SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๔ --
พระนามในสุพรรณบัฎ
เมื่อมีพระชันษาครบเดือน (๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๓๕) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
โปรดให้มีพระราชสมโภชเดือน และพระราชทานนามว่า
“สมเด็จเจ้าฟ้าชายมหิดลอดุลยเดชนเรศวร
มหาราชาธิบดินทร์ จุฬาลงกรณินทรวรางกูร
สมบูรณ์เบญจพร สิริสวัสดิ์ ขัตติยวโรภโตสุชาติ
คุณสังกาศเกียรติประกฤษฐ์ ลักษณะวิจิตรพิสิฏฐ
บุรุษย์ ชนุตมรัตนพัฒนศักดิ์ อรรควรราช”
ทรงมีพระพลานามัยไม่สมบูรณ์มาตั้งแต่
ที่ยังทรงพระเยาว์ต้องเสวยน้ํามันตับปลาเป็น
ประจํา๗
มีกรมหลวงสมรรัตน์ศิริเชษฐ์ เป็นผู้
ถวายดูแลอย่างใกล้ชิด และได้รับการถวายพระ
อักษรเบื้องต้น ณ โรงเรียนราชกุมาร ใน
พระบรมมหาราชวัง พร้อมกับพระเจ้าลูกยา
เธออีก ๓ พระองค์ คือ ทูลกระหม่อมเอียด
น้อย๘
ทูลกระหม่อมอัษฎางค์๙
และ
ทูลกระหม่อมติ๋ว๑๐
โดยมีพระยาอิศรพันธุ์โสภณ
(ม.ร.ว. หนู อิศรางกูร) เป็นพระอาจารย์ผู้ถวาย
การสอนภาษาไทยคนแรก
ต่อมาทรงย้ายไปประทับกับสมเด็จพระบรมชนกนาถที่พระราชวังดุสิต ทรงรับการศึกษาวิชา
ภาษาอังกฤษมากขึ้น และทรงรับการศึกษาเป็นนักเรียนนายร้อยพิเศษ ที่โรงเรียนนายร้อยประถมพร้อมกับ
พระเชษฐาและพระอนุชาทั้ง ๓ พระองค์ที่เริ่มทรงพระอักษรมาพร้อมๆ กันแต่ต้น มีร้อยโทหยินเป็นครูผู้
๗
นพ. สวัสดิ์ แดงสว่าง หนึ่งในผู้ได้รับทุนพระราชทานสมเด็จพระบรมราชชนก ระบุในบทความพิเศษของหนังสือคลินิก
ฉบับเดือนกันยายน ๒๕๓๑ หน้า ๖๓๐ ว่า “พระอนามัยในตอนทรงพระเยาว์อยู่ไม่สู้สมบูรณ์นัก พระวรกายค่อนข้างซูบผอม
ต้องเสวยนํ้ามันตับปลาเป็นประจํา ต่อมาพบว่าทูลกระหม่อมฯ ประชวรพยาธิ จึงถวายการรักษา โดยใช้พระโอสถประจุ
หลังจากนั้นมาจึงค่อยมีพระอนามัยสมบูรณ์ขึ้น”
๘
สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ ซึ่งภายหลังเสด็จถวัลยราชเป็นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗
๙
สมเด็จเจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา
๑๐
สมเด็จเจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕ --
ฝึก โดยรับการฝึกร่วมกับนักเรียนนายร้อยสามัญชนที่มีวัยไล่เรี่ยกันอีก ๘ คน จัดเป็นหน่วย ๑ หมู่ ๑๒
ในช่วงทรงพระเยาว์โปรดการฉายพระรูปเป็นอย่างมาก ทรงมีกล้องถ่ายรูปส่วนพระองค์
ทรงได้มีโอกาสตามเสด็จพระราชมารดาพระพาสหัวเมืองหลายครั้ง ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เพียง ๓
พรรษา เช่น เมื่อทรงตามเสด็จปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ชัยนาท อุทัยธานี นครสวรรค์ และพิษณุโลก ใน
ปี พ.ศ. ๒๔๓๘ และอีกครั้งเมื่อมีพระชนมายุได้
๗ พรรษา เมื่อพระราชมารดาทรงประชวรในเดือน
กรกฎาคม ปี พ.ศ. ๒๔๔๒ ก็ได้ตามเสด็จประพาส
หัวเมืองชายฝั่งตะวันออก เพื่อไปประทับรักษา
พระองค์ ณ ศรีราชา ทรงมีน้ําพระทัยที่ทรง
เมตตากรุณาต่อบรรดาประชาราษฎร์โดยทั่วไป
และไม่ทรงถือพระองค์ ครั้งหนึ่งเคยทรงปลอม
พระองค์เป็นสามัญชนตามเสด็จบิณฑบาตสมเด็จ
เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธระหว่างทรงผนวช
นอกจากนั้น ยังทรงเป็นอภิชาตบุตรผู้
ทรงกตัญญูรักใคร่ในสมเด็จพระราชบิดา และ
สมเด็จพระราชมารดาอย่างลึกซึ้ง ด้วยความ
สงสารพระราชมารดาที่ต้องโศกสลดพระทัยอัน
เนื่องด้วยเหตุพระเชษฐา และพระขนิษฐาหลาย
พระองค์ล้วนสิ้นพระชนม์ลงในวัยเยาว์ ๑๒
๑๑
หนึ่งในนั้นคือ พลตรีพระศักดาพลรักษ์ ซึ่งมีโอกาสใกล้ชิดสมเด็จฯ พระบรมราชชนกมากขึ้นเมื่อติดตามไปเรียนวิชาการ
ทหารที่อังกฤษ และเยอรมันด้วยในระยะเวลาต่อมา
๑๒
ครั้งหนึ่ง สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ได้เคยตรัสเล่าถึงพระราชดํารัสของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ระหว่างทรงประชวรครั้งสุดท้าย ก่อนสิ้นพระชนม์ ว่าได้ตรัสตอบคําถามถึงสาเหตุที่ไม่
ทรงรับราชการเหมือนเจ้าฟ้าพระองค์อื่นๆ ดังนี้
"รู้สึกสลดใจว่าตั้งแต่หม่อมฉันเกิดมาเห็นแต่เสด็จแม่ทรงเปนทุกข์โศก ไม่มีอะไรที่จะทําให้ชื่นพระหฤทัยเสียเลย
สงสารเสด็จแม่จึงคิดว่าลูกผู้ชายของท่านก็เหลืออยู่แต่หม่อมฉันคนเดียว ควรจะสนองพระคุณด้วยทําการงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้
เสด็จแม่ทรงยินดีด้วยเห็นลูกสามารถทําความดีให้เปนคุณประโยชน์แก่บ้านเมืองได้ ไม่เลี้ยงมาเสียเปล่า เมื่อคิดต่อไปว่าจะทําการ
อย่างไรดี หม่อมฉันคิดเห็นว่าในทางราชการนั้นก็มีทูลกระหม่อมพระราชโอรสในสมเด็จพระศรีพัชรินทรอยู่หลายพระองค์แล้ว ตัว
หม่อมฉันจะทําราชการหรือไม่ทําก็ไม่ผิดกันเท่าใดนัก จึงคิดว่าการช่วยชีวิตผู้คนพลเมืองเปนการสําคัญอย่างหนึ่งซึ่งหม่อมฉันอาจจะ
ทําได้โดยลําพังตัว เพราะทรัพย์สินส่วนตัวก็มีพอจะเลี้ยงชีวิตแล้ว จะสละเงินที่ได้รับพระราชทานในส่วนที่เปนเจ้าฟ้าเอามาใช้เปนทุน
ทําการตามความคิดให้เปนประโยชน์แก่บ้านเมือง ด้วยเหตุดังทูลมานี้หม่อมฉันจึงไม่ทําราชการ”
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๖ --
เจ้าฟ้ากรมขุนสงขลานครินทร์
เมื่อทรงเจริญพระชันษาได้ ๑๒ พรรษา ทรงเข้าพระราชพิธีมหามงคลโสกันต์ วันที่ ๒๔ – ๓๐
ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๖ และทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าต่างกรม ทรงศักดินา
๔๐,๐๐๐ ไร่ มีพระนามตามจารึกในสุพรรณบัตรว่า
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดล
อดุลเดช นเรศวรมหาราชาธิบดินทร์ จุฬาลงกรณินท
รวรางกูร สมบูรณ์เบญจพรสิริสวัสดิ์ ขัตติยวโรภ
โตสุชาต คุณสังกาศเกียรติประกฤษฐ์ ลักษณ
วิจิตร พิสิฎฐ์บุรุษย์ชนุดมรัตน์พัฒนศักดิ์ อรรควร
ราชกุมาร กรมขุนสงขลานครินทร์ มุสิกนาม
หลังจากนั้น ๘ เดือน ได้ทรงบรรพชา
เป็นสามเณร มีฉายา “มหิตลาตุโล” เป็นเวลา ๑
พรรษา (๒๑ สิงหาคม – ๑๓ ธันวาคม ๒๔๔๗)
เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้า
ฟ้ามหาวชิราวุธ (พระบาทสมเด็จ พระมงกุฏ
เกล้าเจ้าอยู่หัว) ทรงผนวช ณ วัดพระศรีรัตน
ศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม
พระวชิรญานโรรส ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ หม่อม
เจ้าพระสถาพรพิริยพรตเป็นพระกรรมวาจา หลัง
ทรงผนวช เจ้าฟ้าทั้ง ๒ พระองค์ได้ทรงเสด็จมา
จําพรรษาที่วัดบวรนิเวศวิหาร โดยได้ประทับที่
พระตําหนักปั้นหยา ๑ คืน ก่อนเสด็จประทับที่
พระตําหนักทรงพรต ตามราชประเพณี

More Related Content

Viewers also liked

20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาลสุรพล ศรีบุญทรง
 
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุขสุรพล ศรีบุญทรง
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์สุรพล ศรีบุญทรง
 
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่งสุรพล ศรีบุญทรง
 
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoสุรพล ศรีบุญทรง
 
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรมสุรพล ศรีบุญทรง
 
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดลสุรพล ศรีบุญทรง
 
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสานสุรพล ศรีบุญทรง
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สุรพล ศรีบุญทรง
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติสุรพล ศรีบุญทรง
 

Viewers also liked (12)

20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
 
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
 
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
 
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
 
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
 
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
 
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
 
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังสุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 

02 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระนามในสุพรรณบัฏ

  • 1. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๔ -- พระนามในสุพรรณบัฎ เมื่อมีพระชันษาครบเดือน (๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๓๕) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้มีพระราชสมโภชเดือน และพระราชทานนามว่า “สมเด็จเจ้าฟ้าชายมหิดลอดุลยเดชนเรศวร มหาราชาธิบดินทร์ จุฬาลงกรณินทรวรางกูร สมบูรณ์เบญจพร สิริสวัสดิ์ ขัตติยวโรภโตสุชาติ คุณสังกาศเกียรติประกฤษฐ์ ลักษณะวิจิตรพิสิฏฐ บุรุษย์ ชนุตมรัตนพัฒนศักดิ์ อรรควรราช” ทรงมีพระพลานามัยไม่สมบูรณ์มาตั้งแต่ ที่ยังทรงพระเยาว์ต้องเสวยน้ํามันตับปลาเป็น ประจํา๗ มีกรมหลวงสมรรัตน์ศิริเชษฐ์ เป็นผู้ ถวายดูแลอย่างใกล้ชิด และได้รับการถวายพระ อักษรเบื้องต้น ณ โรงเรียนราชกุมาร ใน พระบรมมหาราชวัง พร้อมกับพระเจ้าลูกยา เธออีก ๓ พระองค์ คือ ทูลกระหม่อมเอียด น้อย๘ ทูลกระหม่อมอัษฎางค์๙ และ ทูลกระหม่อมติ๋ว๑๐ โดยมีพระยาอิศรพันธุ์โสภณ (ม.ร.ว. หนู อิศรางกูร) เป็นพระอาจารย์ผู้ถวาย การสอนภาษาไทยคนแรก ต่อมาทรงย้ายไปประทับกับสมเด็จพระบรมชนกนาถที่พระราชวังดุสิต ทรงรับการศึกษาวิชา ภาษาอังกฤษมากขึ้น และทรงรับการศึกษาเป็นนักเรียนนายร้อยพิเศษ ที่โรงเรียนนายร้อยประถมพร้อมกับ พระเชษฐาและพระอนุชาทั้ง ๓ พระองค์ที่เริ่มทรงพระอักษรมาพร้อมๆ กันแต่ต้น มีร้อยโทหยินเป็นครูผู้ ๗ นพ. สวัสดิ์ แดงสว่าง หนึ่งในผู้ได้รับทุนพระราชทานสมเด็จพระบรมราชชนก ระบุในบทความพิเศษของหนังสือคลินิก ฉบับเดือนกันยายน ๒๕๓๑ หน้า ๖๓๐ ว่า “พระอนามัยในตอนทรงพระเยาว์อยู่ไม่สู้สมบูรณ์นัก พระวรกายค่อนข้างซูบผอม ต้องเสวยนํ้ามันตับปลาเป็นประจํา ต่อมาพบว่าทูลกระหม่อมฯ ประชวรพยาธิ จึงถวายการรักษา โดยใช้พระโอสถประจุ หลังจากนั้นมาจึงค่อยมีพระอนามัยสมบูรณ์ขึ้น” ๘ สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ ซึ่งภายหลังเสด็จถวัลยราชเป็นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ๙ สมเด็จเจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา ๑๐ สมเด็จเจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย
  • 2. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕ -- ฝึก โดยรับการฝึกร่วมกับนักเรียนนายร้อยสามัญชนที่มีวัยไล่เรี่ยกันอีก ๘ คน จัดเป็นหน่วย ๑ หมู่ ๑๒ ในช่วงทรงพระเยาว์โปรดการฉายพระรูปเป็นอย่างมาก ทรงมีกล้องถ่ายรูปส่วนพระองค์ ทรงได้มีโอกาสตามเสด็จพระราชมารดาพระพาสหัวเมืองหลายครั้ง ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เพียง ๓ พรรษา เช่น เมื่อทรงตามเสด็จปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ชัยนาท อุทัยธานี นครสวรรค์ และพิษณุโลก ใน ปี พ.ศ. ๒๔๓๘ และอีกครั้งเมื่อมีพระชนมายุได้ ๗ พรรษา เมื่อพระราชมารดาทรงประชวรในเดือน กรกฎาคม ปี พ.ศ. ๒๔๔๒ ก็ได้ตามเสด็จประพาส หัวเมืองชายฝั่งตะวันออก เพื่อไปประทับรักษา พระองค์ ณ ศรีราชา ทรงมีน้ําพระทัยที่ทรง เมตตากรุณาต่อบรรดาประชาราษฎร์โดยทั่วไป และไม่ทรงถือพระองค์ ครั้งหนึ่งเคยทรงปลอม พระองค์เป็นสามัญชนตามเสด็จบิณฑบาตสมเด็จ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธระหว่างทรงผนวช นอกจากนั้น ยังทรงเป็นอภิชาตบุตรผู้ ทรงกตัญญูรักใคร่ในสมเด็จพระราชบิดา และ สมเด็จพระราชมารดาอย่างลึกซึ้ง ด้วยความ สงสารพระราชมารดาที่ต้องโศกสลดพระทัยอัน เนื่องด้วยเหตุพระเชษฐา และพระขนิษฐาหลาย พระองค์ล้วนสิ้นพระชนม์ลงในวัยเยาว์ ๑๒ ๑๑ หนึ่งในนั้นคือ พลตรีพระศักดาพลรักษ์ ซึ่งมีโอกาสใกล้ชิดสมเด็จฯ พระบรมราชชนกมากขึ้นเมื่อติดตามไปเรียนวิชาการ ทหารที่อังกฤษ และเยอรมันด้วยในระยะเวลาต่อมา ๑๒ ครั้งหนึ่ง สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ได้เคยตรัสเล่าถึงพระราชดํารัสของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ระหว่างทรงประชวรครั้งสุดท้าย ก่อนสิ้นพระชนม์ ว่าได้ตรัสตอบคําถามถึงสาเหตุที่ไม่ ทรงรับราชการเหมือนเจ้าฟ้าพระองค์อื่นๆ ดังนี้ "รู้สึกสลดใจว่าตั้งแต่หม่อมฉันเกิดมาเห็นแต่เสด็จแม่ทรงเปนทุกข์โศก ไม่มีอะไรที่จะทําให้ชื่นพระหฤทัยเสียเลย สงสารเสด็จแม่จึงคิดว่าลูกผู้ชายของท่านก็เหลืออยู่แต่หม่อมฉันคนเดียว ควรจะสนองพระคุณด้วยทําการงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ เสด็จแม่ทรงยินดีด้วยเห็นลูกสามารถทําความดีให้เปนคุณประโยชน์แก่บ้านเมืองได้ ไม่เลี้ยงมาเสียเปล่า เมื่อคิดต่อไปว่าจะทําการ อย่างไรดี หม่อมฉันคิดเห็นว่าในทางราชการนั้นก็มีทูลกระหม่อมพระราชโอรสในสมเด็จพระศรีพัชรินทรอยู่หลายพระองค์แล้ว ตัว หม่อมฉันจะทําราชการหรือไม่ทําก็ไม่ผิดกันเท่าใดนัก จึงคิดว่าการช่วยชีวิตผู้คนพลเมืองเปนการสําคัญอย่างหนึ่งซึ่งหม่อมฉันอาจจะ ทําได้โดยลําพังตัว เพราะทรัพย์สินส่วนตัวก็มีพอจะเลี้ยงชีวิตแล้ว จะสละเงินที่ได้รับพระราชทานในส่วนที่เปนเจ้าฟ้าเอามาใช้เปนทุน ทําการตามความคิดให้เปนประโยชน์แก่บ้านเมือง ด้วยเหตุดังทูลมานี้หม่อมฉันจึงไม่ทําราชการ”
  • 3. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๖ -- เจ้าฟ้ากรมขุนสงขลานครินทร์ เมื่อทรงเจริญพระชันษาได้ ๑๒ พรรษา ทรงเข้าพระราชพิธีมหามงคลโสกันต์ วันที่ ๒๔ – ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๖ และทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าต่างกรม ทรงศักดินา ๔๐,๐๐๐ ไร่ มีพระนามตามจารึกในสุพรรณบัตรว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดล อดุลเดช นเรศวรมหาราชาธิบดินทร์ จุฬาลงกรณินท รวรางกูร สมบูรณ์เบญจพรสิริสวัสดิ์ ขัตติยวโรภ โตสุชาต คุณสังกาศเกียรติประกฤษฐ์ ลักษณ วิจิตร พิสิฎฐ์บุรุษย์ชนุดมรัตน์พัฒนศักดิ์ อรรควร ราชกุมาร กรมขุนสงขลานครินทร์ มุสิกนาม หลังจากนั้น ๘ เดือน ได้ทรงบรรพชา เป็นสามเณร มีฉายา “มหิตลาตุโล” เป็นเวลา ๑ พรรษา (๒๑ สิงหาคม – ๑๓ ธันวาคม ๒๔๔๗) เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้า ฟ้ามหาวชิราวุธ (พระบาทสมเด็จ พระมงกุฏ เกล้าเจ้าอยู่หัว) ทรงผนวช ณ วัดพระศรีรัตน ศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม พระวชิรญานโรรส ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ หม่อม เจ้าพระสถาพรพิริยพรตเป็นพระกรรมวาจา หลัง ทรงผนวช เจ้าฟ้าทั้ง ๒ พระองค์ได้ทรงเสด็จมา จําพรรษาที่วัดบวรนิเวศวิหาร โดยได้ประทับที่ พระตําหนักปั้นหยา ๑ คืน ก่อนเสด็จประทับที่ พระตําหนักทรงพรต ตามราชประเพณี