Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Chargement dans…3
×

Consultez-les par la suite

1 sur 37 Publicité

Plus De Contenu Connexe

Diaporamas pour vous (20)

Les utilisateurs ont également aimé (20)

Publicité

Similaire à ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory) (20)

ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)

  1. 1. Add Your Company Slogan P o w e r P o i n t Company Logo ทฤษฎีทางการเมือง (Political Theory)
  2. 2. ความนา สาระการเรียน 1 ความหมายและลักษณะของทฤษฎีการเมือง2 นิยามทฤษฎีการเมือง3 คุณค่าของทฤษฎีการเมือง4 วัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายปลายทางของทฤษฎี5
  3. 3. สาระการเรียน www.themegallery.com Logo ประวัติการปกครองนครรัฐกรีก6
  4. 4. ความนา ทฤษฎีการเมืองมีต้นกาเนิดมาจากการที่มนุษย์เป็น สัตว์โลกที่มีความคิด รู้จักแก้ไขเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดล้อม เพื่อให้การดารงชีวิตของตนมีความสุข และสะดวกสบาย สถาบันทางสังคมอันได้แก่ ครอบครัว รัฐ กฎหมาย ศาสนา ฯลฯ กาเนิดขึ้นมา ด้วยสัญชาติญาณของมนุษย์และผ่านการพัฒนาเป็น เวลาหลายสิบศตวรรษ จนเป็นสถาบันที่ยืนยงตราบ เท่าทุกวันนี้ www.themegallery.com Logo
  5. 5. ความนา สถาบันทางสังคมเหล่านี้ล้วนแต่มีส่วนช่วยในการค้าจุนชีวิต และเผ่าพันธุ์คน ตลอดจนเสริมสร้างความสุขและความ สะดวกสบายในการดารงชีวิต แต่คนเป็นผู้ที่มีความคิด ดังนั้นกระบวนการพัฒนาแห่งความคิดมนุษย์ จึงเป็นสิ่ง หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่มนุษย์จะต้องตั้งข้อสังเกต ค้นคว้า สอบสวนสถาบันทางสังคม พยามยามค้นหาจุดกาเนิด ตั้ง ปัญหาโต้แย้งหรือสนับสนุนกลไกต่างของสังคม รวมทั้ง เสนอความคิดปฏิรูปหรือสร้างสรรค์เพื่อที่จะให้ตนและ เพื่อนร่วมสังคมประสบความสุขแห่งชีวิต สิ่งเหล่านี้คือ จุดเริ่มต้น และนาไปสู่วิชาทฤษฎีการเมือง www.themegallery.com Logo
  6. 6. ความหมายและลักษณะของทฤษฎีการเมือง ทฤษฎีการเมือง (Political Theory) เป็นสาขาหนึ่งของ รัฐศาสตร์ และถือเป็นสาขาหนึ่งของวิชาปรัชญาด้วย ใน การศึกษาทฤษฎีการเมืองนั้นมีศัพท์เฉพาะหลายคาที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ ความคิดทางการเมือง ปรัชญาทาง การเมือง อุดมการณ์ทางเมือง สังกัปทางการเมืองและสิทธิ ทางการเมือง www.themegallery.com Logo
  7. 7. ความหมายและลักษณะของทฤษฎีการเมือง ความคิดทางเมือง (Political Thought) หมายถึง ความคิดที่เกี่ยวกับเรื่องการเมืองอย่างกว้างๆ ความคิดทางการเมืองมีแนวโน้มหนักไปในทางด้าน พรรณนา (descriptive) และมักเน้นหนักด้าน ความคิด เชิงประวัติศาสตร์ คือเรียงลาดับว่าใครคิด อย่างใดเมื่อใด ปกติไม่ค่อยมีการแยกเป็นหัวข้อ วิเคราะห์ www.themegallery.com Logo
  8. 8. ความหมายและลักษณะของทฤษฎีการเมือง ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy)หมายถึง การศึกษาการเมืองในระดับลึกซึ้งและเกี่ยวโยงกับ สาขาวิชาอื่นด้วย เพื่อให้รู้แจ้ง ปรัชญาการเมืองมัก เน้นหลักจริยธรรมซึ่งเป็นเสมือนหลักการหรือเหตุผล ที่ถูกต้องและมีคุณธรรม ถือเป็นรากฐานการเมืองแต่ ละแบบ www.themegallery.com Logo
  9. 9. ความหมายและลักษณะของทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง (Political Ideology) ใช้ในรูป ของความเชื่อและระดับความคิดที่ไม่ลึกซึ้งนัก เน้น ความเชื่อศรัทธามากกว่าหลักเหตุผล แต่อุดมการณ์ ทางการเมือง มักมีผลในการยึดถือและมักเป็นพลัง ผลักดันให้เกิดการกระทา หรือความเคลื่อนไหวทาง การเมือง อุดมการณ์ไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งที่ถูกต้อง หรือยึดหลักศีลธรรมและคุณธรรม แต่เป็นความเชื่อ หรือความคิดที่ปลูกฝังเพื่อให้เกิดผลทางการเมือง www.themegallery.com Logo
  10. 10. ความหมายและลักษณะของทฤษฎีการเมือง สังกัปทางการเมือง (Political Concept) หมายถึง ความคิดหรือทรรศนะเกี่ยวกับศัพท์เชิงนามธรรมทาง การเมือง เช่น ความยุติธรรม จุดมุ่งหมายแห่งรัฐ ผู้ปกครองที่ดี สิทธิ เสรีภาพ ความมั่นคงแห่งรัฐ ทฤษฎีการเมืองเป็นการพยายามหาความเกี่ยวโยง ระหว่างสังกัปต่างๆ ดังกล่าวโดยต้องให้เหตุผลและ ความเหมาะสม www.themegallery.com Logo
  11. 11. ความหมายและลักษณะของทฤษฎีการเมือง ลัทธิการเมือง (Political Ism) ได้แก่หลักการทาง การเมืองซึ่งมีลักษณะผสมผเสจากความคิดหรือ ทฤษฎี หลายท่านประกอบกันเป็นแนวคิดเกี่ยวกับ ระบบการเมือง ชี้แนะการจัดวางอานาจ โครงสร้าง ทางการเมือง ความเกี่ยวพันระหว่างองค์การที่ใช้ อานาจกับบุคคล www.themegallery.com Logo
  12. 12. นิยามทฤษฎีการเมือง ยอร์ช แคทเท็บ (George Kateb) ให้ความหมายว่า ทฤษฎีการเมืองคือข้อเขียนซึ่งเสนอทรรศนะหรือ แนวความคิดที่คิดว่าดีและถูกต้องเกี่ยวกับการจัด โครงสร้างทางการเมือง รอเบอร์ต อี.เมอร์ฟี่ (Robert E.Murphy) ให้ทรรศนะ ว่าทฤษฎีการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ วิเคราะห์ความคิดหรือปรัชญาเกี่ยวกับการเมืองการ ปกครอง www.themegallery.com Logo
  13. 13. นิยามทฤษฎีการเมือง เอ็ดเวอร์ด ซี.สมิธ. (Edward C.Smith) และอาร์โนลด์ เจ.เซอร์เชอร์ (Arnold J.Zurecher) เสนอคาจากัด ความที่ดูจะครอบคลุมลักษณะและขอบเขตของ ทฤษฎีการเมืองไว้ได้ทั้งหมด โดยให้ไว้ว่าทฤษฎี การเมืองคือ “ส่วนทั้งหมดของคาสอน (doctrine) ที่ เกี่ยวข้องกับกาเนิด รูปแบบ พฤติกรรม และ จุดมุ่งหมายของรัฐ คาสอน (doctrine) แบ่งลักษณะ ออกเป็น ดังนี้ www.themegallery.com Logo
  14. 14. นิยามทฤษฎีการเมือง เอ็ดเวอร์ด ซี.สมิธ. (Edward C.Smith) และอาร์โนลด์ เจ.เซอร์เชอร์ (Arnold J.Zurecher) เสนอคาจากัด ความที่ดูจะครอบคลุมลักษณะและขอบเขตของ ทฤษฎีการเมืองไว้ได้ทั้งหมด โดยให้ไว้ว่าทฤษฎี การเมืองคือ “ส่วนทั้งหมดของคาสอน (doctrine) ที่ เกี่ยวข้องกับกาเนิด รูปแบบ พฤติกรรม และ จุดมุ่งหมายของรัฐ คาสอน (doctrine) แบ่งลักษณะ ออกเป็น ดังนี้ www.themegallery.com Logo
  15. 15. นิยามทฤษฎีการเมือง ลักษณะแบบจริยธรรม (Ethical) ได้แก่ส่วนของ ทฤษฎีการเมืองที่เกี่ยวข้องกับสิ่งใดควรทาไม่ควรทา  ลักษณะแบบจินตนาการ (Speculative) คือส่วนที่ เป็นความคิดฝันหรือมโนภาพที่ยังไม่ปรากฏขึ้นมา เช่นการใฝ่ฝันรัฐในอุดมคติ www.themegallery.com Logo
  16. 16. นิยามทฤษฎีการเมือง ลักษณะเชิงสังคมวิทยา (Sociological) เป็นส่วนหนึ่ง ของทฤษฎีการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์หรือ ทดลองเปรียบเทียบเพื่อแสวงหาความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐกับส่วนอื่นๆของสังคม ลักษณะแบบกฎหมาย (Legal) ได้แก่ส่วนที่ศึกษา เกี่ยวกับธรรมชาติของกฎหมาย สังกัปของกฎหมาย และสถานะทางกฎหมาย ซึ่งเกิดขึ้นมาจากสถาบัน ต่างๆ และเป็นเสมือนเครื่องมือที่จะกระจายและ ควบคุมการใช้อานาจทางการเมืองwww.themegallery.com Logo
  17. 17. นิยามทฤษฎีการเมือง ลักษณะแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific) ทฤษฎีที่เกิด จากการสังเกตการณ์ การทดลอง การเปรียบเทียบ พฤติกรรมการเมืองเพื่อจะค้นหาแนวโน้มและความ น่าจะเป็น www.themegallery.com Logo
  18. 18. นิยามทฤษฎีการเมือง ทฤษฎีการเมือง หมายถึง ทฤษฎีการเมืองที่มุ่งอธิบาย ปรากฏการณ์หรือ หลักการบางประการ ทฤษฎีการเมืองอาจไม่พิจารณาหลักจริยธรรม ทฤษฎีการเมืองเป็นเพียงการศึกษาสังกัปกลุ่มหนึ่งๆว่ามีความเกี่ยวพัน เป็นปัจยการอย่างไรคือ เน้นเฉพาะเรื่อง ปรัชญาทางการเมือง หมายถึง ปรัชญาทางการเมืองนั้นมีขอบเขตกว้างขวาง กว่าทฤษฎีปรัชญาทางการเมืองมักมุ่งอธิบายปรากฏการณ์ทั้งหลายทั้งปวง ทางการเมือง หลักการทางปรัชญาเน้นทางด้านจริยธรรม การศึกษาในลักษณะปรัชญาจะลึกซึ้งและเกี่ยวโยงกับศาสตร์อื่นๆ ด้วย www.themegallery.com Logo
  19. 19. นิยามทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์การณ์ทางการเมือง หมายถึง ความเชื่อและ ความศรัทธาโดยไม่ใช้เหตุผลประกอบอาจเรียกได้ว่าเป็น “ทฤษฎีแบบชาวบ้าน” ลัทธิทางการเมือง หมายถึง การผสมผสานทฤษฎีการเมือง หลายทฤษฎีโดยนาบางส่วนมาผสมผสานกลมกลืนกัน ประยุกต์ให้สอดคล้องกับความต้องการที่จะใช้ www.themegallery.com Logo
  20. 20. ความแตกต่างระหว่างทฤษฎีการเมืองกับปรัชญาทางการเมือง ความแตกต่างระหว่างทฤษฎีการเมืองกับปรัชญาทาง การเมือง ไม่ค่อยจะเด่นชัดนักเพราะทฤษฎีกับปรัชญามีลักษณะ ใกล้เคียงกันมาก ข้อแตกต่างอยู่ตรงที่ปรัชญามีขอบเขตกว้างขวางกว่าทฤษฎี “ปรัชญาทางการเมืองมักจะมุ่งอธิบายปรากฎการณ์ทั้งหลาย ทั้งปวงทางการเมือง www.themegallery.com Logo
  21. 21. ความแตกต่างระหว่างทฤษฎีการเมืองกับปรัชญาทางการเมือง ซึ่งต่างกับทฤษฎีการเมืองซึ่งมุ่งอธิบาย ปรากฎการณ์ หรือ หลักการบางประการ” และหลักการของปรัชญาเน้นทาง จริยธรรมในขณะที่ทฤษฎีอาจไม่พิจารณาหลักจริยธรรมเลยก็ ได้ นอกจากนี้การศึกษาในลักษณะปรัชญาจะลึกซึ้งและ เกี่ยวโยงกับศาสตร์อื่นๆ ด้วย ผิดกับทฤษฎีที่เป็นเพียง การศึกษาสังกัปกลุ่มหนึ่งๆ ว่ามีความเกี่ยวพันเป็นปัจยการ อย่างไรคือเน้นเฉพาะเรื่อง ตัวอย่างคือ www.themegallery.com Logo
  22. 22. ในระดับทฤษฎีรัฐศาสตร์ อาจกล่าวได้ว่าพรรคการเมืองใน ระบบพหุพรรคหรือระบบหลายพรรคมีแนวโน้มที่จะค่อย วิวัฒนาการกลายมาเป็นระบบสองพรรค www.themegallery.com Logo
  23. 23. ในระดับปรัชญา อาจกล่าวว่า หลังจากพิจารณา ศาสตร์หลายๆ สาขาแล้วปรากฏว่ามีแนวโน้มที่ของ ทุกอย่างจะเข้าสู่ระบบสอง เช่น ในระบบครอบครัว ก็ มีสามี,ภรรยา, ในระบบการศึกษา ก็มีครูกับศิษย์, ใน ระบบศาสนาหรือจริยธรรมก็มีความดีกับความชั่ว ใน ภาวะทางภูมิศาสตร์ก็มีร้อนกับหนาว หรือกลางวันกับ กลางคืน เป็นต้น www.themegallery.com Logo
  24. 24. คุณค่าและประโยชน์ของทฤษฎีการเมือง ประโยชน์จากการศึกษาทฤษฎีการเมืองโดยเฉพาะ ทฤษฎีการเมืองสมัยโบราณ แอนดริว แฮคเกอร์ (Andrew Hacker) เขียนไว้ว่า “บรรดานักปรัชญาการเมืองมีความสนใจในสิ่งที่เขา เหล่านั้นควรจะประพฤติ” www.themegallery.com Logo
  25. 25. คุณค่าและประโยชน์ของทฤษฎีการเมือง บางคนจึงให้ทรรศนะว่า ทฤษฎีการเมืองเป็น เช่นเดียวกับความเพ้อฝันต่างๆ ที่ไม่ยอมรับสภาพ ความเป็นจริงและไม่สามารถที่จะนามาใช้ประโยชน์ ในทางปฏิบัติ เบอร์ก (Burke) เชื่อว่าความเสื่อมทราม ของรัฐจะบังเกิดขึ้น ถ้าประชาชนพยายามจะฟื้นฟู ทฤษฎีต่างๆ มาเป็นหลักในการปกครอง www.themegallery.com Logo
  26. 26. คุณค่าและประโยชน์ของทฤษฎีการเมือง ลอเรนซ์ ซี. แวนลาสส์ (Lawrence C. Wanlass) ได้ชี้ให้เห็นคุณค่าของทฤษฎีการเมืองว่ามี หลายประการ 1. ทฤษฎีการเมืองช่วยให้คาจาจัดความที่ถูกต้องแก่ศัพท์ ทางการเมือง เช่น คาว่าเสรีภาพ, ประชาธิปไตย, ฯลฯ คา จาพวกนี้นิยมใช้กันโดยทั่วไปไม่เฉพาะแต่นักศึกษา รัฐศาสตร์เท่านั้น ทฤษฎีการเมืองสอนให้รู้ซึ้งถึงความหมาย ที่แท้จริงของศัพท์เฉพาะเหล่านี้ ซึ่งจะมีส่วนช่วยเป็นอย่าง มากในการแสดงโวหารทางการเมืองโน้มน้าวความคิดเห็น ของผู้อื่นwww.themegallery.com Logo
  27. 27. คุณค่าและประโยชน์ของทฤษฎีการเมือง 2. ทฤษฎีการเมืองมีส่วนช่วยอย่างมากในการทาให้เข้าใจ ประวัติศาสตร์ เพราะนาผู้ที่ศึกษาให้เข้าสู่บรรยากาศความคิดใน สมัยก่อน ช่วยให้เข้าใจถึงพลังผลักดันที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหว หรือเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สาคัญๆ เพราะเหตุที่ว่า ปรากฎการณ์ในอดีตเป็นผลมาจากการกระทาของมนุษย์จึงเป็น การจาเป็นที่จะต้องทราบถึงความคิดที่ชักจูงให้เกิดการกระทานั้น เช่น การที่จะเข้าใจถ่องแท้ถึงประวัติศาสตร์โลกสมัยกลาง (Middle Ages) นั้น จาเป็นต้องทราบถึงการพิพาทแย่งความ เหนือกว่าในการปกครองคนระหว่างจักรพรรดิกับสันตะปาปา เป็น ต้น www.themegallery.com Logo
  28. 28. คุณค่าและประโยชน์ของทฤษฎีการเมือง 3. ความรู้ในความคิดทางการเมืองแห่งอดีตนั้นมีส่วนช่วย ให้เข้าใจถึงการเมืองในสมัยปัจจุบัน เพราะปัญหาทางการ เมืองในปัจจุบันล้วนเกิดขึ้นจากสถานการณ์ในอดีต หรือ อาจเทียบเคียงได้กับปรากฏการณ์ในอดีต และหลัก การเมืองต่างๆ ที่นามาใช้เป็นผลมาจากวิวัฒนาการของ ความคิดทางการเมืองสมัยก่อน เช่น ทฤษฎีการแบ่งแยก อานาจในระบบการปกครองของสหรัฐอเมริกามีรากฐานมา จากความคิดของเมธีการเมืองสมัยกลาง เป็นต้น www.themegallery.com Logo
  29. 29. คุณค่าและประโยชน์ของทฤษฎีการเมือง 4 ทฤษฎีการเมืองสอนให้มีความเข้าใจในนโยบายและการ ปรับปรุงโครงร่างทางการปกครอง เพราะประเทศทุก ประเทศต้องมีหลักการอันเกิดจากปรัชญาการเมืองใด ปรัชญาหนึ่งเป็นสิ่งนารัฐบุรุษและประชาชน ในการวาง นโยบายหรือปฏิรูปการปกครอง ความก้าวหน้าหรือประสบ ความสาเร็จของระบบการเมืองในประเทศเป็นผลมาจาก การวางโครงร่างการปกครองอยู่บนทฤษฎีการเมืองที่ เหมาะสมกับสภาพการณ์ และความต้องการของประเทศ นั้น www.themegallery.com Logo
  30. 30. คุณค่าและประโยชน์ของทฤษฎีการเมือง 5. คุณค่านอกเหนือไปจากที่กล่าวมาแล้ว ได้แก่การที่ ทฤษฎีการเมืองเป็นเสมือนตัวแทนแสดงให้เห็นถึง ความรุ่งโรจน์แห่งอาณาจักรทางปัญญาในสมัยต่างๆ รัฐในอุดมคติหรือเลิศนครแห่งจินตนาการล้วนแต่เป็น สิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ และความพยายามที่จะใช้ความรู้ความเฉลียวฉลาด เสนอแนะรูปแบบที่ดีที่สุดแห่งการปกครอง www.themegallery.com Logo
  31. 31. คุณค่าและประโยชน์ของทฤษฎีการเมือง ปัจจุบันนี้ทฤษฎีการเมืองวิวัฒนาการมาสู่รูปแบบที่มีลักษณะการใช้ หลักเกณฑ์การพิสูจน์ทฤษฎีหรือสมมุติฐานที่ตั้งขึ้นโดยวิธีการแบบ วิทยาศาสตร์ ใช้วิธีการวิจัยจากข้อมูล ที่รวบรวมตามหลักสูตร ทาให้ผลลัพธ์หรือข้อสรุปมีความแม่นยามากยิ่งขึ้น แม้จะไม่แน่นอนเหมือนกับทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) แต่ก็นับว่ามีระดับความถูกต้องสูงกว่าวิธีการแบบเดิมที่ใช้ เพียงการสังเกตการณ์และเปรียบเทียบ เพราะฉะนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า ทฤษฎีการเมืองมีคุณค่าที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือ “ช่วยให้วิชาการ ปกครองหรือวิชารัฐศาสตร์มีลักษณะเป็นปึกแผ่น มีกฎเกณฑ์และแน่นอน มากขึ้น” www.themegallery.com Logo
  32. 32. คุณค่าและประโยชน์ของทฤษฎีการเมือง ยอร์ช แคทเท็บ กล่าวถึงประโยชน์ทฤษฎีทางการเมืองใน ชีวิตประจำวันไว้ควำมว่ำ ปัจจุบันคนโดยทั่วไปมีควำมต้องกำร 3 ประกำรในเรื่องที่เกี่ยวกับกำรเมืองหรือเป็นกำรเมืองในลักษณะ เป็นที่หวังกันว่ำนักรัฐศำสตร์ผู้แตกฉำนในกำรศึกษำทฤษฎี กำรเมืองจะสนองควำมต้องกำรทั้ง 3 ประกำรของคนทั่วไปได้ ควำมต้องกำที่ว่ำนี้คือ www.themegallery.com Logo
  33. 33. ประโยชน์ทฤษฎีทางการเมือง(ยอร์ช แคทเท็บ) 1. ต้องการคาแนะนา ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับโครา สร้าง เช่น ควรวางความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานหรือ ควรกระจายอานาจหน้าที่ หรือควรกาหนดความรับผิดชอบ อย่างไร 2. ต้องการความถูกต้องเพื่อตัดสินเมื่อเกิดปัญหาหรือ ความไม่เข้าใจระหว่างบุคคล 3. ต้องการทักษะ (skill) ในการทานายเหตุการณ์ใน อนาคตได้ถูกต้องหรือใกล้เคียง www.themegallery.com Logo
  34. 34. ประโยชน์ทฤษฎีทางการเมือง(ยอร์ช แคทเท็บ) แคทเท็บ เชื่อว่า นักรัฐศาสตร์จะสามารถสนองความ ต้องการทั้งสามประการนี้ได้เพราะเหตุที่ว่า นักรัฐศาสตร์ เป็นผู้ที่ให้ความสนใจกับปัจจุบันและอนาคต เป็นผู้ที่ คุ้นเคยกับทฤษฎีการเมือง รู้ซึ้งถึงนรรยากาศการเมืองใน อดีต ซึ่งอาจเทียบเคียงได้ละม้ายกับปัจจุบันและอนาคต และเป็นผู้ที่มีนิสัยโน้มเอียงไปในทางชอบตั้งข้อสังเกตหรือ สงสัยในการเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ ต่างๆ ดังนั้นเขาจึงควรจะสามารถให้คาปรึกษา ความ ถูกต้อง และพยากรณ์เหตุการณ์ข้างหน้าได้ดีกว่าใคร www.themegallery.com Logo
  35. 35. ประโยชน์ทฤษฎีทางการเมือง ประโยชน์ที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือการศึกษาทฤษฎี การเมืองอาจจะทาให้เป็นบุคคลที่มีมนุษยสัมพันธ์ (human relations) ดี เพราะเหตุว่าทฤษฎี การเมืองสอนให้รู้จักความหลากหลายของธรรมชาติหรือ ลักษณะนิสัยใจคอคน ดังนั้นผู้ที่ศึกษาทฤษฎีการเมือง จึง ควรรู้จักแนวทางในการสร้างความชื่นชอบให้กับผู้แวดล้อม www.themegallery.com Logo
  36. 36. วัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายปลายทางของทฤษฎี วัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายปลายทางของทฤษฎีการเมืองทั้ง หมาย คือ การใฝ่หา สัมมาร่วม (Common Good) ซึ่งสร้างสรรค์ สังคมให้มีสุข สัมมนาร่วมนี้ไม่จาเป็นต้องมาจากการดาเนินชีวิต ในทางที่ดีมีศีลธรรม แต่เป็นผลมาจากการดาเนินการทางการเมือง ที่ถูกต้องมีประสิทธิภาพสามารถบันดาลความสุขให้เกิดขึ้นแก่ สังคมโดยส่วนรวม ความแตกต่างของทฤษฎีการเมืองของแต่ละ เมธีการเมือง อยู่ที่มรรควิธี (Mean) ที่จะนาไปสู่จุดหมายปลายทาง ดังกล่าว ในขณะที่นักทฤษฎีการเมืองบางท่าน เช่นเพลโต เชื่อว่า คนเท่านั้นที่จะสามารถนาคนไปสู่ความสุขได้ อริสโตเติลเชื่อว่า กฎหมายเป็นเครื่องมือปกครองที่สามารถนาไปสู่สัมมนาร่วม www.themegallery.com Logo
  37. 37. Add Your Company Slogan P o w e r P o i n t Company Logo Thank you

×