006

education

มคอ.๔
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 1
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์อุบลราชธานี
วิทยาลัย/คณะ/ ภาควิชา: คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศึกษา และสาขาการสอนภาษาอังกฤษ
หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป
๑. รหัสและชื่อรายวิชา:
๒๐๐ ๔๑๑ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑
(Professional Experience 1)
๒. จานวนชั่วโมง/หน่วยกิต:
๒(๘๐)
๓. หลักสูตร และประเภทของรายวิชา:
๓.๑ หลักสูตร พุทธศาสตรบัณฑิต
๓.๒ ประเภท หมวดวิชาชีพครู
๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกงาน:
พระใบฎีกาสุพจน์ ตปสีโล
พระอธิการบัญชา เขมวีโร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพิมล ศรศักดา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรยวัสถ์ ฝางคา
อาจารย์พูลศักดิ์ หอมสมบัติ
๕. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ ๑ ชั้นปีที่ ๔
หมวดที่ ๒. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
๑. จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม เพื่อให้นิสิต
๑) มีประสบการณ์และเข้าใจสภาพแวดล้อมทั่วไปของโรงเรียน การบริหารจัดการในโรงเรียน
สภาพงานครู พฤติกรรมและคุณลักษณะของครู นักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา สื่อ แหล่งเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ และธรรมชาติการเรียนรู้ของนักเรียน
๒) มีความสามารถและทักษะด้านวิชาชีพครู และสามารถเชื่อมโยงแนวคิด หลักการ และทฤษฎี
ต่างๆ ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
๓ มีประสบการณ์เกี่ยวกับงานในหน้าที่ครู และการจัดการเรียนรู้
มคอ.๔
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 2
๒. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาหรือปรับปรุงประสบการณ์ภาคสนาม
๑) เพื่อปรับปรุงการจัดทารายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ. ๔) ให้สอดคล้องกับ
ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖
หมวดที่ ๓. การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิต
๑. คุณธรรม จริยธรรม
๑.๑ ผลการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรม
๑) แสดงออกซึ่งพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีคุณธรรมที่
เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความเข้าใจผู้อื่น เสียสละ และเป็น
แบบอย่างที่ดี
๒)มีภาวะเป็นผู้นาในการส่งเสริมประพฤติปฏิบัติตามจรรณยาบรรณวิชาชีพอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
๓) มีจิตสาธารณะ เคารพสิทธิ์และความคิดเห็นของผู้อื่น
๑.๒ กระบวนการหรือกิจกรรมที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้
๑) กาหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นิสิตมีระเบียบวินัย โดยเน้นการทางาน
ส่งงาน ให้ตรงเวลา มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทาการทุจริต เช่น คัดลอกข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่อ้างอิง
เป็นต้น นอกจากนี้ อาจารย์นิเทศ และครูพี่เลี้ยง ต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน
รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนิสิตที่ทาดี ทาประโยชน์แก่ส่วนร่วม
เสียสละ และใช้กิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียน สอดแทรกหลักคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการเรียนรู้พร้อม
ทั้งยกตัวอย่างประกอบ และประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
๒) วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมจากสถานการณ์จริงที่พบในการ
ฝึกปฏิบัติงาน
๑.๓ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้
๑) ประเมินจากการสังเกต ตรวจผลงาน และสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง
๒) ประเมินโดยผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ได้แก่ อาจารย์นิเทศก์ ครูพี่เลี้ยง อาจารย์ผู้สอน
๒. ความรู้
๒.๑ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครูและวิชาที่สอนอย่างกว้างขวางลึกซึ้งและเป็นระบบ
บูรณาการความรู้เกี่ยวกับการศึกษาและวิชาชีพครู โดยนิสิตต้องฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน ดังนี้
๑) สังเกตการจัดการเรียนรู้ที่สถานศึกษา
๒) ฝึกการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
๓) ฝึกการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
๔) ฝึกการออกแบบทดสอบ ข้อสอบหรือเครื่องมือวัดผล
๕) ฝึกการตรวจข้อสอบ การให้คะแนน และการตัดสินผลการเรียน
มคอ.๔
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 3
๖) สังเกตการสอนภาคปฏิบัติและฝึกการให้คะแนน
๗) ฝึกทาวิจัยเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียน
๘) ฝึกทักษะความเป็นครูมืออาชีพ
๒.๒ กระบวนการหรือกิจกรรมที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
๑) การจัดปฐมนิเทศก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน
๒) จัดสัมมนาหลังการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน
๓) ฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูตามข้อ ๒.๑ ในห้องเรียนและโรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
๒.๓ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
๑) พิจารณาจากความถูกต้อง ครอบคลุมสาระที่ฝึกทักษะ
๒) พิจารณาจากรายงานสรุปผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑ และผลงานอื่น ๆ
ที่ได้รับมอบหมาย
๓. ทักษะทางปัญญา
๓.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
๑) ใช้ความรู้ในการจัดการบริบทใหม่ทางวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
๒) วิเคราะห์ผลงานวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาแนวความคิดใหม่โดยบูรณาการให้สัมพันธ์กับ
องค์ความรู้เดิม
๓) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสามารถวินิจฉัยปัญหาเชิงวิชาการหรือวิชาชีพได้
๔)วางแผนและดาเนินโครงการวิชาการหรืองานวิจัยด้วยตนเองที่มีประโยชน์ต่อสังคมและวิชาชีพได้
๓.๒ กระบวนการหรือกิจกรรมที่ใช้พัฒนาผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
๑) การวิเคราะห์ผู้เรียน หลักสูตร และเนื้อหาวิชาเพื่อการจัดการเรียนรู้
๒) วิเคราะห์กรณีศึกษาและสะท้อนความคิด การวิเคราะห์ผลงานต่าง ๆ
๓) การถอดบทเรียนจากฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน เพื่อใช้ในการพัฒนางานและ
การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
๔) ฝึกเขียนโครงการวิชาการโดยการวิเคราะห์บริบทของโรงเรียน
๓.๓ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน และการ
นาเสนอ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การศึกษาผู้เรียน การจัดทาโครงการวิชาการ
๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
๔.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
๑. มีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. ดาเนินงานด้วยตนเองได้อย่างเป็นระบบและมีพัฒนาการการเรียนรู้ทางวิชาการและวิชาชีพ
ของตนเองได้
๓. มีภาวะผู้นาและปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้อย่างเหมาะสมตามโอกาส
มคอ.๔
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 4
๔.๒ กระบวนการหรือกิจกรรมที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ
ความรับผิดชอบ
กาหนดกิจกรรมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ให้มีการทางานเป็นกลุ่ม การทางาน
ที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์
โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
๔.๓ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนิสิตในการนาเสนอผลกการฝึกประสบการณ์
วิชาชีพระหว่างเรียน การสัมมนา และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
๕.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
๑. มีทักษะการวิเคราะห์และคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการศึกษาค้นคว้าและวิจัย
๒. สืบค้นและติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการโดยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๓. ถ่ายทอดความรู้และเผยแพร่ผลงานวิชาการ งานวิจัยในรูปแบบต่าง ๆ ในวงการวิชาการ
วิชาชีพ และชุมชนได้
๕.๒ กระบวนการหรือกิจกรรมที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ
สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
นิสิตได้วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อดาเนินงานศึกษาผู้เรียน งานการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร งาน
จัดการเรียนรู้ งานการจัดทาโครงการวิชาการและงานอื่นๆ ให้วิเคราะห์สถานการณ์จาลองและ
สถานการณ์เสมือนจริงและนาเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี
สารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
๕.๓ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑. ประเมินจากเทคนิคการนาเสนอ การจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือ
คณิตศาสตร์และสถิติ
๒. ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่าง ๆ ที่มีการนาเสนอต่อ
ชั้นเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๓. ประเมินจากการตรวจผลงานที่เกี่ยวข้อง
๖. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
๖.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
๑. มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่มีรูปแบบหลากหลาย ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการรูปแบบ
กึ่งทางการและรูปแบบไม่เป็นทางการ อย่างสร้างสรรค์
มคอ.๔
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 5
๒. มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนที่หลากหลายทั้งผู้เรียนที่มีความสามารถ
พิเศษ ที่มีความสามารถปานกลางและผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษอย่างมีนวัตกรรม
๓. มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ในสาขาวิชาที่จะสอนอย่างบูรณาการ
๖.๒ วิธีการพัฒนาผลการเรียนรู้ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
๑. การปฏิบัติการทดลองสอนในสถานศึกษา
๒. การนิเทศจากอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง
๓. การฝึกปฏิบัติและสัมมนาในชั้นเรียน
๖.๓ วิธีการประเมินผลด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
๑. ประเมินโดยใช้แบบประเมินความสามารถในการจัดการเรียนรู้
๒. ประเมินโดยการสังเกต สัมภาษณ์นักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง และตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
และบันทึกหลังจัดการเรียนรู้
หมวดที่ ๔. ลักษณะของประสบการณ์ภาคสนาม
๑. คาอธิบายโดยทั่วไปของประสบการณ์ภาคสนาม
บูรณาการความรู้และการมีส่วนร่วมกับสถานศึกษา โดยสังเกตการจัดการเรียนรู้ การจัดทา
แผนการเรียนรู้ การทดลองสอนในสถานการณ์จาลอง ปฏิบัติธรรม ศึกษาดูงานโครงการในพระราชดาริ
และจัดกิจกรรมจิตอาสา รวบรวมข้อมูลและนาเสนอผลการศึกษา
๒. กิจกรรมของนิสิต
ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานด้านการศึกษาผู้เรียน การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนรู้
โครงการวิชาการ และงานครูด้านอื่น ๆ ทุกวันจันทร์ เป็นระยะเวลา ๒ สัปดาห์ โดยมีครูพี่เลี้ยงให้
คาปรึกษาอย่างใกล้ชิด มีอาจารย์นิเทศก์และมีการสัมมนาตามสาระที่ได้ศึกษาโดยจัดในชั้นเรียนอีก ๕
สัปดาห์
๓. งานที่นิสิตได้รับมอบหมาย
๓.๑ บันทึกการสังเกตการจัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติงานในหน้าที่ครู
๓.๒ บันทึกการศึกษาผู้เรียน
๓.๓ บันทึกการศึกษาดูงานโครงการในพระราชดาริ
๓.๔ บันทึกการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมจิตอาสา
กิจกรรมจิตอาสา (มอบหมายงานให้แต่ละสาขาวิชา ๑ โครงการหรือทาร่วมกันตามความ
เหมาะสม)
๓.๖ บันทึกการเข้าร่วมโครงการ “บริหารจิตและเจริญปัญญาสาหรับครู”
๓.๕ บันทึกการเข้าร่วมโครงการสัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การสังเกตการจัดการเรียนรู้และ
การปฏิบัติงานในหน้าที่ครู”
มคอ.๔
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 6
๔. การติดตามผลการเรียนรู้การฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนิสิต
สัปดาห์ รายละเอียด
๑ อาจารย์ผู้สอน และกลุ่มงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ จัดปฐมนิเทศ
เพื่อทบทวนความรู้และเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานชี้แจงขอบข่ายภาระงานของการ
ฝึกประสบการณ์ ปฏิบัติการเกี่ยวกับการวางแผนและเทคนิคในการศึกษาข้อมูล
๒-๓ การสังเกตการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ณ โรงเรียนเครือข่ายฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตาม
ภาระงานที่กาหนด ประชุมประเมินผลโดยครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์ และผู้บริหารสถาน
สถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
๔- ๑๓ ฝึกปฏิบัติ รับฟังการบรรยาย สาทิตการสอน วิจัยในชั้นเรียน และอื่นๆเพื่อพัฒนาวิชาชีพ
ครู
๑๔ การศึกษาดูงานโครงการในพระราชดาริ
๑๕ การปฏิบัติธรรมโดยเข้าร่วมโครงการ “บริหารจิตและเจริญปัญญาสาหรับครู”
๑๖ นาเสนอผลการศึกษา โครงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑
“สัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการสังเกตการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงานใน
หน้าที่ครู”
๕. บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน ๑ ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ
ส่วนโรงเรียน ได้แก่ ๑. ผู้บริหารสถานศึกษา ๒. ครูพี่เลี้ยง และส่วนมหาวิทยาลัย ได้แก่ ๑. อาจารย์
นิเทศก์ ๒. อาจารย์ผู้สอน โดยมีบทบาทดังนี้
๑. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา
๑.๑ ปฐมนิเทศนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
๑.๒ มอบหมายจัดครูพี่เลี้ยงให้กับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
๑.๓ บริหารจัดการและอานวยความสะดวกให้นิสิตปฏิบัติงานตามภาระงานที่กาหนด
๑.๔ ประสานกับฝ่ายมหาวิทยาลัยเพื่อส่งเสริมคุณภาพประสบการณ์ของนิสิต
๒. บทบาทของครูพี่เลี้ยง
๒.๑ รับผิดชอบนิสิตต่อจากผู้บริหารสถานศึกษา
๒.๒ ดูแลให้นิสิตปฏิบัติวิชาชีพครูตามหัวข้อที่กาหนด
๒.๓ ประเมินผลการปฏิบัติงานของนิสิตตามแบบฟอร์มที่กาหนดให้
๒.๔ ประสานงานกับอาจารย์นิเทศในการนิเทศช่วยเหลือและประเมินผลนิสิต
๓. บทบาทของอาจารย์ผู้สอน
๑. ให้ความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในมหาวิทยาลัยแก่นิสิตให้พร้อมในหัวข้อที่จะออกไป
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน ๑
มคอ.๔
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 7
๒. เมื่อนิสิตกลับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน ๑ จัดให้มีการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกัน
๓.ประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน ๑ของนิสิตตามแบบฟอร์มที่กาหนดให้
๔. อาจารย์ผู้สอนสรุปผลการประเมิน และส่งผลการเรียน
๔. บทบาทของอาจารย์นิเทศก์
๑. เข้าร่วมการปฐมนิเทศการสัมมนาก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน
๒. นิเทศและติดตามผลการออกไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียนของนิสิต
๓. กากับดูแล ติดตาม ประเมิน และให้ข้อมูลย้อนหลังแก่โรงเรียน นิสิตและคณะครุศาสตร์
๖. การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนิสิต
ปฏิบัติตามคู่มือฝึกประสบการณ์วิชาระหว่างเรียนของคณะครุศาสตร์ โดยการให้คาปรึกษา
ทั้งระหว่างการนิเทศที่โรงเรียน และการพบกับนิสิต เมื่อนิสิตกลับมาที่คณะครุศาสตร์ ถ้ามีปัญหาจะให้
การช่วยเหลือได้ ให้ปรึกษากับประธานหลักสูตร หรือส่วนงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์
เพื่อดาเนินการช่วยเหลือต่อไป
๗. สิ่งอานวยความสะดวกและการสนับสนุน ที่ต้องการจากโรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพครู
คณะครุศาสตร์และโรงเรียน เป็นผู้ดาเนินการจัดสรรสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น
คอมพิวเตอร์ และวัสดุทางการศึกษาที่จาเป็นในการจัดการเรียนรู้
หมวดที่ ๕. การวางแผนและการเตรียมการ
๑. การกาหนดสถานที่ฝึกงาน
คณะครุศาสตร์ วิทยาลัยสงฆ์อุบลราชธานี มีโรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพครู เพื่อให้นิสิต
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑ โดยอาจารย์ผู้สอนและกลุ่มงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะ
ครุศาสตร์ เป็นผู้ร่วมกันกาหนดโรงเรียนสาหรับนิสิตใน การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน และ
แจ้งให้นิสิตทราบแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูล่วงหน้าอย่างน้อย ๒ สัปดาห์
๒. การเตรียมนิสิต
จัดปฐมนิเทศนิสิตก่อนไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน โดยมีการให้ความรู้ในเรื่อง
โรงเรียน วิธีการสังเกต การประเมินผล ชี้แจงกฎ ระเบียบที่นิสิตควรทราบและปฏิบัติ อาจารย์ผู้สอนจะ
ส่งนิสิตที่โรงเรียนก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน กับโรงเรียนสาธิต หรือโรงเรียนเครือข่าย
ร่วมพัฒนาวิชาชีพครู
๓. การเตรียมครูผู้สอนและอาจารย์นิเทศก์
คณะครุศาสตร์ วิทยาลัยสงฆ์อุบลราชธานี จัดประชุมอาจารย์ผู้สอน อาจารย์นิเทศก์เพื่อชี้แจง
วัตถุประสงค์ของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑ วิเคราะห์ หลักสูตร ร่วมกันทาประมวลการ
สอนเพื่อวางแผนแนวทางการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน และแนวทางการประเมินผล
มคอ.๔
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 8
๔. การเตรียมผู้รับผิดชอบการฝึกฝ่ายสถานที่ฝีกงาน
ส่วนงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของโรงเรียนเครือข่าย/อาจารย์ผู้สอน จัดประชุมครูพี่เลี้ยง
ภาคปฏิบัติของโรงเรียน เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดต่าง ๆ ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ระหว่างเรียน ๑ ร่วมกัน โดยมีเอกสารมอบให้กับผู้เกี่ยวข้องทุกคน
๕. การจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของโรงเรียนเครือข่าย อาจารย์ผู้สอน และครูพี่เลี้ยง
ภาคปฏิบัติของโรงเรียน จัดประชุมวางแผนในเรื่องการจัดการความเสี่ยง ความเครียด และด้านสวัสดิ
ภาพอื่น ๆ โดยมีการวางแผนเพื่อการประชุม ให้นิสิตรับทราบข้อมูลต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ พร้อมเอกสาร
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน
หมวดที่ ๖. การประเมินนิสิต
๑.หลักเกณฑ์การประเมิน
๑.๑ การประเมินตามจุดมุ่งหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ซึ่งอ้างอิงตามเกณฑ์ที่
กาหนดโดยคุรุสภา และมาตรฐานผลการเรียนตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี (หลักสูตร ๕ ปี)
รายละเอียดดังนี้
หลักเกณฑ์การประเมิน
ระดับ ค่าระดับ เกณฑ์คะแนน
A ๔ ๙๐ – ๑๐๐
B+ ๓.๕ ๘๕ – ๘๙
B ๓ ๘๐ – ๘๔
C+ ๒.๕ ๗๕ – ๗๙
C ๒ ๗๐ – ๗๔
D+ ๑.๕ ๖๕ – ๖๙
D ๑ ๖๐ – ๖๔
F ๐ ต่ากว่า ๖๐
๒. กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนิสิต
๒.๑ ประเมินโดยอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติของโรงเรียน โดยใช้เกณฑ์คะแนน ตามที่อาจารย์ผู้สอน
กาหนด ตามแบบฟอร์มการประเมินการปฏิบัติงานให้ครบถ้วน สรุปเป็นคะแนนเฉลี่ยของแต่ละคน
๒.๒ ประเมินโดยอาจารย์ผู้สอน โดยใช้เกณฑ์คะแนน ตามแบบฟอร์มการประเมินการปฏิบัติงานให้
ครบถ้วน สรุป เป็นคะแนนเฉลี่ยของแต่ละคน
๒.๓ ส่วนงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูรวบรวมคะแนนส่งอาจารย์ผู้สอน ตัดเป็นเกรด รายงานผล
ต่อคณะครุศาสตร์ วิทยาลัยสงฆ์อุบลราชธานี
มคอ.๔
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 9
๓. ความรับผิดชอบของผู้รับผิดชอบการฝึกฝ่ายสถานที่ฝึกงานต่อการประเมินนิสิต
ครูพี่เลี้ยงภาคปฏิบัติของโรงเรียนต้องศึกษาการประเมิน และปรึกษากับอาจารย์ผู้สอนเพื่อร่วมกัน
ประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ของนิสิต เพื่อการประมวลผลเป็นเกรดต่อไป
๔. ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกงานต่อการประเมินนิสิต
ประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของนิสิต โดยพิจารณาจาก บุคลิกภาพและการปฏิบัติ
ตน การสังเกตและฝึกปฏิบัติงาน งานที่ได้รับมอบหมาย และบันทึกการฝึกปฏิบัติงานในโรงเรียน
๕. การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง
กลุ่มงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของโรงเรียนประสานงานกับคณะครุศาสตร์และภาควิชาเพื่อ
ตรวจสอบ และทาความเข้าใจ ในเมื่อการประเมินมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ และกรณีจาเป็น
โดยประสานงาน หรือจัดประชุมเพื่อพิจารณาหาข้อสรุปที่ยุติธรรม และดาเนินการต่อไป
หมวดที่ ๗. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
๑. กระบวนการประเมินของการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากผู้เกี่ยวข้อง
๑.๑ นิสิต
๑.๑.๑ การตอบแบบประเมินผล
๑.๑.๒ การอภิปรายผลหลังการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
๑.๒ ครูพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ
๑.๒.๑ ดูแล และประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ตามแบบฟอร์มที่กาหนด
๑.๒.๓ การประชุมครูพี่เลี้ยงภาคปฏิบัติของโรงเรียนและอาจารย์ผู้สอนหลังการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อประเมินผล
๑.๓ อาจารย์ผู้สอน
๑.๓.๑ อาจารย์ผู้สอนบันทึกผลการดาเนินงาน ในแบบฟอร์มรายงานผลการฝึกประสบการณ์
ของนิสิต เพื่อใช้ในการ แก้ไขปัญหาของนิสิต
๑.๔ อื่น ๆ
๑.๔.๑ การสารวจความพึงพอใจในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของนิสิต
๒. กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง
๒.๑ กลุ่มงานประสบการณ์วิชาชีพครูประมวลผลการประชุมอาจารย์ผู้สอนและครูพี่เลี้ยงภาคปฏิบัติ
ของโรงเรียน และการประเมินผลเกรดของนิสิต เพื่อนาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารคณะครุศาสตร์เพื่อ
ทราบและพิจารณาและแจ้งผลให้ภาควิชาทราบ
๒.๒ ภาควิชาร่วมพิจารณาประสิทธิผลของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑ วิเคราะห์
ปัญหาและกาหนด แผนพัฒนาปรับปรุงสาหรับใช้ในภาคการศึกษาต่อไป โดยแสดงไว้ในรายงานผลการ
ดาเนินงานหลักสูตร

Recommandé

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน par
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
340 vues13 diapositives
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง) par
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
936 vues15 diapositives
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1) par
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
3.1K vues10 diapositives
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2) par
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
909 vues10 diapositives
1ปก คำนำ หลักสูตร par
1ปก คำนำ หลักสูตร1ปก คำนำ หลักสูตร
1ปก คำนำ หลักสูตรsasiton sangangam
19.5K vues3 diapositives

Contenu connexe

Tendances

2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1 par
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1WC Triumph
557 vues15 diapositives
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา par
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาเสย ๆๆๆๆ
591 vues7 diapositives
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1 par
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1krupornpana55
12.3K vues6 diapositives
บทที่ 2 par
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Krudoremon
6.2K vues13 diapositives
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok par
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพokTophit Sampootong
3.2K vues7 diapositives
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั... par
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
1.6K vues110 diapositives

Tendances(20)

2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1 par WC Triumph
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
WC Triumph557 vues
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา par เสย ๆๆๆๆ
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1 par krupornpana55
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
krupornpana5512.3K vues
บทที่ 2 par Krudoremon
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Krudoremon6.2K vues
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok par Tophit Sampootong
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
Tophit Sampootong3.2K vues
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั... par pentanino
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
pentanino1.6K vues
การเขียน กคศ.3 1 par thanakit553
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1
thanakit55350.5K vues
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก par Chalit Arm'k
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
Chalit Arm'k342 vues
Height multimedia and_design_plan_1 par SakaeoPlan
Height multimedia and_design_plan_1Height multimedia and_design_plan_1
Height multimedia and_design_plan_1
SakaeoPlan42 vues
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 par คน ขี้เล่า
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ par koyrattanasri
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
koyrattanasri6K vues
6 สมรรถนะของครูok par Tophit Sampootong
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
Tophit Sampootong12.2K vues
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน par ink3828
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
1.1คู่มือประเมินสายงานการสอน
ink38288.5K vues
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย par Wanwisa Tana
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วยแนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
แนวข้อสอบบรรจุ ครูผู้ช่วย
Wanwisa Tana6.7K vues

Similaire à 006

แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx par
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxTangkwaLalida
7 vues262 diapositives
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ par
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
81.7K vues14 diapositives
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ par
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะนำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะกัมปนาท สุขสงวน
3.4K vues32 diapositives
55102 ภาษาไทย utq par
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utqพจมาศ จันทร์โท
4.3K vues49 diapositives
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย par
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยแนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยKasem S. Mcu
962 vues63 diapositives

Similaire à 006(20)

แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx par TangkwaLalida
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
TangkwaLalida7 vues
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ par kanidta vatanyoo
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
kanidta vatanyoo81.7K vues
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย par Kasem S. Mcu
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยแนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Kasem S. Mcu962 vues
รายงานการประเมินตนเอง 2 54 par Jiraporn
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
Jiraporn27.7K vues
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok par ธวัช บุตรศรี
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok par Tophit Sampootong
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
Tophit Sampootong1.1K vues
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร par khanidthakpt
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
khanidthakpt458 vues
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น par Lathika Phapchai
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
Lathika Phapchai50.3K vues
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร par maturos1984
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
maturos198478.8K vues
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 par Nattapon
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
Nattapon7.4K vues
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา par SophinyaDara
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
SophinyaDara383 vues
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน par kruthai40
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
kruthai405.6K vues
งานครูผู้ช่วย par Moss Worapong
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
Moss Worapong559 vues

Plus de บ๊อบ บุญมา

04 par
0404
04บ๊อบ บุญมา
51 vues80 diapositives
03 par
0303
03บ๊อบ บุญมา
39 vues4 diapositives
02 par
0202
02บ๊อบ บุญมา
45 vues4 diapositives
01 par
0101
01บ๊อบ บุญมา
18 vues2 diapositives
011 par
011011
011บ๊อบ บุญมา
30 vues1 diapositive
010 par
010010
010บ๊อบ บุญมา
45 vues55 diapositives

006

  • 1. มคอ.๔ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 1 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม ชื่อสถาบันอุดมศึกษา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์อุบลราชธานี วิทยาลัย/คณะ/ ภาควิชา: คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศึกษา และสาขาการสอนภาษาอังกฤษ หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป ๑. รหัสและชื่อรายวิชา: ๒๐๐ ๔๑๑ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑ (Professional Experience 1) ๒. จานวนชั่วโมง/หน่วยกิต: ๒(๘๐) ๓. หลักสูตร และประเภทของรายวิชา: ๓.๑ หลักสูตร พุทธศาสตรบัณฑิต ๓.๒ ประเภท หมวดวิชาชีพครู ๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกงาน: พระใบฎีกาสุพจน์ ตปสีโล พระอธิการบัญชา เขมวีโร ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพิมล ศรศักดา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรยวัสถ์ ฝางคา อาจารย์พูลศักดิ์ หอมสมบัติ ๕. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ ๑ ชั้นปีที่ ๔ หมวดที่ ๒. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ๑. จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม เพื่อให้นิสิต ๑) มีประสบการณ์และเข้าใจสภาพแวดล้อมทั่วไปของโรงเรียน การบริหารจัดการในโรงเรียน สภาพงานครู พฤติกรรมและคุณลักษณะของครู นักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา สื่อ แหล่งเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ และธรรมชาติการเรียนรู้ของนักเรียน ๒) มีความสามารถและทักษะด้านวิชาชีพครู และสามารถเชื่อมโยงแนวคิด หลักการ และทฤษฎี ต่างๆ ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ๓ มีประสบการณ์เกี่ยวกับงานในหน้าที่ครู และการจัดการเรียนรู้
  • 2. มคอ.๔ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 2 ๒. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาหรือปรับปรุงประสบการณ์ภาคสนาม ๑) เพื่อปรับปรุงการจัดทารายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ. ๔) ให้สอดคล้องกับ ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ หมวดที่ ๓. การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิต ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๑.๑ ผลการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรม ๑) แสดงออกซึ่งพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีคุณธรรมที่ เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความเข้าใจผู้อื่น เสียสละ และเป็น แบบอย่างที่ดี ๒)มีภาวะเป็นผู้นาในการส่งเสริมประพฤติปฏิบัติตามจรรณยาบรรณวิชาชีพอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ๓) มีจิตสาธารณะ เคารพสิทธิ์และความคิดเห็นของผู้อื่น ๑.๒ กระบวนการหรือกิจกรรมที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ ๑) กาหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นิสิตมีระเบียบวินัย โดยเน้นการทางาน ส่งงาน ให้ตรงเวลา มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทาการทุจริต เช่น คัดลอกข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่อ้างอิง เป็นต้น นอกจากนี้ อาจารย์นิเทศ และครูพี่เลี้ยง ต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนิสิตที่ทาดี ทาประโยชน์แก่ส่วนร่วม เสียสละ และใช้กิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียน สอดแทรกหลักคุณธรรม จริยธรรมในการจัดการเรียนรู้พร้อม ทั้งยกตัวอย่างประกอบ และประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ๒) วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมจากสถานการณ์จริงที่พบในการ ฝึกปฏิบัติงาน ๑.๓ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ ๑) ประเมินจากการสังเกต ตรวจผลงาน และสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง ๒) ประเมินโดยผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ได้แก่ อาจารย์นิเทศก์ ครูพี่เลี้ยง อาจารย์ผู้สอน ๒. ความรู้ ๒.๑ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครูและวิชาที่สอนอย่างกว้างขวางลึกซึ้งและเป็นระบบ บูรณาการความรู้เกี่ยวกับการศึกษาและวิชาชีพครู โดยนิสิตต้องฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน ดังนี้ ๑) สังเกตการจัดการเรียนรู้ที่สถานศึกษา ๒) ฝึกการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ๓) ฝึกการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ๔) ฝึกการออกแบบทดสอบ ข้อสอบหรือเครื่องมือวัดผล ๕) ฝึกการตรวจข้อสอบ การให้คะแนน และการตัดสินผลการเรียน
  • 3. มคอ.๔ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 3 ๖) สังเกตการสอนภาคปฏิบัติและฝึกการให้คะแนน ๗) ฝึกทาวิจัยเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียน ๘) ฝึกทักษะความเป็นครูมืออาชีพ ๒.๒ กระบวนการหรือกิจกรรมที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ ๑) การจัดปฐมนิเทศก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๒) จัดสัมมนาหลังการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๓) ฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูตามข้อ ๒.๑ ในห้องเรียนและโรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ๒.๓ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ ๑) พิจารณาจากความถูกต้อง ครอบคลุมสาระที่ฝึกทักษะ ๒) พิจารณาจากรายงานสรุปผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑ และผลงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ๓. ทักษะทางปัญญา ๓.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ๑) ใช้ความรู้ในการจัดการบริบทใหม่ทางวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม ๒) วิเคราะห์ผลงานวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาแนวความคิดใหม่โดยบูรณาการให้สัมพันธ์กับ องค์ความรู้เดิม ๓) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสามารถวินิจฉัยปัญหาเชิงวิชาการหรือวิชาชีพได้ ๔)วางแผนและดาเนินโครงการวิชาการหรืองานวิจัยด้วยตนเองที่มีประโยชน์ต่อสังคมและวิชาชีพได้ ๓.๒ กระบวนการหรือกิจกรรมที่ใช้พัฒนาผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ๑) การวิเคราะห์ผู้เรียน หลักสูตร และเนื้อหาวิชาเพื่อการจัดการเรียนรู้ ๒) วิเคราะห์กรณีศึกษาและสะท้อนความคิด การวิเคราะห์ผลงานต่าง ๆ ๓) การถอดบทเรียนจากฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน เพื่อใช้ในการพัฒนางานและ การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ๔) ฝึกเขียนโครงการวิชาการโดยการวิเคราะห์บริบทของโรงเรียน ๓.๓ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน และการ นาเสนอ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การศึกษาผู้เรียน การจัดทาโครงการวิชาการ ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๔.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๑. มีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. ดาเนินงานด้วยตนเองได้อย่างเป็นระบบและมีพัฒนาการการเรียนรู้ทางวิชาการและวิชาชีพ ของตนเองได้ ๓. มีภาวะผู้นาและปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้อย่างเหมาะสมตามโอกาส
  • 4. มคอ.๔ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 4 ๔.๒ กระบวนการหรือกิจกรรมที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ กาหนดกิจกรรมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ให้มีการทางานเป็นกลุ่ม การทางาน ที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ๔.๓ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนิสิตในการนาเสนอผลกการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพระหว่างเรียน การสัมมนา และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ๑. มีทักษะการวิเคราะห์และคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการศึกษาค้นคว้าและวิจัย ๒. สืบค้นและติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการโดยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. ถ่ายทอดความรู้และเผยแพร่ผลงานวิชาการ งานวิจัยในรูปแบบต่าง ๆ ในวงการวิชาการ วิชาชีพ และชุมชนได้ ๕.๒ กระบวนการหรือกิจกรรมที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นิสิตได้วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อดาเนินงานศึกษาผู้เรียน งานการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร งาน จัดการเรียนรู้ งานการจัดทาโครงการวิชาการและงานอื่นๆ ให้วิเคราะห์สถานการณ์จาลองและ สถานการณ์เสมือนจริงและนาเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์ ๕.๓ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑. ประเมินจากเทคนิคการนาเสนอ การจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือ คณิตศาสตร์และสถิติ ๒. ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่าง ๆ ที่มีการนาเสนอต่อ ชั้นเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๓. ประเมินจากการตรวจผลงานที่เกี่ยวข้อง ๖. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ ๖.๑ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ ๑. มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่มีรูปแบบหลากหลาย ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการรูปแบบ กึ่งทางการและรูปแบบไม่เป็นทางการ อย่างสร้างสรรค์
  • 5. มคอ.๔ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 5 ๒. มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนที่หลากหลายทั้งผู้เรียนที่มีความสามารถ พิเศษ ที่มีความสามารถปานกลางและผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษอย่างมีนวัตกรรม ๓. มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ในสาขาวิชาที่จะสอนอย่างบูรณาการ ๖.๒ วิธีการพัฒนาผลการเรียนรู้ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ ๑. การปฏิบัติการทดลองสอนในสถานศึกษา ๒. การนิเทศจากอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง ๓. การฝึกปฏิบัติและสัมมนาในชั้นเรียน ๖.๓ วิธีการประเมินผลด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ ๑. ประเมินโดยใช้แบบประเมินความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ๒. ประเมินโดยการสังเกต สัมภาษณ์นักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง และตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ และบันทึกหลังจัดการเรียนรู้ หมวดที่ ๔. ลักษณะของประสบการณ์ภาคสนาม ๑. คาอธิบายโดยทั่วไปของประสบการณ์ภาคสนาม บูรณาการความรู้และการมีส่วนร่วมกับสถานศึกษา โดยสังเกตการจัดการเรียนรู้ การจัดทา แผนการเรียนรู้ การทดลองสอนในสถานการณ์จาลอง ปฏิบัติธรรม ศึกษาดูงานโครงการในพระราชดาริ และจัดกิจกรรมจิตอาสา รวบรวมข้อมูลและนาเสนอผลการศึกษา ๒. กิจกรรมของนิสิต ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานด้านการศึกษาผู้เรียน การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ โครงการวิชาการ และงานครูด้านอื่น ๆ ทุกวันจันทร์ เป็นระยะเวลา ๒ สัปดาห์ โดยมีครูพี่เลี้ยงให้ คาปรึกษาอย่างใกล้ชิด มีอาจารย์นิเทศก์และมีการสัมมนาตามสาระที่ได้ศึกษาโดยจัดในชั้นเรียนอีก ๕ สัปดาห์ ๓. งานที่นิสิตได้รับมอบหมาย ๓.๑ บันทึกการสังเกตการจัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ๓.๒ บันทึกการศึกษาผู้เรียน ๓.๓ บันทึกการศึกษาดูงานโครงการในพระราชดาริ ๓.๔ บันทึกการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมจิตอาสา (มอบหมายงานให้แต่ละสาขาวิชา ๑ โครงการหรือทาร่วมกันตามความ เหมาะสม) ๓.๖ บันทึกการเข้าร่วมโครงการ “บริหารจิตและเจริญปัญญาสาหรับครู” ๓.๕ บันทึกการเข้าร่วมโครงการสัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การสังเกตการจัดการเรียนรู้และ การปฏิบัติงานในหน้าที่ครู”
  • 6. มคอ.๔ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 6 ๔. การติดตามผลการเรียนรู้การฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนิสิต สัปดาห์ รายละเอียด ๑ อาจารย์ผู้สอน และกลุ่มงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ จัดปฐมนิเทศ เพื่อทบทวนความรู้และเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานชี้แจงขอบข่ายภาระงานของการ ฝึกประสบการณ์ ปฏิบัติการเกี่ยวกับการวางแผนและเทคนิคในการศึกษาข้อมูล ๒-๓ การสังเกตการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ณ โรงเรียนเครือข่ายฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตาม ภาระงานที่กาหนด ประชุมประเมินผลโดยครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์ และผู้บริหารสถาน สถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ๔- ๑๓ ฝึกปฏิบัติ รับฟังการบรรยาย สาทิตการสอน วิจัยในชั้นเรียน และอื่นๆเพื่อพัฒนาวิชาชีพ ครู ๑๔ การศึกษาดูงานโครงการในพระราชดาริ ๑๕ การปฏิบัติธรรมโดยเข้าร่วมโครงการ “บริหารจิตและเจริญปัญญาสาหรับครู” ๑๖ นาเสนอผลการศึกษา โครงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑ “สัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการสังเกตการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงานใน หน้าที่ครู” ๕. บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน ๑ ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ ส่วนโรงเรียน ได้แก่ ๑. ผู้บริหารสถานศึกษา ๒. ครูพี่เลี้ยง และส่วนมหาวิทยาลัย ได้แก่ ๑. อาจารย์ นิเทศก์ ๒. อาจารย์ผู้สอน โดยมีบทบาทดังนี้ ๑. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ๑.๑ ปฐมนิเทศนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ๑.๒ มอบหมายจัดครูพี่เลี้ยงให้กับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ๑.๓ บริหารจัดการและอานวยความสะดวกให้นิสิตปฏิบัติงานตามภาระงานที่กาหนด ๑.๔ ประสานกับฝ่ายมหาวิทยาลัยเพื่อส่งเสริมคุณภาพประสบการณ์ของนิสิต ๒. บทบาทของครูพี่เลี้ยง ๒.๑ รับผิดชอบนิสิตต่อจากผู้บริหารสถานศึกษา ๒.๒ ดูแลให้นิสิตปฏิบัติวิชาชีพครูตามหัวข้อที่กาหนด ๒.๓ ประเมินผลการปฏิบัติงานของนิสิตตามแบบฟอร์มที่กาหนดให้ ๒.๔ ประสานงานกับอาจารย์นิเทศในการนิเทศช่วยเหลือและประเมินผลนิสิต ๓. บทบาทของอาจารย์ผู้สอน ๑. ให้ความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในมหาวิทยาลัยแก่นิสิตให้พร้อมในหัวข้อที่จะออกไป ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน ๑
  • 7. มคอ.๔ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 7 ๒. เมื่อนิสิตกลับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน ๑ จัดให้มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกัน ๓.ประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน ๑ของนิสิตตามแบบฟอร์มที่กาหนดให้ ๔. อาจารย์ผู้สอนสรุปผลการประเมิน และส่งผลการเรียน ๔. บทบาทของอาจารย์นิเทศก์ ๑. เข้าร่วมการปฐมนิเทศการสัมมนาก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียน ๒. นิเทศและติดตามผลการออกไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระหว่างเรียนของนิสิต ๓. กากับดูแล ติดตาม ประเมิน และให้ข้อมูลย้อนหลังแก่โรงเรียน นิสิตและคณะครุศาสตร์ ๖. การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนิสิต ปฏิบัติตามคู่มือฝึกประสบการณ์วิชาระหว่างเรียนของคณะครุศาสตร์ โดยการให้คาปรึกษา ทั้งระหว่างการนิเทศที่โรงเรียน และการพบกับนิสิต เมื่อนิสิตกลับมาที่คณะครุศาสตร์ ถ้ามีปัญหาจะให้ การช่วยเหลือได้ ให้ปรึกษากับประธานหลักสูตร หรือส่วนงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ เพื่อดาเนินการช่วยเหลือต่อไป ๗. สิ่งอานวยความสะดวกและการสนับสนุน ที่ต้องการจากโรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์และโรงเรียน เป็นผู้ดาเนินการจัดสรรสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ และวัสดุทางการศึกษาที่จาเป็นในการจัดการเรียนรู้ หมวดที่ ๕. การวางแผนและการเตรียมการ ๑. การกาหนดสถานที่ฝึกงาน คณะครุศาสตร์ วิทยาลัยสงฆ์อุบลราชธานี มีโรงเรียนเครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพครู เพื่อให้นิสิต ฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑ โดยอาจารย์ผู้สอนและกลุ่มงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะ ครุศาสตร์ เป็นผู้ร่วมกันกาหนดโรงเรียนสาหรับนิสิตใน การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน และ แจ้งให้นิสิตทราบแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูล่วงหน้าอย่างน้อย ๒ สัปดาห์ ๒. การเตรียมนิสิต จัดปฐมนิเทศนิสิตก่อนไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน โดยมีการให้ความรู้ในเรื่อง โรงเรียน วิธีการสังเกต การประเมินผล ชี้แจงกฎ ระเบียบที่นิสิตควรทราบและปฏิบัติ อาจารย์ผู้สอนจะ ส่งนิสิตที่โรงเรียนก่อนฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน กับโรงเรียนสาธิต หรือโรงเรียนเครือข่าย ร่วมพัฒนาวิชาชีพครู ๓. การเตรียมครูผู้สอนและอาจารย์นิเทศก์ คณะครุศาสตร์ วิทยาลัยสงฆ์อุบลราชธานี จัดประชุมอาจารย์ผู้สอน อาจารย์นิเทศก์เพื่อชี้แจง วัตถุประสงค์ของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑ วิเคราะห์ หลักสูตร ร่วมกันทาประมวลการ สอนเพื่อวางแผนแนวทางการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน และแนวทางการประเมินผล
  • 8. มคอ.๔ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 8 ๔. การเตรียมผู้รับผิดชอบการฝึกฝ่ายสถานที่ฝีกงาน ส่วนงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของโรงเรียนเครือข่าย/อาจารย์ผู้สอน จัดประชุมครูพี่เลี้ยง ภาคปฏิบัติของโรงเรียน เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดต่าง ๆ ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ระหว่างเรียน ๑ ร่วมกัน โดยมีเอกสารมอบให้กับผู้เกี่ยวข้องทุกคน ๕. การจัดการความเสี่ยง กลุ่มงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของโรงเรียนเครือข่าย อาจารย์ผู้สอน และครูพี่เลี้ยง ภาคปฏิบัติของโรงเรียน จัดประชุมวางแผนในเรื่องการจัดการความเสี่ยง ความเครียด และด้านสวัสดิ ภาพอื่น ๆ โดยมีการวางแผนเพื่อการประชุม ให้นิสิตรับทราบข้อมูลต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ พร้อมเอกสาร ฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน หมวดที่ ๖. การประเมินนิสิต ๑.หลักเกณฑ์การประเมิน ๑.๑ การประเมินตามจุดมุ่งหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ซึ่งอ้างอิงตามเกณฑ์ที่ กาหนดโดยคุรุสภา และมาตรฐานผลการเรียนตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี (หลักสูตร ๕ ปี) รายละเอียดดังนี้ หลักเกณฑ์การประเมิน ระดับ ค่าระดับ เกณฑ์คะแนน A ๔ ๙๐ – ๑๐๐ B+ ๓.๕ ๘๕ – ๘๙ B ๓ ๘๐ – ๘๔ C+ ๒.๕ ๗๕ – ๗๙ C ๒ ๗๐ – ๗๔ D+ ๑.๕ ๖๕ – ๖๙ D ๑ ๖๐ – ๖๔ F ๐ ต่ากว่า ๖๐ ๒. กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนิสิต ๒.๑ ประเมินโดยอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติของโรงเรียน โดยใช้เกณฑ์คะแนน ตามที่อาจารย์ผู้สอน กาหนด ตามแบบฟอร์มการประเมินการปฏิบัติงานให้ครบถ้วน สรุปเป็นคะแนนเฉลี่ยของแต่ละคน ๒.๒ ประเมินโดยอาจารย์ผู้สอน โดยใช้เกณฑ์คะแนน ตามแบบฟอร์มการประเมินการปฏิบัติงานให้ ครบถ้วน สรุป เป็นคะแนนเฉลี่ยของแต่ละคน ๒.๓ ส่วนงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูรวบรวมคะแนนส่งอาจารย์ผู้สอน ตัดเป็นเกรด รายงานผล ต่อคณะครุศาสตร์ วิทยาลัยสงฆ์อุบลราชธานี
  • 9. มคอ.๔ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖) หลักสูตร ๕ ปี คณะครุศาสตร์ หน้า 9 ๓. ความรับผิดชอบของผู้รับผิดชอบการฝึกฝ่ายสถานที่ฝึกงานต่อการประเมินนิสิต ครูพี่เลี้ยงภาคปฏิบัติของโรงเรียนต้องศึกษาการประเมิน และปรึกษากับอาจารย์ผู้สอนเพื่อร่วมกัน ประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ของนิสิต เพื่อการประมวลผลเป็นเกรดต่อไป ๔. ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกงานต่อการประเมินนิสิต ประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของนิสิต โดยพิจารณาจาก บุคลิกภาพและการปฏิบัติ ตน การสังเกตและฝึกปฏิบัติงาน งานที่ได้รับมอบหมาย และบันทึกการฝึกปฏิบัติงานในโรงเรียน ๕. การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง กลุ่มงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของโรงเรียนประสานงานกับคณะครุศาสตร์และภาควิชาเพื่อ ตรวจสอบ และทาความเข้าใจ ในเมื่อการประเมินมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ และกรณีจาเป็น โดยประสานงาน หรือจัดประชุมเพื่อพิจารณาหาข้อสรุปที่ยุติธรรม และดาเนินการต่อไป หมวดที่ ๗. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม ๑. กระบวนการประเมินของการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากผู้เกี่ยวข้อง ๑.๑ นิสิต ๑.๑.๑ การตอบแบบประเมินผล ๑.๑.๒ การอภิปรายผลหลังการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ๑.๒ ครูพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ ๑.๒.๑ ดูแล และประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ตามแบบฟอร์มที่กาหนด ๑.๒.๓ การประชุมครูพี่เลี้ยงภาคปฏิบัติของโรงเรียนและอาจารย์ผู้สอนหลังการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อประเมินผล ๑.๓ อาจารย์ผู้สอน ๑.๓.๑ อาจารย์ผู้สอนบันทึกผลการดาเนินงาน ในแบบฟอร์มรายงานผลการฝึกประสบการณ์ ของนิสิต เพื่อใช้ในการ แก้ไขปัญหาของนิสิต ๑.๔ อื่น ๆ ๑.๔.๑ การสารวจความพึงพอใจในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของนิสิต ๒. กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง ๒.๑ กลุ่มงานประสบการณ์วิชาชีพครูประมวลผลการประชุมอาจารย์ผู้สอนและครูพี่เลี้ยงภาคปฏิบัติ ของโรงเรียน และการประเมินผลเกรดของนิสิต เพื่อนาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารคณะครุศาสตร์เพื่อ ทราบและพิจารณาและแจ้งผลให้ภาควิชาทราบ ๒.๒ ภาควิชาร่วมพิจารณาประสิทธิผลของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๑ วิเคราะห์ ปัญหาและกาหนด แผนพัฒนาปรับปรุงสาหรับใช้ในภาคการศึกษาต่อไป โดยแสดงไว้ในรายงานผลการ ดาเนินงานหลักสูตร