแนนของใครและวิชาอะไรที่มีการเพิ่มขึ้นและ ทักษะการคิดวิเคราะห
เพิ่มขึ้นครั้งละเทาใด
    (นายชูชย วิชาคณิตศาสตร เพิ่มขึ้นครั้งละ 1 คะแนน
               ั
    (นายชูชาติ วิชาภาษาไทย เพิ่มขึ้นครั้งละ 2 คะแนน)
3. ครูถามตอไปวา จากเสนจํานวน คะแนนของใครและวิชาอะไรมีการลดลงและลดลง ทักษะการคิดวิเคราะห
ครั้งละเทาใด
     (นายชูชย วิชาภาษาไทย ลดลงครั้งละ 1 คะแนน)
                 ั
     (นายชูชาติ วิชาคณิตศาสตร ลดลงครั้งละ 1 คะแนน)
4. ครูอธิบายแบบรูปของจํานวนเพิ่มเติมตามรายละเอียดในหนังสือเรียนหนา 44-45
จากนั้นใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 และ 7 ภายในชัวโมงเรียน พรอม
                                                              ่
เฉลยตอนทายชั่วโมง
5. ครูมอบหมายใหนกเรียนทําแบบฝกหัด 1(1) เปนการบาน พรอมกําหนดสงครูกอน
                       ั
การเรียนชัวโมงที่ 4
             ่
ชั่วโมงที่ 4 (การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางจํานวนสองจํานวน)
1. จากคําถามในขั้นนํา ครูซักถามถึงความแตกตางของอุณหภูมิระหวางประเทศ 2       ทักษะการคิดวิเคราะห
ประเทศ โดยแนะนําใหนักเรียนใชเสนจํานวนชวยในการหาคําตอบ พรอมซักถามและ
ระบุถึงขอดีของการตรวจสอบการพยากรณอากาศอยางสม่ําเสมอ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                46

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
2. เมื่อนักเรียนเขาใจแลว ครูสรางเสนจํานวนบนกระดาน โดยยกตัวอยางตอไปนี้           ทักษะการคิดแปลความ
  ตัวอยางที่ 1 ณ ชวงเวลาหนึ่ง เมือง A มีอุณหภูมิ –15°C                              ทักษะการคิดคํานวณ
                                   เมือง B มีอุณหภูมิ –6°C
                 เมือง B มีอุณหภูมิสูงกวาเมือง A เทาใด
 วิธทํา หาคําตอบโดยใชเสนจํานวน ดังนี้
     ี




 ตอบ อุณหภูมิ เมือง B สูงกวาเมือง A อยู 9°C
3. ครูอธิบายตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 47-48 แลวใหนักเรียน
แบงกลุม กลุมละ 4-5 คน จากนั้นใหแตละกลุมทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 และ
9 พรอมเฉลยตอนทายชัวโมง ่
4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1(2) เปนการบาน พรอมกําหนดวันและเวลาสง

    5.3 ขั้นสรุป
        ชั่วโมงที่ 1 (จํานวนเต็มและการเปรียบเทียบจํานวนเต็ม)
        1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับจํานวนเต็มชนิดตางๆ บนเสนจํานวน
        2. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1, 2 และกิจกรรม “เรียงลําดับจากธรรมชาติ”
        ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนตรงขามและคาสัมบูรณ)
        1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีหาจํานวนตรงขามของจํานวนทีกําหนด
                                                                    ่
        2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความหมายของคาสัมบูรณ โดยย้ําวาคาสัมบูรณของจํานวนเต็มมีคาเปนบวก
หรือศูนยเทานัน
               ้
        3. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3, 4 และ 5
        ชั่วโมงที่ 3 (แบบรูปของจํานวน)
        1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงดวยจํานวนเต็มทีเ่ ทากัน
        2. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 และ 7
        ชั่วโมงที่ 4 (การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางจํานวนสองจํานวน)
        1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการเปรียบเทียบความแตกตางระหวางจํานวนสองจํานวน โดยใชเสน
จํานวน
        2. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1             47

6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 1
        - ตารางเดินรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ (www.rotfaithai.com)
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
   -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                          48

8. บันทึกหลังการสอน

                                                              บันทึกหลังการสอน
                                                 (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
                                                                          

                  ประเด็นการบันทึก                                                           จุดเดน                                         จุดที่ควรปรับปรุง

1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

2. การใชสื่อการเรียนรู

3. การประเมินผลการเรียนรู

4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

บันทึกเพิ่มเติม
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                    ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน


บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                    ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                    ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                      49

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
     แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                               แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
 ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................

                                                                                                                ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                      ดีมาก                  ดี         พอใช                      ควรปรับปรุง
ความสนใจ
การตอบคําถาม
การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
            
ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย


    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ .......................

                                                                                                             ระดับการประเมิน
                      หัวขอการประเมิน
                                                                              ดีมาก               ดี          ปานกลาง                 นอย              นอยมาก
 การวางแผนการทํางาน
 การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
 การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
 ความคิดสรางสรรค
 ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                               50

                                             แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
                                             เรื่อง การบวกจํานวนเต็ม
                                                   เวลา 4 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
     1.1 ผลการเรียนรู
         1) มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนเต็ม สามารถคํานวณเกียวกับจํานวนเต็ม และสามารถนําความรู
                                                              ่
เกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในชีวตประจําวันได
                              ิ
         2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
         3) สามารถเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ ได
                                  
     1.2 จุดประสงคการเรียนรู
         1) อธิบายเกียวกับความหมายและลักษณะของการบวกจํานวนเต็มไดอยางถูกตอง
                     ่
         2) วิเคราะหความสัมพันธการบวกจํานวนเต็มและมีทักษะในการคํานวณ
         3) มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการบวกจํานวนเต็มและนําไปประยุกตใชกับสถานการณในชีวิตประจําวัน
ได
         4) มีเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร
                       ี่

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
        1) การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก
        2) การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ
        3) การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ
        4) สรุปหลักเกณฑการบวกจํานวนเต็ม
        5) สมบัติการบวกของจํานวนเต็ม
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
        1) ทักษะการใหเหตุผล
        2) ทักษะการสือสาร สื่อความหมาย
                     ่
        3) ทักษะการแกปญหา
   2.3 ทักษะการคิด
        การคิดวิเคราะห การคิดแปลความ การคิดสรุปความ การคิดคํานวณ การคิดสังเคราะห
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                        51

3. รองรอยการเรียนรู
    3.1 ผลงาน/ชินงาน
                  ้
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 10-13 และแบบฝกหัด 2 และ 3
        2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
    3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงานิ
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนเขาใจความหมายและลักษณะของการบวกจํานวนเต็มไดอยางถูกตอง

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                   52

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพือการเรียนรู
                                 ่
    5.1 ขั้นนํา
         ชั่วโมงที่ 1
         ครูและนักเรียนรวมกันเขียนจํานวนเต็มชนิดตางๆ ลงบนเสนจํานวน เพือทบทวนเรื่องของจํานวนเต็มที่เรียน
                                                                         ่
มาแลว
         ชั่วโมงที่ 2
         ครูยกตัวอยางโจทยการหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก และจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็ม
ลบ ใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบหรือครูสุมนักเรียนออกไปแสดงวิธทาหนาชั้นเรียนเพื่อเปนการทบทวนเรื่องที่
                                                                  ี ํ
เรียนมาในชั่วโมงที่ 1
         ชั่วโมงที่ 3
         ครูใหนักเรียนแขงกันหาคําตอบของโจทยการบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบบนกระดาน ใครทําเสร็จ
เร็วที่สุดและไดคําตอบที่ถูกตอง ครูก็จะใหคะแนนหรือชมเชยเพื่อเปนการทบทวนเรื่องที่เรียนมาในชั่วโมงที่ผานมา
         ชั่วโมงที่ 4
         ครูทบทวนหลักเกณฑการบวกจํานวนเต็ม โดยพิจารณาคาสัมบูรณที่เรียนในชัวโมงทีผานมา ไดแก
                                                                               ่       ่
         1) การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก
         2) การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ
         3) การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ
    5.2 ขั้นสอน
                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก, การบวกจํานวนเต็มลบกับ
จํานวนเต็มลบ)
1. ครูและนักเรียนชวยกันสรางเสนจํานวนบนกระดาน ดังนี้


2. ครูสรางโจทยการบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก ใหนกเรียนชวยกันจับ
                                                           ั                        ทักษะการคิดวิเคราะห
ใจความสําคัญเขียนเปนประโยคสัญลักษณ แลวหาคําตอบตามที่เคยเรียนมาแลวในระดับ
ประถมศึกษา เชน แมใหเงินนอยมา 2 บาท พอใหมาอีก 3 บาท นอยมีเงินเทาไร เขียนเปน
ประโยคสัญลักษณ 2 + 3 =
3. ครูซักถามนักเรียนถึงคําตอบที่ได จากนันแนะนําวา การหาผลบวกของจํานวนเต็มบวก ทักษะการคิดแปลความ
                                         ้
กับจํานวนเต็มบวกสามารถทําไดโดยใชเสนจํานวน โดยการเคลื่อนที่ลูกศรไปทางขวามือ
ของเสนจํานวน ดังนี้
                                            1     1       1
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                   53

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
    ครูอธิบายประกอบการเคลื่อนที่ลูกศรวา เริมตนที่ 0 เขียนลูกศรยาวเสนเดียวไปยัง 2
                                            ่
เมื่อบวกดวย 3 ใหเขียนลูกศรสั้นขนาด 1 หนวย ตอจาก 2 ไปทางขวา 3 ครั้ง จุดสุดทายคือ
ผลลัพธ
    ดังนั้น 2 + 3 = 5
4. ครูยกตัวอยางโจทยการบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก ใหนักเรียนหาคําตอบ ทักษะการคิดวิเคราะห
บนเสนจํานวน 2-3 ขอ เชน
    1) 6+9                2) 10+25               3) 13+9
5. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 10 โดยครูคอยชี้แนะและตรวจสอบ
ความถูกตอง
6. ครูสนทนากับนักเรียนวา การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวกโดยใชเสน              ทักษะการคิดแปลความ
จํานวน นักเรียนไดทราบแลววาหาผลบวกบนเสนจํานวนไดโดยการเคลื่อนที่ลูกศรไป
ทางขวามือของเสนจํานวน ในทางตรงขาม ถาเราตองการหาผลบวกของจํานวนเต็มลบ
กับจํานวนเต็มลบบนเสนจํานวนจะใชการเคลื่อนที่ลูกศรไปทางซายมือของเสนจํานวน
เชน หาผลบวกของ (–2)+(–3) ทําไดดังนี้
                                   1     1     1



    ครูอธิบายประกอบการเคลื่อนที่ลูกศรวา เริมตนที่ 0 เขียนลูกศรยาวเสนเดียวไปยัง –2
                                            ่
เมื่อบวกดวย –3 ใหเขียนลูกศรสั้นขนาด 1 หนวย ตอจาก –2 ไปทางซาย 3 ครั้ง จุดสุดทาย
คือผลลัพธ
    ดังนั้น (–2)+(–3) = –5
7. ครูยกตัวอยางโจทยการบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ ใหนักเรียนหาคําตอบบน           ทักษะการคิดวิเคราะห
เสนจํานวน 2-3 ขอ เชน
    1) (–1)+(–4)                 2) (–7)+(–5)              3) (–10)+(–12)
8. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 11
ชั่วโมงที่ 2 (การบวกจํานวนเต็มบวกและจํานวนเต็มลบ)
1. ครูทบทวนการหาผลบวกโดยใชเสนจํานวนโดยเคลื่อนลูกศรไปทางขวาเมื่อบวกดวย               ทักษะการคิดแปลความ
จํานวนเต็มบวก และเคลื่อนลูกศรไปทางซายเมื่อบวกดวยจํานวนเต็มลบ
2. ครูเขียนโจทยการบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบบนกระดาน ดังนี้                      ทักษะการคิดวิเคราะห
    1) 12+(–8)                   2) 6+(–8)                 3) 8+(–8)
    ใหนกเรียนแตละคนหาคําตอบบนเสนจํานวน
          ั
3. นักเรียนและครูสรุปคําตอบที่ไดบนกระดานดํา ดังนี้                                    ทักษะการคิดแปลความ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                              54

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
  1) 12+(–8)




       12+(–8) คือ เริ่มจาก 12 แลวเคลื่อนไปทางซาย 8 หนวย
       จะได 12+(–8) = 4
   2) 6+(–8)




       6+(–8) คือ เริ่มจาก 6 แลวเคลื่อนไปทางซาย 8 หนวย
       จะได 6+(–8) = –2
   3) 8+(–8)




       8+(–8) คือ เริ่มจาก 8 แลวเคลื่อนไปทางซาย 8 หนวย
       จะได 8+(–8) = 0
4. ครูสนทนากับนักเรียนถึงขั้นตอนและวิธีการหาคําตอบขางตนวามีวธีการและลักษณะ
                                                               ิ                  ทักษะการคิดสรุปความ
อยางไร จนไดขอสรุปดังนี้
           “การหาผลบวกของจํานวนเต็มบวก กับจํานวนเต็มลบโดยใชเสนจํานวน
      คือการเคลื่อนที่จากจุดที่แทนจํานวนเต็มบวกไปทางซายของเสนจํานวนเปน
      ระยะทางเทากับระยะทางจากศูนยไปยังจํานวนเต็มลบนั้น”

5. ครูแนะนําการหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ โดยใชคาสัมบูรณ           ทักษะการคิดแปลความ
(รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา 54-57) โดยครูใหนกเรียนสังเกตดวยวาจํานวนตรง
                                                      ั
ขามกันจะมีคาสัมบูรณเทากัน เชน คาสัมบูรณของ 4 เทากับ 4
                                   คาสัมบูรณของ –4 เทากับ 4
และคาสัมบูรณของจํานวนเต็มที่ไมใชศูนย จะเปนบวกเสมอ
6. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 12 เปนการบาน
       ั
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                               55

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 3 (สรุปหลักเกณฑการบวกจํานวนเต็ม)
1. ครูยกตัวอยางสถานการณดังนี้ คุณแมใหเงินแจวไปโรงเรียน 9 บาท ระหวางเดินทาง   ทักษะการคิดวิเคราะห
ไปโรงเรียนเจอคุณพอ คุณพอใหเงินอีก 5 บาท แจวดีใจมาก จากเรืองครูซักถาม
                                                                  ่
นักเรียนวาแจวไดเงินไปโรงเรียนกี่บาท
2. ใหนกเรียนชวยกันเขียนประโยคสัญลักษณจากเรื่องที่ครูเลา (9+5 = )
       ั                                                                           ทักษะการคิดวิเคราะห
3. ครูใหนักเรียนหาคําตอบโดยใชเสนจํานวน แลวนํามาเขียนบนกระดานหนาชันเรียน
                                                                          ้        ทักษะการคิดวิเคราะห
ดังนี้




   ดังนั้น 9+5 = 14
4. ครูเลาเรื่องใหนักเรียนฟงตอเกี่ยวกับการบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ เชน   ทักษะการคิดวิเคราะห
เด็กชายนัท ไปยืมเงินเด็กหญิงแมว 9 บาท หลังจากนันไปยืมเงินเด็กชายเอกเพิ่มอีก 5
                                                     ้
บาท ครูซกถามนักเรียนวาเด็กชายนัทไปยืมเงินเพื่อนๆ แสดงวาเด็กชายนัทมีเงินหรือไม
            ั
(ไมมี) เงินที่เด็กชายนัทยืมไปเขียนเปนประโยคสัญลักษณไดอยางไร [(–9)+(–5) ] =
5. ใหนกเรียนลองหาคําตอบของประโยคสัญลักษณขางตนบนเสนจํานวน แลวนําเสนอ
         ั                                                                         ทักษะการคิดวิเคราะห
บนกระดานหนาชั้นเรียน ดังนี้




    ดังนั้น (–9)+(–5) = –14
6. ครูใหนักเรียนชวยกันพิจารณาการหาผลบวกของจํานวนเต็มขางตนโดยใชคาสัมบูรณ
                                                                                  ทักษะการคิดวิเคราะห
ดังนี้                                                                             ทักษะการคิดคํานวณ
 1) 9+5
     เนื่องจาก |9| = 9
                |5| = 5
     ดังนั้น      9+5 = |9|+|5| = 9+5 = 14
 2) (−9)+(−5)
     เนื่องจาก |−9| = 9
                |−5| = 5
     ดังนั้น      (−9)+(−5) = −(|−9|+|−5|) = −(9+5) = −14
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                              56

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
7. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปออกมาเปนหลักเกณฑ ดังนี้                             ทักษะการคิดสรุปความ
   1) การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกันและตอบ
เปนจํานวนเต็มบวก
   2) การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกันและตอบเปน
จํานวนเต็มลบ
8. ครูยกตัวอยางการหาผลบวกจากหลักเกณฑขางตน 2-3 ตัวอยาง ใหนักเรียนชวยกันหา   ทักษะการคิดแปลความ
คําตอบบนกระดานดํา ดังนี้                                                          ทักษะการคิดคํานวณ
   1) จงหาผลบวกของ 35+25
        วิธีทํา เนื่องจาก |35| = 35
                          |25| = 25
                ดังนั้น 35+25 = |35|+|25| = 35+25 = 60
        ตอบ 35+25 = 60
   2) จงหาผลบวกของ (−10)+( −18)
       วิธีทํา เนื่องจาก |−10| = 10
                        |−18| = 18
                 ดังนั้น (−10)+( −18) = −(|−10|+|−18|) = −(10+18) = −28
       ตอบ (−10)+( −18) = −28
9. ครูยกตัวอยางโจทยการบวกจํานวนเต็มที่มเี ครื่องหมายตางกัน เชน                ทักษะการคิดวิเคราะห
   1) (−7)+3                                                                      ทักษะการคิดคํานวณ
   2) (−6)+10
ใหนกเรียนชวยกันหาคําตอบบนกระดานดําจากเสนจํานวน ดังนี้
     ั
  1) (−7)+3



      (−7)+3   = −4

 2) (−6)+10



      (−6)+10 = 4
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                               57

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
10. ใหนกเรียนชวยกันพิจารณาและสังเกตถึงคําตอบที่ได แลวพิจารณาการหาผลบวก
         ั                                                                         ทักษะการคิดวิเคราะห
ของจํานวนเต็มขางตนโดยใชคาสัมบูรณ ดังนี้                                       ทักษะการคิดคํานวณ
     1) (−7)+3
           เนื่องจาก |−7| = 7
                         |3| = 3
           และ 7 มากกวา 3 เมื่อนํา 7 ลบดวย 3 และตอบเปนจํานวนเต็มลบ จะได −4
เชนเดียวกับการหาผลบวกโดยใชเสนจํานวน
     2) (−6)+10
           เนื่องจาก |−6| = 6
                     |10| = 10
           และ 10 มากกวา 6 เมื่อนํา 10 ลบดวย 6 และตอบเปนจํานวนเต็มบวก จะได 4
เชนเดียวกับการหาผลบวกโดยใชเสนจํานวน
11. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลจากการพิจารณาขางตนเปนหลักเกณฑ ดังนี้            ทักษะการคิดสรุปความ

                การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ หรือการบวกจํานวน
       เต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก ใหนําคาสัมบูรณของจํานวนเต็มทั้งสองมาลบ
       กัน และตอบเปนจํานวนเต็มบวกหรือจํานวนเต็มลบเหมือนกับจํานวนที่มี
       คาสัมบูรณมากกวา

12. ครูและนักเรียนชวยกันสรางโจทยการหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็ม ทักษะการคิดสังเคราะห
ลบหรือจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มบวก 2-3 ตัวอยาง ใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบและ
จดลงในสมุด เชน
   1) จงหาผลบวกของ (−16)+5
   2) จงหาผลบวกของ 35+(−10)
   1) วิธีทํา เนื่องจาก |−16| = 16
                            |5| = 5
              และ 16 > 5
              ดังนั้น (−16)+5 = −(|−16|−|5|)
                                = −(16 −5)
                                = −11
       ตอบ (−16)+5 = −11
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                   58

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
    2) วิธีทํา เนื่องจาก |35| = 35
                          |−10| = 10
               และ 35 > 10
               ดังนั้น 35+(−10) = |35|−|−10|
                                 = 35 −10
                                 = 25
         ตอบ 35+(−10) = 25
13. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 13 ภายในชัวโมง โดยครูเดิน
                                                              ่
ตรวจสอบความถูกตองและใหคําแนะนําเพิมเติมกับนักเรียน
                                            ่
14. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบาน
ชั่วโมงที่ 4 (สมบัติการบวกของจํานวนเต็มบวก)
1. ครูยกตัวอยางโจทยการบวกจํานวนเต็มแบบตางๆ เชน                                    ทักษะการคิดคํานวณ
    1) 13+(−24)
    2) 20+15
    3) (−6)+(−8)
    4) (−5)+5
    นักเรียนหาผลบวกของตัวอยางขางตนบนกระดานดํา ดังนี้
    1) 13+(−24) = −11
    2) 20+15 = 35
    3) (−6)+(−8) = −14
    4) (−5)+5 = 0
2. ครูใหนักเรียนรวมกันพิจารณาผลบวกของจํานวนเต็มในแตละขอวาเปนจํานวนเต็ม          ทักษะการคิดวิเคราะห
หรือไม (เปน)
3. ครูแนะนําใหนกเรียนรูจักสมบัติขอที่ 1 ของการบวกจํานวนเต็ม ดังนี้
                     ั                                                                ทักษะการคิดแปลความ
    “ถา a และ b เปนจํานวนเต็ม แลว a+b เปนจํานวนเต็ม เรียกวา สมบัตปดสําหรับการ
                                                                      ิ
บวกของจํานวนเต็ม”
4. ครูซักถามนักเรียนจากตัวอยางขางตนวาเปนสมบัติปดสําหรับการบวกของจํานวนเต็ม      ทักษะการคิดวิเคราะห
หรือไม ใหนักเรียนอธิบาย (เปน เพราะจํานวนเต็มสองจํานวนบวกกัน ผลบวกที่ไดเปน
จํานวนเต็ม)
5. ครูใหนกเรียนรวมกันอภิปรายตอไปวา ถานําจํานวนมากกวา 2 จํานวนขึ้นไปมาบวก
            ั                                                                         ทักษะการคิดวิเคราะห
กัน จะมีสมบัตปดสําหรับการบวกจํานวนเต็มหรือไม (มี)ใหนักเรียนยกตัวอยางประกอบ
                 ิ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                               59

                             กิจกรรมการเรียนการสอน                                    ฝกการคิดแบบ
6. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสมบัติปดสําหรับการบวกของจํานวนเต็มอีกครั้ง แลวให   ทักษะการคิดสรุปความ
นักเรียนจดลงในสมุด

               สมบัติปดสําหรับการบวกของจํานวนเต็ม
                  ถา a และ b เปนจํานวนเต็ม แลว a+b เปนจํานวนเต็ม
7. ครูยกตัวอยางโจทยการหาผลบวกของจํานวนเต็ม 2 ขอ โดยกําหนดจํานวนในขอ 1        ทักษะการคิดคํานวณ
และขอ 2 เหมือนกัน แตสลับตําแหนงกัน เชน
   1) 100+(−131)
   2) (−131)+100
   ใหนกเรียนชวยกันหาผลบวกของโจทยขางตน จะไดดังนี้
          ั
   1) 100+(−131) = −31
   2) (−131)+100 = −31
8. ใหนกเรียนรวมกันพิจารณาผลบวกที่ไดในขอ 1 และ 2 โดยครูเปนผูซักถาม จนได
        ั                                                                        ทักษะการคิดสรุปความ
ขอสรุปวา
   “ถา a และ b เปนจํานวนเต็มใดๆ แลว a+b = b+a”
   ครูแนะนําวาขอสรุปขางตน เรียกวา สมบัตการสลับที่สําหรับการบวกของจํานวนเต็ม
                                            ิ
9. ครูและนักเรียนเขียนสรุปสมบัติการสลับที่สําหรับการบวกของจํานวนเต็มบนกระดาน ทักษะการคิดสรุปความ
พรอมทั้งยกตัวอยาง แลวใหนกเรียนจดลงในสมุด ดังนี้
                             ั
              สมบัติการสลับที่สําหรับการบวกของจํานวนเต็ม
                 ถา a และ b เปนจํานวนเต็มใดๆ แลว a+b = b+a

10. ครูยกตัวอยางโจทยการหาผลบวกของจํานวนเต็ม 3 จํานวน ดังนี้                     ทักษะการคิดคํานวณ
    1) [15+(−27)]+56
    2) 15+[(−27)+56]
    ใหนกเรียนชวยกันหาผลบวกของโจทยขางตน จะไดดังนี้
         ั
    1) [15+(−27)]+56 = (−12)+56
                       = 44
    2) 15+[(−27)+56] = 15+29
                        = 44
    นั่นคือ [15+(−27)]+56 = 15+[(−27)+56]
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                  60

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                       ฝกการคิดแบบ
11. ครูใหนักเรียนรวมกันพิจารณาและอภิปรายคําตอบที่ได จนสามารถสรุปเปนสมบัติ         ทักษะการคิดสรุปความ
การบวกไดดังนี้
           สมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวกของจํานวนเต็ม
              ถา a, b และ c เปนจํานวนเต็มใดๆ แลว (a+b)+c    = a+(b+c)

12. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการนําจํานวนเต็มศูนยบวกกับจํานวนเต็ม           ทักษะการคิดแปลความ
อื่นๆ ถึงคําตอบที่ได เชน
     1) 8+0 = 8                        2) (−9)+0 = (−9)
     3) a+0 = a                        4) −a+0 = −a
13. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปถึงคําตอบที่ได จนสามารถสรุปเปนสมบัติ         ทักษะการคิดสรุปความ
การมีเอกลักษณการบวกของจํานวนเต็ม ดังนี้

   สมบัติการมีเอกลักษณการบวกของจํานวนเต็ม
        มี 0 เพียงจํานวนเดียว ซึ่งสําหรับทุกๆ จํานวนเต็ม a ทําให a+0   = 0+a =   a
   เรียก 0 วา “เอกลักษณการบวก” สําหรับจํานวนเต็ม
14. ครูสนทนากับนักเรียนเกียวกับการหาผลบวกของจํานวนเต็มสองจํานวนที่ไดผลลัพธ ทักษะการคิดแปลความ
                            ่
เทากับศูนย โดยการซักถาม เชน
     1) 8+ = 0 จะไดจํานวนใน คือ −8
     2) −6+ = 0 จะไดจํานวนใน คือ 6
     ครูแนะนําถึงคําตอบที่ได จะเรียกวา “ตัวผกผันการบวกของจํานวนเต็ม”
     จากโจทยขอ 1) จะไดวา −8 เปนตัวผกผันการบวกของ 8 หรือ 8 เปนตัวผกผันการ
บวกของ −8
     จากโจทยขอ 2) จะไดวา 6 เปนตัวผกผันการบวกของ −6 หรือ −6 เปนตัวผกผันการ
บวกของ 6
15. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเปนสมบัติการมีตัวผกผันการบวกของจํานวนเต็ม ดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ
              สมบัติการมีตัวผกผันการบวกของจํานวนเต็ม
                 สําหรับจํานวนเต็ม a ใดๆ มี −a เพียงจํานวนเดียว ซึ่ง
                               a+(−a) = (−a)+a = 0
                 เรียก −a วาตัวผกผันการบวกของ a

16. ครูยกตัวอยางโจทยบนกระดานใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามวาตรงกับสมบัติการ
                                  ั                                                   ทักษะการคิดวิเคราะห
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                         61

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                              ฝกการคิดแบบ
บวกของจํานวนเต็มในขอใด เพื่อเปนการทบทวนเรื่องสมบัติการบวกทีเ่ รียนมาตอนตน
ชั่วโมง
17. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 3 เปนการบาน

   5.3 ขั้นสรุป
       ชั่วโมงที่ 1 (การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก, การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ)
       ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก และจํานวนเต็มลบกับ
จํานวนเต็มลบบนเสนจํานวน
       ชั่วโมงที่ 2 (การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ)
       ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบบนเสนจํานวน
       ชั่วโมงที่ 3 (สรุปหลักเกณฑการบวกจํานวนเต็ม)
       ครูและนักเรียนรวมกันสรุปหลักเกณฑของ
       1) การหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก
       2) การหาผลบวกของจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ
       3) การหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ
       4) การหาผลบวกของจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มบวก
       ชั่วโมงที่ 4 (สมบัติการบวกของจํานวนเต็ม)
       ครูและนักเรียนชวยกันสรุปสมบัติการบวกเปนขอๆ ดังนี้
       1) สมบัติปดสําหรับการบวกของจํานวนเต็ม
       2) สมบัติการสลับที่สําหรับการบวกของจํานวนเต็ม
       3) สมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวกของจํานวนเต็ม
       4) สมบัติการมีเอกลักษณการบวกของจํานวนเต็ม
       5) สมบัติการมีตัวผกผันการบวกของจํานวนเต็ม

6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        หนังสือเรียนรายวิชาพืนฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 1
                               ้
   6.2 แหลงเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                               62

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
         ขั้นรวบรวมขอมูล
         ครูใหนักเรียนไปคนหาแบบฝกหัดเกี่ยวกับการบวกจํานวนเต็มในหนังสือคูมือคณิตศาสตรตางๆ และจัดทํา
เปนรายงานมาสงครู
         ขั้นวิเคราะห
         ใหนกเรียนแตละคนวิเคราะหโจทยที่คนหามาวาเปนการบวกจํานวนเต็มชนิดใด และแสดงวิธีหาคําตอบ
               ั
ถูกตองหรือไม
         ขั้นสรุป
         ครูตรวจผลงานของนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหนักเรียนนําไปปรับปรุงแกไขแลวนํา
มาสงครู
         ขั้นประยุกตใช
         ครูใหนักเรียนเลือกโจทยที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องการบวกจํานวนเต็มหนาหองเรียน
                                     
   7.2 กิจกรรมการบูรณาการ
         -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                          63

8. บันทึกหลังการสอน

                                                              บันทึกหลังการสอน
                                                 (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
                                                                          

                  ประเด็นการบันทึก                                                           จุดเดน                                         จุดที่ควรปรับปรุง

1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

2. การใชสื่อการเรียนรู

3. การประเมินผลการเรียนรู

4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

บันทึกเพิ่มเติม
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                    ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน


บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                    ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                    ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                      64

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
     แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                               แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
 ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................

                                                                                                                ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                      ดีมาก                  ดี         พอใช                      ควรปรับปรุง
ความสนใจ
การตอบคําถาม
การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
            
ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย


    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ .......................

                                                                                                             ระดับการประเมิน
                      หัวขอการประเมิน
                                                                              ดีมาก               ดี          ปานกลาง                 นอย              นอยมาก
 การวางแผนการทํางาน
 การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
 การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
 ความคิดสรางสรรค
 ผลการทํางาน
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Viewers also liked

Viewers also liked (17)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Similar to Unit2 (10)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิต
 

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (16)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 

Unit2

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง จํานวนเต็ม รายวิชาที่นามาบูรณาการ ํ ศิลปะ ภาษาไทย 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 1.1 มฐ. ค 1.2 มฐ. ค 4.1 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ ค 1.1 ม.1/1 ค 1.2 ม.1/1 ค 4.1 ม.1/1 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 จํานวนเต็ม 3.2 การบวกจํานวนเต็ม 3.3 การลบจํานวนเต็ม 3.4 การคูณจํานวนเต็ม 3.5 การหารจํานวนเต็ม 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-19 และแบบฝกหัด 1-6 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ 4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชันเรียน ้ 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 39 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมในชั้น ความเขาใจ 1-19 และ - แนะการทําแบบฝกหัดและ เรียน แบบฝกหัด 1-6 กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ - ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและ 2) การทํากิจกรรมกลุม - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดใน แบบฝกหัด 3) การทํากิจกรรมบูรณาการ แตละเรื่อง - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนรายกลุม 5.2 ผลการปฏิบัตงานไดแก ิ 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชัน ้ - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรียนและการใชบริการ ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนือหา ้ ประจําหนวย หองสมุดของโรงเรียนอยาง ประจําหนวย - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยใน เหมาะสม - แนะนําใหนกเรียนใชบริการ ั หองสมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุม 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ หองสมุดของโรงเรียนอยาง สาระการเรียนรูคณิตศาสตร กิจกรรมกลุม เหมาะสม - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบหมาย - แนะนําวิธการจัดกลุมและการทํา ี และชวยกันทํากิจกรรมในชันเรียน ้ กิจกรรมกลุม 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ ทางการเรียน ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก ครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 40 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง จํานวนเต็ม เวลา 4 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู มีความคิดรวบยอดเกียวกับจํานวนเต็ม สามารถคํานวณเกี่ยวกับจํานวนเต็ม และสามารถนําความรูเกี่ยวกับ ่ จํานวนเต็มไปใชในชีวิตประจําวันได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) จําแนกและยกตัวอยางจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนยได 2) เปรียบเทียบจํานวนเต็มได 3) บอกความสัมพันธของจํานวนจากแบบรูปที่กําหนดใหได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนย 2) การเปรียบเทียบจํานวนเต็ม 3) จํานวนตรงขาม 4) คาสัมบูรณของจํานวนเต็ม 5) แบบรูปของจํานวน 6) การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางจํานวนสองจํานวน 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย 3) ทักษะการแกปญหา 2.3 ทักษะการคิด การคิดวิเคราะห การคิดแปลความ การคิดสรุปความ การคิดคํานวณ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชินงาน ้ 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-9 และแบบฝกหัด 1 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 41 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ 1) นักเรียนรูวธีเปรียบเทียบจํานวนเต็ม ิ 2) นักเรียนรูวธีหาจํานวนทีตอจากแบบรูปที่กําหนดให ิ ่ 4. แนวทางการวัดและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําได 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพือการเรียนรู ่ 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (จํานวนเต็มและการเปรียบเทียบจํานวนเต็ม) 1. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับจํานวน โดยเขียนจํานวนตางๆ บนกระดาน เชน 3, 15, 6.4, 25 , 189, 6 , 34.56, 10 3 จากนั้นใหนกเรียนแบงกลุมจํานวนที่ครูเขียนบนกระดานวาแบงไดกแบบ ใช ั  ่ี 4 7 5 หลักเกณฑอยางไรในการแบง 2. ครูใหนักเรียนบอกจํานวนนับ ไดแก 1, 2, 3, 4, … จากนันถามนักเรียนวา จํานวนนับที่นอยที่สุดมีหรือไม ้ (มี คือ 1) จํานวนนับที่มากทีสุดมีหรือไม (ไมมี เนื่องจากไมสามารถระบุไดวาจํานวนนับตัวสุดทายคือจํานวนใด) ่ ครูแนะนําวา จํานวนนับหรือจํานวนธรรมชาติ เรียกไดอกชื่อหนึ่งคือ จํานวนเต็มบวก ี
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 42 ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนตรงขามและคาสัมบูรณ) ครูนําตารางแสดงการเดินทางของรถไฟไปติดบนกระดาน ดังนี้ ออกเดินทางจากกรุงเทพฯ ถึงสถานี ระยะทาง (กม.) สระบุรี 113 ปากชอง 180 สีคิ้ว 224 นครราชสีมา 264 บุรีรัมย 376 จากตารางเดินรถไฟดังกลาว ครูซักถามถึงเรื่องระยะทางจากสถานีหวลําโพงถึงสถานีตางๆ พรอมทั้ง ั ซักถามนักเรียนวา ระยะทางสามารถเปนลบไดหรือไม (ไมได) ชั่งโมงที่ 3 (แบบรูปของจํานวน) 1. ครูนําตารางผลการสอบวิชาคณิตศาสตรและวิชาภาษาไทยของนายชูชัยและนายชูชาติจํานวน 10 ครั้ง คะแนนเต็ม 20 คะแนน ติดบนกระดาน ชื่อและวิชา ชูชัย ชูชาติ ครั้งที่ คณิตฯ ภาษาไทย คณิตฯ ภาษาไทย 1 1 10 10 2 2 2 9 9 4 3 3 8 8 6 4 4 7 7 8 5 5 6 6 10 6 6 5 5 12 7 7 4 4 14 8 8 3 3 16 9 9 2 2 18 10 10 1 1 20 2. ครูสนทนาซักถามถึงผลการเรียนของนายชูชาติและนายชูชัยวาเปนอยางไร 3. ครูใหนักเรียนนําผลสอบของทั้ง 2 คน และ 2 วิชา ไปวาดบนเสนจํานวน
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 43 ชั่วโมงที่ 4 (การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางจํานวนสองจํานวน) ครูยกตัวอยางประเทศที่มีอณหภูมิติดลบ 1 ประเทศ และประเทศที่มีอณหภูมิไมติดลบ 1 ประเทศ แลวให ุ ุ นักเรียนชวยกันแสดงความคิดเห็นวาเรามีวธีอธิบายถึงความแตกตางอุณหภูมิของทั้ง 2 ประเทศ อยางไรบาง ิ 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (จํานวนเต็มและการเปรียบเทียบจํานวนเต็ม) 1. ครูสรางเสนจํานวนบนกระดานดํา ดังนี้ ทักษะการคิดแปลความ ครูเชื่อมโยงความคิดขั้นนําพรอมสรุปวา จํานวนที่อยูดานขวาของ 0 เราสามารถ  เรียกวา จํานวนนับ จํานวนเต็มบวก หรือจํานวนธรรมชาติก็ได 2. จากเสนจํานวนในขอ 1 ครูใหนักเรียนสังเกตจํานวนที่อยูทางซายของศูนย จะมี ทักษะการคิดแปลความ เครื่องหมาย (–) กํากับอยูหนาตัวเลข จํานวนที่มีลักษณะดังกลาว เรียกวาจํานวนเต็มลบ ครูสรุปลักษณะของจํานวนเต็มลบ ดังนี้ “ จํานวนเต็มลบเปนจํานวนที่มคานอยกวาศูนย หรือเปนจํานวนที่อยูทางซายมือของ ี ศูนยบนเสนจํานวน” 3. ครูถามนักเรียนวา 0 เปนจํานวนเต็มบวกหรือจํานวนเต็มลบ (ไมเปนทั้งจํานวนเต็ม ทักษะการคิดวิเคราะห บวกและจํานวนเต็มลบแต 0 เปนจํานวนเต็ม เรียกวา จํานวนเต็มศูนย) 4. จากเสนจํานวนในขอ 1 ครูใหนักเรียนบอกจํานวนเต็มที่กําหนดใหตอไปนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห 1) จํานวนเต็มที่อยูระหวาง –5 กับ 3 (–4, –3, –2, –1, 0, 1, 2) 2) จํานวนเต็มบวกที่อยูระหวาง –3 กับ 4 ( 1, 2, 3) 3) จํานวนเต็มลบที่อยูระหวาง –5 กับ 2 (–4, –3, –2, –1) 4) ใหนกเรียนบอกจํานวนเต็มที่ตอจาก –5 ไปทางซายของเสนจํานวนอีก 4 จํานวน ั (–6, –7, –8, –9) 5. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปเรื่องจํานวนเต็ม ดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ จํานวนเต็มที่อยูทางดานขวาของ 0 เปนจํานวนเต็มบวกหรือเรียกวา จํานวนนับ หรือจํานวนธรรมชาติ จํานวนเต็มที่อยูทางดานซายของ 0 เปนจํานวนเต็มลบ 0 อานวา ศูนย เปนจํานวนเต็มที่ไมเปนบวกและไมเปนลบ
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 44 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 6. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดยการถามตอบกับนักเรียน ั 7. ครูใหนักเรียนอานอุณหภูมิและตอบคําถามในหนังสือเรียนหนา 38-39 จากนัน ้ ทักษะการคิดวิเคราะห อธิบายใหเห็นการหาคาของอุณหภูมิที่ตางกันโดยใชเสนจํานวน ครูใชคําพูดเพื่อแนะ แนวทางในการสรุป ดังนี้ “สําหรับจํานวนใดๆ บนเสนจํานวน จํานวนที่อยูทางขวาจะมีคามากกวาจํานวนที่อยู ทางซาย” 8. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 ทายชัวโมงเรียน ่ 9. ครูใหนักเรียนแบงกลุมชวยกันทํากิจกรรม “เรียงลําดับจากธรรมชาติ” ในหนังสือ ทักษะการคิดวิเคราะห เรียนหนา 40 แลวอภิปรายผลที่ไดจากกิจกรรมรวมกัน ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนตรงขามและคาสัมบูรณ) 1. ครูสรางเสนจํานวนบนกระดาน ดังนี้ 2. ครูใหนักเรียนพิจารณาระยะทางของจํานวนตอไปนี้อยูหางจาก 0 กีหนวย ่ ทักษะการคิดวิเคราะห –2 และ 2 อยูหางจาก 0 เปนระยะทางเทากัน คือ 2 หนวย   –4 และ 4 อยูหางจาก 0 เปนระยะทางเทากัน คือ 4 หนวย   –8 และ 8 อยูหางจาก 0 เปนระยะทางเทากัน คือ 8 หนวย   3. เมื่อครูเห็นวานักเรียนมองเห็นความสัมพันธออกแลว ใหครูแนะตอไปวาเราจะเรียก ทักษะการคิดแปลความ –2 และ 2 วาเปนจํานวนตรงขามซึ่งกันและกัน –4 และ 4 วาเปนจํานวนตรงขามซึ่งกันและกัน –8 และ 8 วาเปนจํานวนตรงขามซึ่งกันและกัน 4. นั่นคือ –2 เปนจํานวนตรงขามของ 2 และ 2 เปนจํานวนตรงขามของ –2 ทักษะการคิดแปลความ –4 เปนจํานวนตรงขามของ 4 และ 4 เปนจํานวนตรงขามของ –4 –8 เปนจํานวนตรงขามของ 8 และ 8 เปนจํานวนตรงขามของ –8 5. ครูถามนักเรียนวา จํานวนตรงขามของ 0 คืออะไร (0) ทักษะการคิดวิเคราะห 6. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปเรื่องจํานวนตรงขาม ดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ ถา a เปนจํานวนใดๆ จํานวนตรงขามของ a มีเพียงจํานวนเดียวคือ –a 7. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และ 4 โดยการถามตอบทีละขอ ั 8. ครูซักถามนักเรียนเพิ่มเติมถึงจํานวนตรงขามและนําเขาสูเรื่องคาสัมบูรณ ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 45 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ คาสัมบูรณของจํานวนเต็มใดๆ คือระยะจากศูนยไปยังจํานวนเต็มนั้น ดังนั้นคา สัมบูรณของจํานวนเต็มใดๆ จึงไมเปนลบ เราแทนคาสัมบูรณของ a ดวยสัญลักษณ |a| 9. ครูยกตัวอยางเพิ่มเติมและซักถามนักเรียนเพื่อกระตุนความคิด ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวอยาง จงหาคาสัมบูรณของ 5, 10, 20, 30, –10, –20 10. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 พรอมเฉลยตอนทายชั่วโมง 11. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความหมายของจํานวนตรงขามและคาสัมบูรณอีกครั้ง ชั่วโมงที่ 3 (แบบรูปของจํานวน) 1. จากตารางในขั้นนํา จะไดวา วิชาคณิตศาสตร วิชาภาษาไทย ชูชัย ชูชาติ 2. ครูถามนักเรียนวา จากเสนจํานวน คะแนนของใครและวิชาอะไรที่มีการเพิ่มขึ้นและ ทักษะการคิดวิเคราะห เพิ่มขึ้นครั้งละเทาใด (นายชูชย วิชาคณิตศาสตร เพิ่มขึ้นครั้งละ 1 คะแนน ั (นายชูชาติ วิชาภาษาไทย เพิ่มขึ้นครั้งละ 2 คะแนน) 3. ครูถามตอไปวา จากเสนจํานวน คะแนนของใครและวิชาอะไรมีการลดลงและลดลง ทักษะการคิดวิเคราะห ครั้งละเทาใด (นายชูชย วิชาภาษาไทย ลดลงครั้งละ 1 คะแนน) ั (นายชูชาติ วิชาคณิตศาสตร ลดลงครั้งละ 1 คะแนน) 4. ครูอธิบายแบบรูปของจํานวนเพิ่มเติมตามรายละเอียดในหนังสือเรียนหนา 44-45 จากนั้นใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 และ 7 ภายในชัวโมงเรียน พรอม ่ เฉลยตอนทายชั่วโมง 5. ครูมอบหมายใหนกเรียนทําแบบฝกหัด 1(1) เปนการบาน พรอมกําหนดสงครูกอน ั การเรียนชัวโมงที่ 4 ่ ชั่วโมงที่ 4 (การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางจํานวนสองจํานวน) 1. จากคําถามในขั้นนํา ครูซักถามถึงความแตกตางของอุณหภูมิระหวางประเทศ 2 ทักษะการคิดวิเคราะห ประเทศ โดยแนะนําใหนักเรียนใชเสนจํานวนชวยในการหาคําตอบ พรอมซักถามและ ระบุถึงขอดีของการตรวจสอบการพยากรณอากาศอยางสม่ําเสมอ
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 46 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. เมื่อนักเรียนเขาใจแลว ครูสรางเสนจํานวนบนกระดาน โดยยกตัวอยางตอไปนี้ ทักษะการคิดแปลความ ตัวอยางที่ 1 ณ ชวงเวลาหนึ่ง เมือง A มีอุณหภูมิ –15°C ทักษะการคิดคํานวณ เมือง B มีอุณหภูมิ –6°C เมือง B มีอุณหภูมิสูงกวาเมือง A เทาใด วิธทํา หาคําตอบโดยใชเสนจํานวน ดังนี้ ี ตอบ อุณหภูมิ เมือง B สูงกวาเมือง A อยู 9°C 3. ครูอธิบายตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 47-48 แลวใหนักเรียน แบงกลุม กลุมละ 4-5 คน จากนั้นใหแตละกลุมทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 และ 9 พรอมเฉลยตอนทายชัวโมง ่ 4. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1(2) เปนการบาน พรอมกําหนดวันและเวลาสง 5.3 ขั้นสรุป ชั่วโมงที่ 1 (จํานวนเต็มและการเปรียบเทียบจํานวนเต็ม) 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับจํานวนเต็มชนิดตางๆ บนเสนจํานวน 2. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1, 2 และกิจกรรม “เรียงลําดับจากธรรมชาติ” ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนตรงขามและคาสัมบูรณ) 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีหาจํานวนตรงขามของจํานวนทีกําหนด ่ 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความหมายของคาสัมบูรณ โดยย้ําวาคาสัมบูรณของจํานวนเต็มมีคาเปนบวก หรือศูนยเทานัน ้ 3. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3, 4 และ 5 ชั่วโมงที่ 3 (แบบรูปของจํานวน) 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงดวยจํานวนเต็มทีเ่ ทากัน 2. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 และ 7 ชั่วโมงที่ 4 (การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางจํานวนสองจํานวน) 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการเปรียบเทียบความแตกตางระหวางจํานวนสองจํานวน โดยใชเสน จํานวน 2. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 47 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 1 - ตารางเดินรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ (www.rotfaithai.com) 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ -
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 48 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)  ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 49 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร  ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ ....................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 50 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง การบวกจํานวนเต็ม เวลา 4 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนเต็ม สามารถคํานวณเกียวกับจํานวนเต็ม และสามารถนําความรู ่ เกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในชีวตประจําวันได ิ 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 3) สามารถเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ ได  1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) อธิบายเกียวกับความหมายและลักษณะของการบวกจํานวนเต็มไดอยางถูกตอง ่ 2) วิเคราะหความสัมพันธการบวกจํานวนเต็มและมีทักษะในการคํานวณ 3) มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการบวกจํานวนเต็มและนําไปประยุกตใชกับสถานการณในชีวิตประจําวัน ได 4) มีเจตคติทดีตอวิชาคณิตศาสตร ี่ 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก 2) การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ 3) การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ 4) สรุปหลักเกณฑการบวกจํานวนเต็ม 5) สมบัติการบวกของจํานวนเต็ม 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสือสาร สื่อความหมาย ่ 3) ทักษะการแกปญหา 2.3 ทักษะการคิด การคิดวิเคราะห การคิดแปลความ การคิดสรุปความ การคิดคํานวณ การคิดสังเคราะห
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 51 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชินงาน ้ 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 10-13 และแบบฝกหัด 2 และ 3 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงานิ 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจความหมายและลักษณะของการบวกจํานวนเต็มไดอยางถูกตอง 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 52 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพือการเรียนรู ่ 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 ครูและนักเรียนรวมกันเขียนจํานวนเต็มชนิดตางๆ ลงบนเสนจํานวน เพือทบทวนเรื่องของจํานวนเต็มที่เรียน ่ มาแลว ชั่วโมงที่ 2 ครูยกตัวอยางโจทยการหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก และจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็ม ลบ ใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบหรือครูสุมนักเรียนออกไปแสดงวิธทาหนาชั้นเรียนเพื่อเปนการทบทวนเรื่องที่ ี ํ เรียนมาในชั่วโมงที่ 1 ชั่วโมงที่ 3 ครูใหนักเรียนแขงกันหาคําตอบของโจทยการบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบบนกระดาน ใครทําเสร็จ เร็วที่สุดและไดคําตอบที่ถูกตอง ครูก็จะใหคะแนนหรือชมเชยเพื่อเปนการทบทวนเรื่องที่เรียนมาในชั่วโมงที่ผานมา ชั่วโมงที่ 4 ครูทบทวนหลักเกณฑการบวกจํานวนเต็ม โดยพิจารณาคาสัมบูรณที่เรียนในชัวโมงทีผานมา ไดแก ่ ่ 1) การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก 2) การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ 3) การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก, การบวกจํานวนเต็มลบกับ จํานวนเต็มลบ) 1. ครูและนักเรียนชวยกันสรางเสนจํานวนบนกระดาน ดังนี้ 2. ครูสรางโจทยการบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก ใหนกเรียนชวยกันจับ ั ทักษะการคิดวิเคราะห ใจความสําคัญเขียนเปนประโยคสัญลักษณ แลวหาคําตอบตามที่เคยเรียนมาแลวในระดับ ประถมศึกษา เชน แมใหเงินนอยมา 2 บาท พอใหมาอีก 3 บาท นอยมีเงินเทาไร เขียนเปน ประโยคสัญลักษณ 2 + 3 = 3. ครูซักถามนักเรียนถึงคําตอบที่ได จากนันแนะนําวา การหาผลบวกของจํานวนเต็มบวก ทักษะการคิดแปลความ ้ กับจํานวนเต็มบวกสามารถทําไดโดยใชเสนจํานวน โดยการเคลื่อนที่ลูกศรไปทางขวามือ ของเสนจํานวน ดังนี้ 1 1 1
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 53 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ครูอธิบายประกอบการเคลื่อนที่ลูกศรวา เริมตนที่ 0 เขียนลูกศรยาวเสนเดียวไปยัง 2 ่ เมื่อบวกดวย 3 ใหเขียนลูกศรสั้นขนาด 1 หนวย ตอจาก 2 ไปทางขวา 3 ครั้ง จุดสุดทายคือ ผลลัพธ ดังนั้น 2 + 3 = 5 4. ครูยกตัวอยางโจทยการบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก ใหนักเรียนหาคําตอบ ทักษะการคิดวิเคราะห บนเสนจํานวน 2-3 ขอ เชน 1) 6+9 2) 10+25 3) 13+9 5. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 10 โดยครูคอยชี้แนะและตรวจสอบ ความถูกตอง 6. ครูสนทนากับนักเรียนวา การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวกโดยใชเสน ทักษะการคิดแปลความ จํานวน นักเรียนไดทราบแลววาหาผลบวกบนเสนจํานวนไดโดยการเคลื่อนที่ลูกศรไป ทางขวามือของเสนจํานวน ในทางตรงขาม ถาเราตองการหาผลบวกของจํานวนเต็มลบ กับจํานวนเต็มลบบนเสนจํานวนจะใชการเคลื่อนที่ลูกศรไปทางซายมือของเสนจํานวน เชน หาผลบวกของ (–2)+(–3) ทําไดดังนี้ 1 1 1 ครูอธิบายประกอบการเคลื่อนที่ลูกศรวา เริมตนที่ 0 เขียนลูกศรยาวเสนเดียวไปยัง –2 ่ เมื่อบวกดวย –3 ใหเขียนลูกศรสั้นขนาด 1 หนวย ตอจาก –2 ไปทางซาย 3 ครั้ง จุดสุดทาย คือผลลัพธ ดังนั้น (–2)+(–3) = –5 7. ครูยกตัวอยางโจทยการบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ ใหนักเรียนหาคําตอบบน ทักษะการคิดวิเคราะห เสนจํานวน 2-3 ขอ เชน 1) (–1)+(–4) 2) (–7)+(–5) 3) (–10)+(–12) 8. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 11 ชั่วโมงที่ 2 (การบวกจํานวนเต็มบวกและจํานวนเต็มลบ) 1. ครูทบทวนการหาผลบวกโดยใชเสนจํานวนโดยเคลื่อนลูกศรไปทางขวาเมื่อบวกดวย ทักษะการคิดแปลความ จํานวนเต็มบวก และเคลื่อนลูกศรไปทางซายเมื่อบวกดวยจํานวนเต็มลบ 2. ครูเขียนโจทยการบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบบนกระดาน ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห 1) 12+(–8) 2) 6+(–8) 3) 8+(–8) ใหนกเรียนแตละคนหาคําตอบบนเสนจํานวน ั 3. นักเรียนและครูสรุปคําตอบที่ไดบนกระดานดํา ดังนี้ ทักษะการคิดแปลความ
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 54 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1) 12+(–8) 12+(–8) คือ เริ่มจาก 12 แลวเคลื่อนไปทางซาย 8 หนวย จะได 12+(–8) = 4 2) 6+(–8) 6+(–8) คือ เริ่มจาก 6 แลวเคลื่อนไปทางซาย 8 หนวย จะได 6+(–8) = –2 3) 8+(–8) 8+(–8) คือ เริ่มจาก 8 แลวเคลื่อนไปทางซาย 8 หนวย จะได 8+(–8) = 0 4. ครูสนทนากับนักเรียนถึงขั้นตอนและวิธีการหาคําตอบขางตนวามีวธีการและลักษณะ ิ ทักษะการคิดสรุปความ อยางไร จนไดขอสรุปดังนี้ “การหาผลบวกของจํานวนเต็มบวก กับจํานวนเต็มลบโดยใชเสนจํานวน คือการเคลื่อนที่จากจุดที่แทนจํานวนเต็มบวกไปทางซายของเสนจํานวนเปน ระยะทางเทากับระยะทางจากศูนยไปยังจํานวนเต็มลบนั้น” 5. ครูแนะนําการหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ โดยใชคาสัมบูรณ ทักษะการคิดแปลความ (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา 54-57) โดยครูใหนกเรียนสังเกตดวยวาจํานวนตรง ั ขามกันจะมีคาสัมบูรณเทากัน เชน คาสัมบูรณของ 4 เทากับ 4 คาสัมบูรณของ –4 เทากับ 4 และคาสัมบูรณของจํานวนเต็มที่ไมใชศูนย จะเปนบวกเสมอ 6. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 12 เปนการบาน ั
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 55 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 3 (สรุปหลักเกณฑการบวกจํานวนเต็ม) 1. ครูยกตัวอยางสถานการณดังนี้ คุณแมใหเงินแจวไปโรงเรียน 9 บาท ระหวางเดินทาง ทักษะการคิดวิเคราะห ไปโรงเรียนเจอคุณพอ คุณพอใหเงินอีก 5 บาท แจวดีใจมาก จากเรืองครูซักถาม ่ นักเรียนวาแจวไดเงินไปโรงเรียนกี่บาท 2. ใหนกเรียนชวยกันเขียนประโยคสัญลักษณจากเรื่องที่ครูเลา (9+5 = ) ั ทักษะการคิดวิเคราะห 3. ครูใหนักเรียนหาคําตอบโดยใชเสนจํานวน แลวนํามาเขียนบนกระดานหนาชันเรียน ้ ทักษะการคิดวิเคราะห ดังนี้ ดังนั้น 9+5 = 14 4. ครูเลาเรื่องใหนักเรียนฟงตอเกี่ยวกับการบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ เชน ทักษะการคิดวิเคราะห เด็กชายนัท ไปยืมเงินเด็กหญิงแมว 9 บาท หลังจากนันไปยืมเงินเด็กชายเอกเพิ่มอีก 5 ้ บาท ครูซกถามนักเรียนวาเด็กชายนัทไปยืมเงินเพื่อนๆ แสดงวาเด็กชายนัทมีเงินหรือไม ั (ไมมี) เงินที่เด็กชายนัทยืมไปเขียนเปนประโยคสัญลักษณไดอยางไร [(–9)+(–5) ] = 5. ใหนกเรียนลองหาคําตอบของประโยคสัญลักษณขางตนบนเสนจํานวน แลวนําเสนอ ั ทักษะการคิดวิเคราะห บนกระดานหนาชั้นเรียน ดังนี้ ดังนั้น (–9)+(–5) = –14 6. ครูใหนักเรียนชวยกันพิจารณาการหาผลบวกของจํานวนเต็มขางตนโดยใชคาสัมบูรณ  ทักษะการคิดวิเคราะห ดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ 1) 9+5 เนื่องจาก |9| = 9 |5| = 5 ดังนั้น 9+5 = |9|+|5| = 9+5 = 14 2) (−9)+(−5) เนื่องจาก |−9| = 9 |−5| = 5 ดังนั้น (−9)+(−5) = −(|−9|+|−5|) = −(9+5) = −14
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 56 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 7. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปออกมาเปนหลักเกณฑ ดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ 1) การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกันและตอบ เปนจํานวนเต็มบวก 2) การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ ใหนําคาสัมบูรณมาบวกกันและตอบเปน จํานวนเต็มลบ 8. ครูยกตัวอยางการหาผลบวกจากหลักเกณฑขางตน 2-3 ตัวอยาง ใหนักเรียนชวยกันหา ทักษะการคิดแปลความ คําตอบบนกระดานดํา ดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ 1) จงหาผลบวกของ 35+25 วิธีทํา เนื่องจาก |35| = 35 |25| = 25 ดังนั้น 35+25 = |35|+|25| = 35+25 = 60 ตอบ 35+25 = 60 2) จงหาผลบวกของ (−10)+( −18) วิธีทํา เนื่องจาก |−10| = 10 |−18| = 18 ดังนั้น (−10)+( −18) = −(|−10|+|−18|) = −(10+18) = −28 ตอบ (−10)+( −18) = −28 9. ครูยกตัวอยางโจทยการบวกจํานวนเต็มที่มเี ครื่องหมายตางกัน เชน ทักษะการคิดวิเคราะห 1) (−7)+3 ทักษะการคิดคํานวณ 2) (−6)+10 ใหนกเรียนชวยกันหาคําตอบบนกระดานดําจากเสนจํานวน ดังนี้ ั 1) (−7)+3 (−7)+3 = −4 2) (−6)+10 (−6)+10 = 4
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 57 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 10. ใหนกเรียนชวยกันพิจารณาและสังเกตถึงคําตอบที่ได แลวพิจารณาการหาผลบวก ั ทักษะการคิดวิเคราะห ของจํานวนเต็มขางตนโดยใชคาสัมบูรณ ดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ 1) (−7)+3 เนื่องจาก |−7| = 7 |3| = 3 และ 7 มากกวา 3 เมื่อนํา 7 ลบดวย 3 และตอบเปนจํานวนเต็มลบ จะได −4 เชนเดียวกับการหาผลบวกโดยใชเสนจํานวน 2) (−6)+10 เนื่องจาก |−6| = 6 |10| = 10 และ 10 มากกวา 6 เมื่อนํา 10 ลบดวย 6 และตอบเปนจํานวนเต็มบวก จะได 4 เชนเดียวกับการหาผลบวกโดยใชเสนจํานวน 11. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลจากการพิจารณาขางตนเปนหลักเกณฑ ดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ การบวกจํานวนเต็มบวกดวยจํานวนเต็มลบ หรือการบวกจํานวน เต็มลบดวยจํานวนเต็มบวก ใหนําคาสัมบูรณของจํานวนเต็มทั้งสองมาลบ กัน และตอบเปนจํานวนเต็มบวกหรือจํานวนเต็มลบเหมือนกับจํานวนที่มี คาสัมบูรณมากกวา 12. ครูและนักเรียนชวยกันสรางโจทยการหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็ม ทักษะการคิดสังเคราะห ลบหรือจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มบวก 2-3 ตัวอยาง ใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบและ จดลงในสมุด เชน 1) จงหาผลบวกของ (−16)+5 2) จงหาผลบวกของ 35+(−10) 1) วิธีทํา เนื่องจาก |−16| = 16 |5| = 5 และ 16 > 5 ดังนั้น (−16)+5 = −(|−16|−|5|) = −(16 −5) = −11 ตอบ (−16)+5 = −11
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 58 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2) วิธีทํา เนื่องจาก |35| = 35 |−10| = 10 และ 35 > 10 ดังนั้น 35+(−10) = |35|−|−10| = 35 −10 = 25 ตอบ 35+(−10) = 25 13. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 13 ภายในชัวโมง โดยครูเดิน ่ ตรวจสอบความถูกตองและใหคําแนะนําเพิมเติมกับนักเรียน ่ 14. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบาน ชั่วโมงที่ 4 (สมบัติการบวกของจํานวนเต็มบวก) 1. ครูยกตัวอยางโจทยการบวกจํานวนเต็มแบบตางๆ เชน ทักษะการคิดคํานวณ 1) 13+(−24) 2) 20+15 3) (−6)+(−8) 4) (−5)+5 นักเรียนหาผลบวกของตัวอยางขางตนบนกระดานดํา ดังนี้ 1) 13+(−24) = −11 2) 20+15 = 35 3) (−6)+(−8) = −14 4) (−5)+5 = 0 2. ครูใหนักเรียนรวมกันพิจารณาผลบวกของจํานวนเต็มในแตละขอวาเปนจํานวนเต็ม ทักษะการคิดวิเคราะห หรือไม (เปน) 3. ครูแนะนําใหนกเรียนรูจักสมบัติขอที่ 1 ของการบวกจํานวนเต็ม ดังนี้ ั ทักษะการคิดแปลความ “ถา a และ b เปนจํานวนเต็ม แลว a+b เปนจํานวนเต็ม เรียกวา สมบัตปดสําหรับการ ิ บวกของจํานวนเต็ม” 4. ครูซักถามนักเรียนจากตัวอยางขางตนวาเปนสมบัติปดสําหรับการบวกของจํานวนเต็ม ทักษะการคิดวิเคราะห หรือไม ใหนักเรียนอธิบาย (เปน เพราะจํานวนเต็มสองจํานวนบวกกัน ผลบวกที่ไดเปน จํานวนเต็ม) 5. ครูใหนกเรียนรวมกันอภิปรายตอไปวา ถานําจํานวนมากกวา 2 จํานวนขึ้นไปมาบวก ั ทักษะการคิดวิเคราะห กัน จะมีสมบัตปดสําหรับการบวกจํานวนเต็มหรือไม (มี)ใหนักเรียนยกตัวอยางประกอบ ิ
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 59 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 6. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสมบัติปดสําหรับการบวกของจํานวนเต็มอีกครั้ง แลวให ทักษะการคิดสรุปความ นักเรียนจดลงในสมุด สมบัติปดสําหรับการบวกของจํานวนเต็ม ถา a และ b เปนจํานวนเต็ม แลว a+b เปนจํานวนเต็ม 7. ครูยกตัวอยางโจทยการหาผลบวกของจํานวนเต็ม 2 ขอ โดยกําหนดจํานวนในขอ 1 ทักษะการคิดคํานวณ และขอ 2 เหมือนกัน แตสลับตําแหนงกัน เชน 1) 100+(−131) 2) (−131)+100 ใหนกเรียนชวยกันหาผลบวกของโจทยขางตน จะไดดังนี้ ั 1) 100+(−131) = −31 2) (−131)+100 = −31 8. ใหนกเรียนรวมกันพิจารณาผลบวกที่ไดในขอ 1 และ 2 โดยครูเปนผูซักถาม จนได ั ทักษะการคิดสรุปความ ขอสรุปวา “ถา a และ b เปนจํานวนเต็มใดๆ แลว a+b = b+a” ครูแนะนําวาขอสรุปขางตน เรียกวา สมบัตการสลับที่สําหรับการบวกของจํานวนเต็ม ิ 9. ครูและนักเรียนเขียนสรุปสมบัติการสลับที่สําหรับการบวกของจํานวนเต็มบนกระดาน ทักษะการคิดสรุปความ พรอมทั้งยกตัวอยาง แลวใหนกเรียนจดลงในสมุด ดังนี้ ั สมบัติการสลับที่สําหรับการบวกของจํานวนเต็ม ถา a และ b เปนจํานวนเต็มใดๆ แลว a+b = b+a 10. ครูยกตัวอยางโจทยการหาผลบวกของจํานวนเต็ม 3 จํานวน ดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ 1) [15+(−27)]+56 2) 15+[(−27)+56] ใหนกเรียนชวยกันหาผลบวกของโจทยขางตน จะไดดังนี้ ั 1) [15+(−27)]+56 = (−12)+56 = 44 2) 15+[(−27)+56] = 15+29 = 44 นั่นคือ [15+(−27)]+56 = 15+[(−27)+56]
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 60 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 11. ครูใหนักเรียนรวมกันพิจารณาและอภิปรายคําตอบที่ได จนสามารถสรุปเปนสมบัติ ทักษะการคิดสรุปความ การบวกไดดังนี้ สมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวกของจํานวนเต็ม ถา a, b และ c เปนจํานวนเต็มใดๆ แลว (a+b)+c = a+(b+c) 12. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการนําจํานวนเต็มศูนยบวกกับจํานวนเต็ม ทักษะการคิดแปลความ อื่นๆ ถึงคําตอบที่ได เชน 1) 8+0 = 8 2) (−9)+0 = (−9) 3) a+0 = a 4) −a+0 = −a 13. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปถึงคําตอบที่ได จนสามารถสรุปเปนสมบัติ ทักษะการคิดสรุปความ การมีเอกลักษณการบวกของจํานวนเต็ม ดังนี้ สมบัติการมีเอกลักษณการบวกของจํานวนเต็ม มี 0 เพียงจํานวนเดียว ซึ่งสําหรับทุกๆ จํานวนเต็ม a ทําให a+0 = 0+a = a เรียก 0 วา “เอกลักษณการบวก” สําหรับจํานวนเต็ม 14. ครูสนทนากับนักเรียนเกียวกับการหาผลบวกของจํานวนเต็มสองจํานวนที่ไดผลลัพธ ทักษะการคิดแปลความ ่ เทากับศูนย โดยการซักถาม เชน 1) 8+ = 0 จะไดจํานวนใน คือ −8 2) −6+ = 0 จะไดจํานวนใน คือ 6 ครูแนะนําถึงคําตอบที่ได จะเรียกวา “ตัวผกผันการบวกของจํานวนเต็ม” จากโจทยขอ 1) จะไดวา −8 เปนตัวผกผันการบวกของ 8 หรือ 8 เปนตัวผกผันการ บวกของ −8 จากโจทยขอ 2) จะไดวา 6 เปนตัวผกผันการบวกของ −6 หรือ −6 เปนตัวผกผันการ บวกของ 6 15. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเปนสมบัติการมีตัวผกผันการบวกของจํานวนเต็ม ดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ สมบัติการมีตัวผกผันการบวกของจํานวนเต็ม สําหรับจํานวนเต็ม a ใดๆ มี −a เพียงจํานวนเดียว ซึ่ง a+(−a) = (−a)+a = 0 เรียก −a วาตัวผกผันการบวกของ a 16. ครูยกตัวอยางโจทยบนกระดานใหนกเรียนชวยกันตอบคําถามวาตรงกับสมบัติการ ั ทักษะการคิดวิเคราะห
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 61 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ บวกของจํานวนเต็มในขอใด เพื่อเปนการทบทวนเรื่องสมบัติการบวกทีเ่ รียนมาตอนตน ชั่วโมง 17. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 3 เปนการบาน 5.3 ขั้นสรุป ชั่วโมงที่ 1 (การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก, การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ) ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก และจํานวนเต็มลบกับ จํานวนเต็มลบบนเสนจํานวน ชั่วโมงที่ 2 (การบวกจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ) ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบบนเสนจํานวน ชั่วโมงที่ 3 (สรุปหลักเกณฑการบวกจํานวนเต็ม) ครูและนักเรียนรวมกันสรุปหลักเกณฑของ 1) การหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มบวก 2) การหาผลบวกของจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มลบ 3) การหาผลบวกของจํานวนเต็มบวกกับจํานวนเต็มลบ 4) การหาผลบวกของจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มบวก ชั่วโมงที่ 4 (สมบัติการบวกของจํานวนเต็ม) ครูและนักเรียนชวยกันสรุปสมบัติการบวกเปนขอๆ ดังนี้ 1) สมบัติปดสําหรับการบวกของจํานวนเต็ม 2) สมบัติการสลับที่สําหรับการบวกของจํานวนเต็ม 3) สมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวกของจํานวนเต็ม 4) สมบัติการมีเอกลักษณการบวกของจํานวนเต็ม 5) สมบัติการมีตัวผกผันการบวกของจํานวนเต็ม 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู หนังสือเรียนรายวิชาพืนฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ้ 6.2 แหลงเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 62 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูใหนักเรียนไปคนหาแบบฝกหัดเกี่ยวกับการบวกจํานวนเต็มในหนังสือคูมือคณิตศาสตรตางๆ และจัดทํา เปนรายงานมาสงครู ขั้นวิเคราะห ใหนกเรียนแตละคนวิเคราะหโจทยที่คนหามาวาเปนการบวกจํานวนเต็มชนิดใด และแสดงวิธีหาคําตอบ ั ถูกตองหรือไม ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานของนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหนักเรียนนําไปปรับปรุงแกไขแลวนํา มาสงครู ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนเลือกโจทยที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องการบวกจํานวนเต็มหนาหองเรียน  7.2 กิจกรรมการบูรณาการ -
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 63 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)  ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 64 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร  ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ ....................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน