SlideShare a Scribd company logo
1 of 94
Download to read offline
1
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน” สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ผู้ทาวิจัย นางสาววีณา มั่นน้อย และคณะผู้จัดทา
นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป กลุ่ม 12 รุ่น 56
ปี พ.ศ. 2560
สถานศึกษา โรงเรียนพระยามนธาตุราชศรีพิจิตร์ เขตบางบอน จังหวัดกรุงเทพมหานคร
บทคัดย่อ
รายงาน พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง “ดินและหิน” สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูล
พื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชา
วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4) เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับ
นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4.1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังการใช้รูปแบบการ
จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน
สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4.2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะ ความรู้หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4.3) เพื่อประเมินจิตวิทยาศาสตร์ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อ
เสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 2 4.4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้าง
ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
การดาเนินการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1
D: Diagnosis of needs (การวินิจฉัยและออกแบบการเรียนรู้) ขั้นที่ 2 R: Research in effective learning
environment (การใช้วิจัยเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ซึ่งใน ที่นี้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้หมายถึงการจัดการ
เรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ) ขั้นที่ 3 U: Universal Design for learning (เป็นขั้นการประเมิน) กลุ่มตัวอย่าง
ที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ โรงเรียนพระยามนธาตุราชศรีพิจิตร์
จานวน 42 คน
2
ผลการวิจัยพบว่า
รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (DRU MODEL: NKK MOEDL) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สร้าง
ขึ้นมีความเหมาะสมและสอดคล้องเชิงโครงสร้าง สามารถนาไปทดลองใช้ได้ค่าประสิทธิภาพค่าของรูปแบบการ
จัดการเรียนรู้เท่ากับ 77.27/79.61 สูงกว่าเกณฑ์ 75/75 หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการการ
จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดิน
และหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (DRU MODEL: NKK MOEDL) โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูงมาก สูง
กว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (DRU
MODEL: NKK MOEDL) พัฒนาขึ้นหลังเรียน มีค่าเฉลี่ย ( x =4.90 , S.D. = 0.20) อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อ
พิจารณาหลายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความสนใจใฝุรู้ มีค่าเฉลี่ย ( x =4.90 , S.D. = 0.20) อยู่ใน
ระดับมากที่สุดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ (DRU MODEL: NKK MOEDL)
ในภาพรวมนักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด และเมื่อแยกหลายด้านในภาพรวมด้านพฤติกรรมจิตวิทยาศาสตร์
นักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ในด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมนักเรียนเห็นด้วยในระดับมาก
ที่สุด
3
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญ
การพัฒนาประเทศให้มีความเจริญรุ่งเรืองและมีความมั่นคงนั้น คุณภาพของคนในประเทศมีผลต่อ
ความสาเร็จอย่างสาคัญยิ่ง โดยเฉพาะคุณภาพของเด็ก ซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุดเหนือ ทรัพยากรใดๆในโลก
กล่าวคือ การพัฒนาเด็กควรได้รับการพัฒนารอบด้านทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ได้รับการ
ตอบสนองความต้องการพื้นฐานทางร่างกายอย่างพอเพียง มีความปลอดภัย มีความรักความผูกพัน ความเอื้ออาทร
ความอบอุ่น มีการอบรมบ่มนิสัยให้เป็นคนดี มีความรับผิดชอบ มีความมานะบากบั่น มีเหตุผล รู้จักควบคุมตนเอง
ได้อย่างเหมาะสม มีความเข้าใจและรู้จักตนเองดูแลช่วยเหลือตนเองและพึ่งตนเองได้อย่างเหมาะสม ตลอดจน
สามารถดาเนินชีวิตที่มีคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติยามวิกฤติทางเศรษฐกิจและ
สังคมได้อย่างมีความสุขและประสบความสาเร็จ นั่นคือการเป็นคนดี มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่แข็งแรงมั่นคง
(กรมสุขภาพจิต. 2544 : 5)
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตราที่ 6 กล่าวไว้ว่าการจัดการศึกษาต้อง
เป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรมมีจริยธรรมและ
วัฒนธรรมในการดาเนินชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ.2546 : 5)และ
มาตราที่ 28 ได้กล่าวถึงหลักสูตรการศึกษาต้องมีลักษณะที่หลากหลาย มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของแต่ละบุคคลให้
เหมาะสมกับวัยตามศักยภาพและมุ่งพัฒนาคน ให้มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ความคิด ความสามารถ ความดีงาม
และความรับผิดชอบต่อสังคม (กระทรวงศึกษาธิการ. 2546 : 13) ตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการที่มีเปูาหมายในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนที่เป็นผลผลิตทางการศึกษา โดยมุ่งเน้นที่จะ
พัฒนาให้ผู้เรียนมีลักษณะที่พึงประสงค์ คือเป็นคนดี คนเก่ง และคนมีความสุข คนดี คือคนที่ดาเนินชีวิตอย่างมี
คุณภาพ มีจิตใจที่ดีงาม มีคุณธรรมจริยธรรม คนเก่ง คือคนที่มีสมรรถภาพในการดาเนินชีวิต หรือมีความพิเศษ
เฉพาะทาง คนมีความสุข คือคนที่มีสุขภาพดีทั้งทางกายและจิตใจ เป็นคนร่าเริง แจ่มใส ร่างกายแข็งแรง มีมนุษย
สัมพันธ์ มีความรักต่อทุกสรรพสิ่งมีอิสรภาพปลอดพ้นจากการเป็นทาสของอบายมุขและสามารถดารงชีวิตได้อย่าง
เพียงพอแก่อัตภาพ (คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้.2543 : 11-12) จึงถือว่าการศึกษาเป็น
กระบวนการพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมค่านิยม
และระบบการเมืองของประเทศ
การที่จะจัดการศึกษาให้บรรลุเปูาหมายข้างต้นนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบต่าง ๆ หลายประการด้วยกัน
ดังที่ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2526 : 12-13) กล่าวไว้ว่าการที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงหรือต่านั้นขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยหลายด้านด้วยกันคือ ตัวผู้สอน เนื้อหาสาระที่สอน กิจกรรมการเรียนการสอน และตัวผู้เรียนเอง ตัวผู้เรียน
เป็นปัจจัยสาคัญมากที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ถ้านักเรียนไม่ให้ความร่วมมือในการเรียน เช่น ไม่ตั้งใจเรียน
คุยหรือเล่นในขณะที่ครูสอน ไม่ทางานที่ครูสั่งเป็นต้น ก็จะทาให้กิจกรรมการเรียนการสอนต้องหยุดชะงักลง ซึ่งทา
4
ให้การเรียนการสอนไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้นักเรียนก็จะไม่ประสบผลสาเร็จในการเรียนเท่าที่ควร (เยาวภา
กันทรวชิยากุล. 2530 : 1) และการที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่านั้น ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความสามารถทาง
สติปัญญาเพียงประการเดียว องค์ประกอบอื่น ๆ อาจมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ เช่น วุฒิภาวะ
แรงจูงใจใฝุสัมฤทธิ์ สภาพครอบครัวและกระบวนการจัดการเรียนการสอน (สุรัตน์ อังกุรวิโรจน์. 2532 : 60-65)
ในสภาพความเป็นจริงของการศึกษาระดับมัธยมศึกษาขณะนี้ไม่ได้ผลตรงตามเปูาหมายที่ต้องการ
เนื่องจากผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่าไม่ประสบผลสาเร็จทางการเรียนสอบไม่ผ่านต้องใช้ระยะเวลาในการ
เรียนมากกว่าที่กาหนด หรือลาออกกลางคัน ซึ่งเป็นการสูญเปล่าทางการศึกษาการที่ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนต่า ทาให้ผู้เรียนไม่ได้พัฒนาความรู้ความสามารถให้เจริญงอกงามและใช้ประโยชน์เท่าที่ควรจะเป็น นอกจากนี้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังเป็นเครื่องแสดงถึงความสาเร็จหรือความล้มเหลวทางการจัดการศึกษาของนักเรียนและ
ของประเทศชาติอีกด้วย (ก่อ สวัสดิพาณิชย์. 2527 : 35) จึงถือเป็นหน้าที่ของครูผู้สอนที่จะศึกษาค้นคว้าเพื่อ
หาทางแก้ไข ช่วยเหลือ ปรับปรุงหรือปูองกันปัญหาที่มีผลต่อการเรียนของนักเรียน ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนแก้ไขระดับ
ผลการเรียนที่ติด 0 ต่อเนื่อง
ปัจจุบันเป็นยุคที่โลกมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วอันสืบเนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยีเพื่อเชื่อมโยง
ข้อมูลต่างๆของทุกภูมิภาคของโลกเข้าด้วยกัน กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อ
วิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความ
พร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้
(LEARNING Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้
ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ที่เป็นปัจจัยสนับสนุนที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้ดังกล่าว การเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติใน
การเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญ
และสมรรถนะที่เกิดกับผู้เรียน เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน (ศิริวรรณ ฉัตรมณี
รุ่งเจริญ และวรางคณา ทองนพคุณ. 2556 : 1-3) สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนา
เยาวชนของชาติเข้าสู่โลกศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิด
วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยีสามารถทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติ
(กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 : 2) จึงเกิดการปฏิรูปการศึกษาของไทยอย่างต่อเนื่องภายใต้กฎหมายการศึกษา
หลักพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 มีความต้องการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็น
มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้
และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญมากที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถพัฒนาศักยภาพ ส่วนการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้เน้นให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดเนื้อหา
สาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อปูองกันและแก้ไข
5
ปัญหา และจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติ ให้ทาได้ คิดเป็น รักการอ่านและใฝุ
เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในส่วนของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นั้นต้องให้เกิดทั้งความรู้ ทักษะ และเจตคติด้าน
วิทยาศาสตร์รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบารุงรักษา และการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.2542 : 1-
8)
จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2542
ในช่วงระยะ 6 ปีที่ผ่านมา (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2546ก, 2546ข, 2548ก, 2548ข ;
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2547 ; สานักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, 2548 ; สุวิมล ว่องวา
นิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, 2547; Nutravong, 2002; Kittsunthorn, 2003, อ้างถึงในกระทรวงศึกษาธิการ
2552 : 1) และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 จึงได้มี
การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มี
ความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ กาหนดจุดหมายไว้ 5 ประการ ดังนี้ 1) มีคุณธรรม
จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฎิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการ
สื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต 3) มีสุขภาพกายและสุขภาพที่ดี มีสุขนิสัยและรัก
การออกกาลังกาย 4) มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 4) มีความรักชาติ มีจิตสานึก
ในความเป็นพลเมืองและพลโลก 5) มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
โดยมุ่งหวังพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้จะ
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในส่วน
ของความสามารถในการคิดนั้นเป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
เกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม มีการพัฒนาอย่างสมดุลโดยคานึงถึงหลักการพัฒนาทางสมองและพหุ
ปัญญา และกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และ
ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนรู้วิทยาศาสตร์เน้นการเชื่อมโยง
ความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
และการแก้ปัญหาที่หลากหลายให้กับผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือ
ปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552 : 2-13)
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุกคนทั้ง
ในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพต่างๆ ตลอดจนเทคโนโลยีเครื่องมือ เครื่องใช้และผลผลิตต่างๆ ที่มนุษย์ได้ใช้
เพื่ออานวยความสะดวกในชีวิตและการงาน ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์
และศาสตร์อื่นๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิดทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์
คิดวิจารณญาณ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถ
6
ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมันใหม่
ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based society) ทุกคนจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์
เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนาความรู้ไปใช้อย่างมี
เหตุผล สร้างสรรค์ มีคุณธรรม (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2551 : 1) เป็นที่น่าสังเกตว่า ประเทศใน
โลกที่สามที่เจริญก้าวหน้าไปได้ดี มักจะมีนโยบายวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม และตัวบ่งชี้ที่วัดและ
เปรียบเทียบได้ เช่น จานวนนักวิทยาศาสตร์ต่อประชากรพันคน งบประมาณวิจัยค้นคว้า วิทยาศาสตร์เป็น
เปอร์เซ็นต์ของผลิตผลรวมมวล ฯลฯ แต่บางประเทศกลับมีนโยบายที่หน่วงเหนี่ยววิทยาศาสตร์ เป็นต้น ว่านโยบาย
ที่แบ่งวิทยาศาสตร์ออกเป็นสองประเภท คือประเภทที่มีบทบาทในการพัฒนาประเทศ และประเทศที่ไม่มีบทบาท
ในการพัฒนาประเทศ และรวมการพัฒนาวิทยาศาสตร์มูลฐาน เช่น คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี หรือแม้แต่ ชีววิทยา
เข้าไว้ในประเภทหลัง หลักสูตรการเรียนการสอนในปัจจุบันของประเทศต่างๆ แม้แต่ประเทศเพื่อนบ้าน ได้มุ่งไปที่
Knowledge curriculum คาว่า Knowledge ในที่นี้หมายถึงสิ่งที่เรียนรู้ ที่สามารถเปลี่ยนไป ให้มีมูลค่าทาง
เศรษฐกิจ หากสิ่งที่เรียนรู้เปลี่ยนไป ให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจไม่ได้ ก็จะไม่นับเป็นความรู้ ดังนั้น หลักการสาคัญของ
การเรียนรู้ คือการเปลี่ยนสิ่งเรียนรู้ให้มีประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นให้ได้ ดังนั้น ได้มีผู้เสนอแนะว่า การเรียนรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ ควรจะเริ่มด้วยการใช้ประโยชน์ก่อน และเข้าสู่ทฤษฎีภายหลัง หรืออย่างน้อยผู้สอนน่าจะสอนในสิ่งที่
ผู้เรียนรู้ว่า สิ่งที่เรียนมีหรือจะให้ประโยชน์ แก่นักเรียนอย่างไรบ้าง ในขณะที่ประเทศไทยกาลังพูดถึง Quantum
economy ซึ่งการพัฒนา nano computer และนักฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ในอนาคตจะมีลักษณะใกล้เคียงกันเข้าไป
ยิ่งขึ้น (เฉลียว มณีเลิศ. 2557 : 1) รัฐต้องเร่งรัดและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประกอบ
กันองค์การยูเนสโกในปี 2000 ได้ออกมาเสนอให้พลโลกรู้วิทยาศาสตร์อย่างเพียงพอเพื่อการดารงชีวิตอย่างเป็น
สุขและปลอดภัยในโลกยุคโลกาภิวัฒน์ การพัฒนาให้ทุกคนรู้วิทยาศาสตร์จึงมีความสาคัญในการดารงชีวิต ช่วยเพิ่ม
ขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจ (หัสชัย สิทธิรักษ์. 2551) ดังนั้น วิทยาศาสตร์จึงเป็นวัฒนธรรมของโลก
สมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ การบูรณาการความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ สอดคล้องกับเน้นให้
ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ควบคู่ไปพร้อมกับการพัฒนาการทางความคิดในระดับสูง อันจะส่งผล
ต่อการพัฒนาความคิดที่มีเหตุผล สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นทักษะสาคัญในการ
แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มิได้มุ่งเฉพาะตัวเนื้อหาความรู้แต่มีความหมายครอบคลุมไปถึงกระบวนการ
แสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์อีกด้วย นั่นคือ ผู้เรียนต้องได้รับผลผลิตทั้งเนื้อหาความรู้และปลูกฝังกระบวนการ
แสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในเวลาเดียวกัน (วรรณทิพา รอดแรงค้า. 2544 : ค) เพื่อให้เกิดทักษะการเรียนรู้
ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านพุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัย และด้านจิตพิสัย ผู้เรียนต้องได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการเป็นผู้คิดลง
ปฏิบัติ ศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยกิจกรรมหลากหลาย ทั้งการทากิจกรรมภาคสนาม การสังเกต การสารวจ
ตรวจสอบ การทดลองในห้องปฎิบัติการ การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนจะเกิดขึ้นระหว่างที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมผ่านการทากิจกรรมเหล่านั้นจึงจะมีความสามารถในการแก้ปัญหาด้วย
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้พัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
2547 : 9-10) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กาหนดไว้ว่าสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งให้มีการ
นาความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ผู้เรียนต้องอาศัยความรู้ที่หลากหลาย
7
เป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองไปสู่เปูาหมายของหลักสูตร สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นสาระที่มีกระบวนการ
และขั้นตอนในการศึกษาประเด็นวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในชั้นเรียน มักต้องมีการคิด
วิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ เป็นหลัก โดยจะเริ่มจากการทาความเข้าใจประเด็นปัญหาหรือคาถาม โดยที่เด็กต้องทา
ความเข้าใจกับสถานการณ์นั้นอย่างถ่องแท้ มักจะเริ่มด้วยการคิดวิเคราะห์ว่ามีองค์ประกอบใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับ
สถานการณ์นั้น ๆ ไม่เพียงแต่ความรู้ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน การพัฒนาและปลูกฝังทักษะการคิดวิเคราะห์ให้เด็กจะ
สามารถทาให้เกิดความเข้าใจเรื่องราวที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน และใช้ความเป็นเหตุและผลในการตัดสินใจ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อีกด้วย (กระทรวงศึกษาธิการ 2551 : 4-21) การสอนจึงเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งในยุค
ปฏิรูปการศึกษาการดาเนินชีวิตที่ประสบความสุข ความสาเร็จ เป็นผลมาจากประสิทธิภาพของการคิดกลวิธี และ
ทักษะกระบวนการคิดในลักษณะต่างๆ การคิดเป็นกลไกที่สาคัญอย่างอย่างยิ่งในการพัฒนาความสามารถทางสมอง
การฝึกทักษะการคิดและกระบวนการคิดจึงเป็นปัจจัยที่สาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาสติปัญญาของเด็กเพื่อจะได้
เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ
พเยาว์ ยินดีสุข. (2548 : 22) ; สมนึก ภัททิยธนี, จุฑาทิพย์ ชาติสุวรรณ์ และวิภาดา คาดี (2548 : 2) กล่าวถึง
การคิดอย่างมีวิจารณญาณไว้ว่า เป็นความคิดประเภทหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและเป็นเครื่องมือสาหรับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องได้ด้วยตนเอง อีกทั้งเป็นความคิดที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ
ใช้ในการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบโดยอาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์เพื่อนาไปสู่ข้อสรุปที่
สมเหตุสมผล ดังนั้น การคิดอย่างมีวิจารณญาณส่งผลให้สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาโดยการใช้เหตุผลอย่าง
ถูกต้องเหมาะสมช่วยให้สามารถยืนหยัดได้อย่างมั่นคงในโลกปัจจุบันและอนาคต
จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนสนใจที่จะนารูปแบบการสอนทฤษฎีกระบวนการจัดการเรียนรู้
แบบ DRU Modle (NKK) เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มาใช้แก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และมีกระบวนการคิดอย่างมีระบบ
เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนระดับสูงและการดารงชีวิตประจาวันต่อไป
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะการ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2
2. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
3. เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชา
วิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
4. เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
8
4.1 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
4.2 เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดแบบมีวิจารณญาณ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
4.3 เพื่อประเมินจิตวิทยาศาสตร์ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อ
เสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
4.4 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อ
เสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ความสมมติฐานการวิจัย
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้าง
ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและจิตวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน หลังการใช้สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการ
จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนา ผู้วิจัยกาหนดขอบเขตของการวิจัย ดังนี้
ตัวแปรในการศึกษา
1. ตัวแปรอิสระ คือรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
ดังนี้
1.1 ขั้นที่ 1 เตรียมความพร้อมผู้เรียน (Prepare learners)
1.2 ขั้นที่ 2 ปรับเปลี่ยนความคิด (Turning ideas)
1.3 ขั้นที่ 3 เรียนรู้สิ่งใหม่ (Learn something new)
1.4 ขั้นที่ 4 ประยุกต์ใช้ความรู้ (Application of Knowledge)
1.5 ขั้นที่ 5 เติมเต็มประสบการณ์ (Complement the experience)
2. ตัวแปรตาม คือผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนหลังการใช้รูปแบบ DRU MODEL (NKK) การจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มี 4 ด้านประกอบด้วย
2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
9
2.2 ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.3 จิตวิทยาศาสตร์
2.4 ความพึงพอใจ
ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 1 ห้อง โรงเรียนพระยามน
ธาตุราชศรีพิจิตร์ เขตบางบอน สังกัดกรุงเทพมหานคร นักเรียน 42 คน ปีการศึกษา 2559 ที่มีพฤติกรรมไม่เข้า
เรียน
2. กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 1 ห้อง โรงเรียนพระยามน
ธาตุราชศรีพิจิตร์ เขตบางบอน สังกัดกรุงเทพมหานคร นักเรียน 42 คนปีการศึกษา 2559 ได้มาโดยการสุ่มอย่าง
ง่าย โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม
ขอบเขตด้านระยะเวลาการศึกษาวิจัย
ดาเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 วันที่ 9-20 มกราคม 2560
นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
1. รูปแบบการสอน หมายถึงแบบแผนการดาเนินการจัดกิจกรรมการการเรียนการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
โดยอาศัยทฤษฏีกระบวนการจัดการเรียนรู้ DRO MODEL (NKK) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 N (Need for Learning) = ความต้องการของนักเรียน -----> K P A
ขั้นที่ 2 K (Knowledge by Network) = ความรู้ผ่านเครือข่าย -----> CN SN AN
- CN เรียนรู้ผ่าน PPTX,E-book,ใบความรู้
- SN กลวิธีในการเรียนรู้
1) ระดมสมองแบ่งงานตามความสามารถ
2) ทางานตามความสามารถ
- AN สอบถามจาก เพื่อน, ผู้รู้, ผู้เชี่ยวชาญ
ขั้นที่ 3 K (Knowledge and do Audit) = ตรวจสอบความรู้ตนเอง -----> ตรวจสอบ K P A
2. ความรู้ คือ ความเข้าใจในเรื่องบรรยากาศ จดจาในสิ่งที่เรียนไปและนาความรู้เรื่องบรรยากาศไปใช้
ประโยชน์ เป็นความสามารถทางสติปัญญาในการขยายความรู้ ความจา ให้กว้างออกไปจากเดิมอย่างสมเหตุสมผล
และความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนของผู้เรียนที่ได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ ทาการทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียนตามกิจกรรมการเรียนการสอนใน
รูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
4. จิตวิยาศาสตร์ (Science mind) หมายถึง จิตสานึกของบุคคลที่ก่อให้เกิดเป็นลักษณะนิสัยหรือ
ความรู้สึกทางจิตใจของบุคคลที่เกิดการศึกษาความรู้หรือการเรียนรู้ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย
4.1 ความสนใจใฝุรู้ หมายถึง คุณลักษณะของบุคคลที่มีความพยายามจะเผชิญสืบเสาะแสวงหาความรู้
ในสถานการณ์ใหม่ๆซึ่งไม่สามารถอธิบายด้วยความรู้ที่ทีอยู่เดิม และค้นหาความรู้เพื่อตอบปัญหาซึ่งมีความ
ปรารถนาที่จะได้ความรู้ที่สมบูรณ์ ซึ้งมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้
10
4.1.1 มีปัญหาเกิดขึ้นต่อเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นและพยายามหาคาตอบนั้นให้สมบูรณ์โดยการ
ซักถาม สนทนา ฟัง อ่าน เพื่อให้ได้ความรู้ที่สมบูรณ์
4.1.2 มีการศึกษาค้นคว้าเพื่อทาความเข้าใจสถานการณ์ใหม่ๆ ซึ่งไม่สามารถอธิบายได้ด้วย
ความรู้ที่มีอยู่เดิม
4.1.3 ชอบสืบเสาะ ทดลอง พิสูจน์แนวคิดแปลกใหม่
4.1.4 มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรม และเรื่องใหม่
4.2 ความรับผิดชอบ มุ่งมั่น อดทน และเพียรพยายาม หมายถึง คุณลักษณะของบุคคลที่สามารถ
ดาเนินการทากิจกรรมในการแก้ปัญหาจนถึงที่สุดจนกว่าจะได้รับคาตอบที่น่าเชื่อถือได้และยอมรับผลการกระทา
ของตนเองทั้งเป็นผลดี และผลเสียซึ่งมีลักษณะและพฤติกรรมดังต่อไปนี้
4.2.1 มีความเต็มใจที่ค้นหาคาตอบโดยการพิสูจน์ ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์แม้มีปัญหาและ
อุปสรรต่าง ๆ
4.2.2 มีความเต็มใจที่จะทาการทดลองซ้า ๆ หลายครั้งเพื่อค้นหาคาตอบที่น่าเชื่อถือที่สุด
4.2.3 ทางานที่รับผิดชอบมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ
4.2.4 ทางานที่มอบหมายให้เสร็จสมบูรณ์ตามที่กาหนด และตรงต่อเวลา
4.2.5 ไม่ท้อถอยในการทางาน เมื่อมีอุปสรรคหรือล้มเหลว
4.2.6 มีความอดทน แม้การดาเนินการแก้ปัญหาจะยุ่งยากและใช้เวลา
4.2.7 ยอมรับผลการกระทาของตนเองทั้งที่เป็นผลดีและผลเสีย
4.3 ความมีระเบียบและรอบคอบ หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่มีการทางานเป็นระเบียบรอบคอบ
จัดระบบการทางานใช้วิธีการศึกษาหลายวิธีในการตรวจสอบผลการทดลองไตร่ตรอง จัดระบบการทางานก่อน
ตัดสินใจสรุปมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้
4.3.1 เห็นคุณค่าของความมีระเบียบและรอบคอบ
4.3.2 นาวิธีการหลายๆ วิธีมาตรวจสอบผลหรือวิธีการทดลอง
4.3.3 มีการใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พินิจพิเคราะห์ ก่อนในการตัดสินใจสรุปหรือเชื่อในสิ่งต่างๆ
4.3.4 มีความละเอียด ถี่ถ้วนในการทางาน
4.3.5 มีการวางแผนการทางานและจัดระบบการทางาน
4.3.6 ตรวจสอบความเรียบร้อย หรือคุณภาพเครื่องมือก่อนทาการทดลอง
4.3.7 ทางานอย่างเป็นระเบียบเรียนร้อย
4.4 ความมีเหตุผล หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่มียอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานและข้อมูล
อย่างพอก่อนสรุปผล ชอบพิจารณาหาสาเหตุของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้
4.4.1 เห็นคุณคุณค่าในการเหตุผลในเรื่องต่าง ๆ
4.4.2 ไม่เชื่อโชครางหรือคาทานายที่ไม่สามารถอธิบายได้ตามวิธีของวิทยาศาสตร์ แต่พยายาม
สิ่งต่าง ๆ ในแง่มุมของเหตุผล
4.4.3 หาความสัมพันธ์ของเหตุและผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
4.4.4 อธิบายหรือแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
11
4.4.5 ตรวจความถูกต้องหรือความสมเหตุผลของแนวคิดต่าง ๆ กับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้เสาะ
แสวงหาหลักฐานหรือข้อมูลจากการสังเกตหรือทดลองเพื่อสนับสนุนหรือค้นหาคาตอบ
4.4.6 เสาะแสวหาหลักฐานหรือข้อมูลจากการสังเกตหรือทดลองเพื่อสนับสนุนหรือค้นหา
คาตอบ
4.4.7 ยอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือข้อมูลสนับสนุนอย่างเพียงพอ
4.4.8 มีความต้องการเคารพในเหตุผลซึ่งกันและกัน
4.5 ความใจกว้าง หมายถึง คุณลักษณะของบุคคลหรือแสดงถึงการมีจิตใจกว้างขวางเต็มใจที่จะ
เปลี่ยนแปลงความคิดเห็นของตนยอมรับฟังความคิดเห็นหรือวิพากษ์วิจารณ์ข้อโต้แย้งของคนอื่น เปลี่ยนความ
คิดเห็นของตนเอง เมื่อมีหลีกฐานที่ดีกว่า ซึ่งมีพฤติกรรมดังนี้
4.5.1 รับฟัง วิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้แย้ง หรือข้อคิดเห็นของผู้อื่น
4.5.2 ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยใจเป็นธรรม
4.5.3 ยอมรับความคิดเห็นหรือวิธีการที่แปลกใหม่
4.5.4 เต็มใจที่จะเปลี่ยนแนวคิดหรือแนวปฏิบัติเมื่อได้ข้อมูลหรือหลักฐานใหม่ๆที่เชื่อถือได้
มากกว่าหรือถูกต้องกว่า
4.5.5 ยอมพิจารณาข้อมูลหรือข้อคิดเห็นที่ยงสรุปไม่ได้และพร้อมที่จะหาข้อมูลเพิ่มเติม
4.6 ความซื่อสัตย์ หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่ต้องการความถูกต้องในการรายงานการศึกษาโดย
ปราศจากอคติ ความรู้สึกส่วนตัวหรืออิทธิพลจากสิ่งต่างๆซึ่งมีพฤติกรรมดังนี้
4.6.1 เห็นคุณค่าการนาเสนอข้อมูลตามความเป็นจริง
4.6.2 นาเสนอความเป็นจริงของตนเองถึงแม้จะมีผลที่มีความแตกต่างจากคนอื่นก็ตาม
4.6.3 บันทึกข้อมูลตามความเป็นจริงและไม่ใช้ความรู้สึกของตนเองมากเกี่ยวข้อง
4.6.4 ไม่แอบอ้างผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตนเอง
4.6.5 ไม่เอาอิทธิพลของความเชื่อมาให้เหนือการตัดสินใจใด ๆ ในทางวิทยาศาสตร์
4.6.6 ไม่นาสภาพทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองมาเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงความหมาย
ข้อมูล
5. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากรูปแบบการ
สอนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์เรื่องดินและหิน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ต่อนักเรียน
1.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นส่งผล
ต่อระดับผลสัมฤทธิ์รวมของโรงเรียนสูงขึ้น
1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีทักษะการคิดขั้นสูง ส่งผลให้
สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้
1.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีคุณลักษณะด้านการมุ่งมั่นในการเรียนรู้ ใฝุเรียนรู้ มีวินัย
และมีจิตสาธารณะ สามารถช่วยเหลือสังคมได้
12
2. ต่อครูผู้สอน
2.1 ได้นานวัตกรรมรูปแบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต
วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิผลสูงกว่า 0.5
สามารถไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์
2.2 เป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในการพัฒนารูปแบบการสอน
สาหรับพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการคิด
2.3 เป็นแนวทางให้ครูผู้สอนในกลุ่มสาระอื่นๆและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนในการออกแบบพัฒนารูปแบบการสอน สาหรับการพัฒนาการสอนสาหรับพัฒนาผลสมฤทธิ์ทางการเรียนและ
ทักษะการคิด
3. ต่อผู้บริหาร
3.1 การบริหารบุคลากรในสถานศึกษา ทาให้ได้บุคลากรที่มีผลงานด้านการสร้างและพัฒนา
นวัตกรรมสาหรับการจัดการเรียนการสอน
3.2 การบริหารจักการเรียนการสอน ทาให้โรงเรียนมีสื่อนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน
กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย
จากแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยงข้องกับการรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะ
ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สรุปกรอบแนวคิด
ทฤษฎีได้ดังแผนภาพที่ 1
13
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดทฤษฎีในการพัฒนารูปแบบการสอน
14
บทที่2
วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดอย่างมี
วิจารณญาณและจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ในครั้งนี้
ผู้วิจัยได้ศึกษาตาราง เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสาระสาคัญเสนอตามลาดับ ดังนี้
ตอนที่ 1 หลักสูตรการศึกษา
1.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
1.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตอนที่ 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1 การวิจัยและพัฒนา
2.2 จิตวิทยาการศึกษา
2.3 เจตคติ (Attitude)
2.4 ทฤษฎีแรงจูงใจ
2.5 ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไขแบบแบบการกระทาของสกินเนอร์
ตอนที่ 1 หลักสูตรการจักการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ให้เป็นหลักสูตร
แกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเปูาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก จึงได้
ปรับได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและ
สถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ และความต้องการของ
ท้องถิ่น จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2542 ที่ผ่านมาประกอบกับข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 เกี่ยวกับแนวทางการ
พัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุค
ศตวรรษที่ 21 จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 มีความเมาะสมชัดเจน ทั้ง
เปูาหมายของหลักสูตรในการพัฒนาผู้เรียนและกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
และสถานศึกษา โดยได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ
นอกจากนั้นได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่าของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ในหลักสูตร
แกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับ
กระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทาง
การศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชัดเจนต่อการนาไปปฏิบัติ
(กระทรวงศึกษาธิการ. 2551) รายละเอียดดังนี้
15
1. วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็น
มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่น
ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง
เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบน
พื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
2. หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้
1) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเปูาหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย
ควบคู่กับความเป็นสากล
2) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมีคุณภาพ
3) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้
สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการ
เรียนรู้
5) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
6) เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเปูาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
3. จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มี
ศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้น
พื้นฐาน ดังนี้
1) มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2) มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะ
ชีวิต
3) มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
4) มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5) มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด
สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้
4.1 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ
สาคัญ 5 ประการ ดังนี้
16
1) ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญ
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ
ปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่
ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง
ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ
ทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
4.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและ
พลโลก ดังนี้
1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2) ซื่อสัตย์สุจริต
3) มีวินัย
4) ใฝุเรียนรู้
5) อยู่อย่างพอเพียง
6) มุ่งมั่นในการทางาน
7) รักความเป็นไทย
8) มีจิตสาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตาม
บริบทและจุดเน้นของตนเอง
5. มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและ
พหุปัญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม  จริยธรรม  และจรรยาบรรณวิชาชีพพฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม  จริยธรรม  และจรรยาบรรณวิชาชีพ
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพอำนาจ ศรีทิม
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการWichai Likitponrak
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561ungpao
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 

What's hot (20)

ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
พระบรมราโชบายด้านการศึกษาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม  จริยธรรม  และจรรยาบรรณวิชาชีพพฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม  จริยธรรม  และจรรยาบรรณวิชาชีพ
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 

Viewers also liked

การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติTaew Nantawan
 

Viewers also liked (6)

การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
 

Similar to วิจัยทางการศึกษา

วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...พรทิพย์ สิงหรา
 
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...nattasorn kamonmal
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาAudchara Maneekrod
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 

Similar to วิจัยทางการศึกษา (20)

วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
 
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

วิจัยทางการศึกษา

  • 1. 1 ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน” สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้ทาวิจัย นางสาววีณา มั่นน้อย และคณะผู้จัดทา นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป กลุ่ม 12 รุ่น 56 ปี พ.ศ. 2560 สถานศึกษา โรงเรียนพระยามนธาตุราชศรีพิจิตร์ เขตบางบอน จังหวัดกรุงเทพมหานคร บทคัดย่อ รายงาน พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง “ดินและหิน” สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูล พื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4) เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบ การจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4.1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังการใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4.2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะ ความรู้หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4.3) เพื่อประเมินจิตวิทยาศาสตร์ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อ เสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 4.4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้าง ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 การดาเนินการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 D: Diagnosis of needs (การวินิจฉัยและออกแบบการเรียนรู้) ขั้นที่ 2 R: Research in effective learning environment (การใช้วิจัยเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ซึ่งใน ที่นี้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้หมายถึงการจัดการ เรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ) ขั้นที่ 3 U: Universal Design for learning (เป็นขั้นการประเมิน) กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ โรงเรียนพระยามนธาตุราชศรีพิจิตร์ จานวน 42 คน
  • 2. 2 ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (DRU MODEL: NKK MOEDL) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่สร้าง ขึ้นมีความเหมาะสมและสอดคล้องเชิงโครงสร้าง สามารถนาไปทดลองใช้ได้ค่าประสิทธิภาพค่าของรูปแบบการ จัดการเรียนรู้เท่ากับ 77.27/79.61 สูงกว่าเกณฑ์ 75/75 หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดิน และหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (DRU MODEL: NKK MOEDL) โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูงมาก สูง กว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (DRU MODEL: NKK MOEDL) พัฒนาขึ้นหลังเรียน มีค่าเฉลี่ย ( x =4.90 , S.D. = 0.20) อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อ พิจารณาหลายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความสนใจใฝุรู้ มีค่าเฉลี่ย ( x =4.90 , S.D. = 0.20) อยู่ใน ระดับมากที่สุดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ (DRU MODEL: NKK MOEDL) ในภาพรวมนักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด และเมื่อแยกหลายด้านในภาพรวมด้านพฤติกรรมจิตวิทยาศาสตร์ นักเรียนเห็นด้วยในระดับมากที่สุด ในด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมนักเรียนเห็นด้วยในระดับมาก ที่สุด
  • 3. 3 บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญ การพัฒนาประเทศให้มีความเจริญรุ่งเรืองและมีความมั่นคงนั้น คุณภาพของคนในประเทศมีผลต่อ ความสาเร็จอย่างสาคัญยิ่ง โดยเฉพาะคุณภาพของเด็ก ซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุดเหนือ ทรัพยากรใดๆในโลก กล่าวคือ การพัฒนาเด็กควรได้รับการพัฒนารอบด้านทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ได้รับการ ตอบสนองความต้องการพื้นฐานทางร่างกายอย่างพอเพียง มีความปลอดภัย มีความรักความผูกพัน ความเอื้ออาทร ความอบอุ่น มีการอบรมบ่มนิสัยให้เป็นคนดี มีความรับผิดชอบ มีความมานะบากบั่น มีเหตุผล รู้จักควบคุมตนเอง ได้อย่างเหมาะสม มีความเข้าใจและรู้จักตนเองดูแลช่วยเหลือตนเองและพึ่งตนเองได้อย่างเหมาะสม ตลอดจน สามารถดาเนินชีวิตที่มีคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติยามวิกฤติทางเศรษฐกิจและ สังคมได้อย่างมีความสุขและประสบความสาเร็จ นั่นคือการเป็นคนดี มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่แข็งแรงมั่นคง (กรมสุขภาพจิต. 2544 : 5) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตราที่ 6 กล่าวไว้ว่าการจัดการศึกษาต้อง เป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรมมีจริยธรรมและ วัฒนธรรมในการดาเนินชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ.2546 : 5)และ มาตราที่ 28 ได้กล่าวถึงหลักสูตรการศึกษาต้องมีลักษณะที่หลากหลาย มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของแต่ละบุคคลให้ เหมาะสมกับวัยตามศักยภาพและมุ่งพัฒนาคน ให้มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม (กระทรวงศึกษาธิการ. 2546 : 13) ตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการที่มีเปูาหมายในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนที่เป็นผลผลิตทางการศึกษา โดยมุ่งเน้นที่จะ พัฒนาให้ผู้เรียนมีลักษณะที่พึงประสงค์ คือเป็นคนดี คนเก่ง และคนมีความสุข คนดี คือคนที่ดาเนินชีวิตอย่างมี คุณภาพ มีจิตใจที่ดีงาม มีคุณธรรมจริยธรรม คนเก่ง คือคนที่มีสมรรถภาพในการดาเนินชีวิต หรือมีความพิเศษ เฉพาะทาง คนมีความสุข คือคนที่มีสุขภาพดีทั้งทางกายและจิตใจ เป็นคนร่าเริง แจ่มใส ร่างกายแข็งแรง มีมนุษย สัมพันธ์ มีความรักต่อทุกสรรพสิ่งมีอิสรภาพปลอดพ้นจากการเป็นทาสของอบายมุขและสามารถดารงชีวิตได้อย่าง เพียงพอแก่อัตภาพ (คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้.2543 : 11-12) จึงถือว่าการศึกษาเป็น กระบวนการพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมค่านิยม และระบบการเมืองของประเทศ การที่จะจัดการศึกษาให้บรรลุเปูาหมายข้างต้นนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบต่าง ๆ หลายประการด้วยกัน ดังที่ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2526 : 12-13) กล่าวไว้ว่าการที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงหรือต่านั้นขึ้นอยู่กับ ปัจจัยหลายด้านด้วยกันคือ ตัวผู้สอน เนื้อหาสาระที่สอน กิจกรรมการเรียนการสอน และตัวผู้เรียนเอง ตัวผู้เรียน เป็นปัจจัยสาคัญมากที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ถ้านักเรียนไม่ให้ความร่วมมือในการเรียน เช่น ไม่ตั้งใจเรียน คุยหรือเล่นในขณะที่ครูสอน ไม่ทางานที่ครูสั่งเป็นต้น ก็จะทาให้กิจกรรมการเรียนการสอนต้องหยุดชะงักลง ซึ่งทา
  • 4. 4 ให้การเรียนการสอนไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้นักเรียนก็จะไม่ประสบผลสาเร็จในการเรียนเท่าที่ควร (เยาวภา กันทรวชิยากุล. 2530 : 1) และการที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่านั้น ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความสามารถทาง สติปัญญาเพียงประการเดียว องค์ประกอบอื่น ๆ อาจมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ เช่น วุฒิภาวะ แรงจูงใจใฝุสัมฤทธิ์ สภาพครอบครัวและกระบวนการจัดการเรียนการสอน (สุรัตน์ อังกุรวิโรจน์. 2532 : 60-65) ในสภาพความเป็นจริงของการศึกษาระดับมัธยมศึกษาขณะนี้ไม่ได้ผลตรงตามเปูาหมายที่ต้องการ เนื่องจากผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่าไม่ประสบผลสาเร็จทางการเรียนสอบไม่ผ่านต้องใช้ระยะเวลาในการ เรียนมากกว่าที่กาหนด หรือลาออกกลางคัน ซึ่งเป็นการสูญเปล่าทางการศึกษาการที่ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนต่า ทาให้ผู้เรียนไม่ได้พัฒนาความรู้ความสามารถให้เจริญงอกงามและใช้ประโยชน์เท่าที่ควรจะเป็น นอกจากนี้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังเป็นเครื่องแสดงถึงความสาเร็จหรือความล้มเหลวทางการจัดการศึกษาของนักเรียนและ ของประเทศชาติอีกด้วย (ก่อ สวัสดิพาณิชย์. 2527 : 35) จึงถือเป็นหน้าที่ของครูผู้สอนที่จะศึกษาค้นคว้าเพื่อ หาทางแก้ไข ช่วยเหลือ ปรับปรุงหรือปูองกันปัญหาที่มีผลต่อการเรียนของนักเรียน ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนแก้ไขระดับ ผลการเรียนที่ติด 0 ต่อเนื่อง ปัจจุบันเป็นยุคที่โลกมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วอันสืบเนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยีเพื่อเชื่อมโยง ข้อมูลต่างๆของทุกภูมิภาคของโลกเข้าด้วยกัน กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อ วิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความ พร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (LEARNING Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ที่เป็นปัจจัยสนับสนุนที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้ดังกล่าว การเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติใน การเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญ และสมรรถนะที่เกิดกับผู้เรียน เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน (ศิริวรรณ ฉัตรมณี รุ่งเจริญ และวรางคณา ทองนพคุณ. 2556 : 1-3) สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนา เยาวชนของชาติเข้าสู่โลกศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิด วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยีสามารถทางานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 : 2) จึงเกิดการปฏิรูปการศึกษาของไทยอย่างต่อเนื่องภายใต้กฎหมายการศึกษา หลักพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 มีความต้องการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญมากที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาศักยภาพ ส่วนการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้เน้นให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดเนื้อหา สาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อปูองกันและแก้ไข
  • 5. 5 ปัญหา และจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติ ให้ทาได้ คิดเป็น รักการอ่านและใฝุ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ในส่วนของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นั้นต้องให้เกิดทั้งความรู้ ทักษะ และเจตคติด้าน วิทยาศาสตร์รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลยั่งยืน(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.2542 : 1- 8) จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2542 ในช่วงระยะ 6 ปีที่ผ่านมา (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2546ก, 2546ข, 2548ก, 2548ข ; สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2547 ; สานักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, 2548 ; สุวิมล ว่องวา นิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, 2547; Nutravong, 2002; Kittsunthorn, 2003, อ้างถึงในกระทรวงศึกษาธิการ 2552 : 1) และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 จึงได้มี การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มี ความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ กาหนดจุดหมายไว้ 5 ประการ ดังนี้ 1) มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฎิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการ สื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต 3) มีสุขภาพกายและสุขภาพที่ดี มีสุขนิสัยและรัก การออกกาลังกาย 4) มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 4) มีความรักชาติ มีจิตสานึก ในความเป็นพลเมืองและพลโลก 5) มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข โดยมุ่งหวังพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้จะ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในส่วน ของความสามารถในการคิดนั้นเป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม มีการพัฒนาอย่างสมดุลโดยคานึงถึงหลักการพัฒนาทางสมองและพหุ ปัญญา และกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และ ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนรู้วิทยาศาสตร์เน้นการเชื่อมโยง ความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลายให้กับผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือ ปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552 : 2-13) วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุกคนทั้ง ในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพต่างๆ ตลอดจนเทคโนโลยีเครื่องมือ เครื่องใช้และผลผลิตต่างๆ ที่มนุษย์ได้ใช้ เพื่ออานวยความสะดวกในชีวิตและการงาน ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์ และศาสตร์อื่นๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิดทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถ
  • 6. 6 ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมันใหม่ ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based society) ทุกคนจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนาความรู้ไปใช้อย่างมี เหตุผล สร้างสรรค์ มีคุณธรรม (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2551 : 1) เป็นที่น่าสังเกตว่า ประเทศใน โลกที่สามที่เจริญก้าวหน้าไปได้ดี มักจะมีนโยบายวิทยาศาสตร์ที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม และตัวบ่งชี้ที่วัดและ เปรียบเทียบได้ เช่น จานวนนักวิทยาศาสตร์ต่อประชากรพันคน งบประมาณวิจัยค้นคว้า วิทยาศาสตร์เป็น เปอร์เซ็นต์ของผลิตผลรวมมวล ฯลฯ แต่บางประเทศกลับมีนโยบายที่หน่วงเหนี่ยววิทยาศาสตร์ เป็นต้น ว่านโยบาย ที่แบ่งวิทยาศาสตร์ออกเป็นสองประเภท คือประเภทที่มีบทบาทในการพัฒนาประเทศ และประเทศที่ไม่มีบทบาท ในการพัฒนาประเทศ และรวมการพัฒนาวิทยาศาสตร์มูลฐาน เช่น คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี หรือแม้แต่ ชีววิทยา เข้าไว้ในประเภทหลัง หลักสูตรการเรียนการสอนในปัจจุบันของประเทศต่างๆ แม้แต่ประเทศเพื่อนบ้าน ได้มุ่งไปที่ Knowledge curriculum คาว่า Knowledge ในที่นี้หมายถึงสิ่งที่เรียนรู้ ที่สามารถเปลี่ยนไป ให้มีมูลค่าทาง เศรษฐกิจ หากสิ่งที่เรียนรู้เปลี่ยนไป ให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจไม่ได้ ก็จะไม่นับเป็นความรู้ ดังนั้น หลักการสาคัญของ การเรียนรู้ คือการเปลี่ยนสิ่งเรียนรู้ให้มีประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นให้ได้ ดังนั้น ได้มีผู้เสนอแนะว่า การเรียนรู้ทาง วิทยาศาสตร์ ควรจะเริ่มด้วยการใช้ประโยชน์ก่อน และเข้าสู่ทฤษฎีภายหลัง หรืออย่างน้อยผู้สอนน่าจะสอนในสิ่งที่ ผู้เรียนรู้ว่า สิ่งที่เรียนมีหรือจะให้ประโยชน์ แก่นักเรียนอย่างไรบ้าง ในขณะที่ประเทศไทยกาลังพูดถึง Quantum economy ซึ่งการพัฒนา nano computer และนักฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ในอนาคตจะมีลักษณะใกล้เคียงกันเข้าไป ยิ่งขึ้น (เฉลียว มณีเลิศ. 2557 : 1) รัฐต้องเร่งรัดและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประกอบ กันองค์การยูเนสโกในปี 2000 ได้ออกมาเสนอให้พลโลกรู้วิทยาศาสตร์อย่างเพียงพอเพื่อการดารงชีวิตอย่างเป็น สุขและปลอดภัยในโลกยุคโลกาภิวัฒน์ การพัฒนาให้ทุกคนรู้วิทยาศาสตร์จึงมีความสาคัญในการดารงชีวิต ช่วยเพิ่ม ขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจ (หัสชัย สิทธิรักษ์. 2551) ดังนั้น วิทยาศาสตร์จึงเป็นวัฒนธรรมของโลก สมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ การบูรณาการความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ สอดคล้องกับเน้นให้ ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ควบคู่ไปพร้อมกับการพัฒนาการทางความคิดในระดับสูง อันจะส่งผล ต่อการพัฒนาความคิดที่มีเหตุผล สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นทักษะสาคัญในการ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มิได้มุ่งเฉพาะตัวเนื้อหาความรู้แต่มีความหมายครอบคลุมไปถึงกระบวนการ แสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์อีกด้วย นั่นคือ ผู้เรียนต้องได้รับผลผลิตทั้งเนื้อหาความรู้และปลูกฝังกระบวนการ แสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในเวลาเดียวกัน (วรรณทิพา รอดแรงค้า. 2544 : ค) เพื่อให้เกิดทักษะการเรียนรู้ ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านพุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัย และด้านจิตพิสัย ผู้เรียนต้องได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการเป็นผู้คิดลง ปฏิบัติ ศึกษาค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยกิจกรรมหลากหลาย ทั้งการทากิจกรรมภาคสนาม การสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ การทดลองในห้องปฎิบัติการ การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิการเรียนรู้ของ ผู้เรียนจะเกิดขึ้นระหว่างที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมผ่านการทากิจกรรมเหล่านั้นจึงจะมีความสามารถในการแก้ปัญหาด้วย วิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้พัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2547 : 9-10) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กาหนดไว้ว่าสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งให้มีการ นาความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ผู้เรียนต้องอาศัยความรู้ที่หลากหลาย
  • 7. 7 เป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองไปสู่เปูาหมายของหลักสูตร สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นสาระที่มีกระบวนการ และขั้นตอนในการศึกษาประเด็นวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในชั้นเรียน มักต้องมีการคิด วิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ เป็นหลัก โดยจะเริ่มจากการทาความเข้าใจประเด็นปัญหาหรือคาถาม โดยที่เด็กต้องทา ความเข้าใจกับสถานการณ์นั้นอย่างถ่องแท้ มักจะเริ่มด้วยการคิดวิเคราะห์ว่ามีองค์ประกอบใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับ สถานการณ์นั้น ๆ ไม่เพียงแต่ความรู้ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน การพัฒนาและปลูกฝังทักษะการคิดวิเคราะห์ให้เด็กจะ สามารถทาให้เกิดความเข้าใจเรื่องราวที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน และใช้ความเป็นเหตุและผลในการตัดสินใจ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อีกด้วย (กระทรวงศึกษาธิการ 2551 : 4-21) การสอนจึงเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งในยุค ปฏิรูปการศึกษาการดาเนินชีวิตที่ประสบความสุข ความสาเร็จ เป็นผลมาจากประสิทธิภาพของการคิดกลวิธี และ ทักษะกระบวนการคิดในลักษณะต่างๆ การคิดเป็นกลไกที่สาคัญอย่างอย่างยิ่งในการพัฒนาความสามารถทางสมอง การฝึกทักษะการคิดและกระบวนการคิดจึงเป็นปัจจัยที่สาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาสติปัญญาของเด็กเพื่อจะได้ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข. (2548 : 22) ; สมนึก ภัททิยธนี, จุฑาทิพย์ ชาติสุวรรณ์ และวิภาดา คาดี (2548 : 2) กล่าวถึง การคิดอย่างมีวิจารณญาณไว้ว่า เป็นความคิดประเภทหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเป็นเครื่องมือสาหรับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องได้ด้วยตนเอง อีกทั้งเป็นความคิดที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ใช้ในการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบโดยอาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์เพื่อนาไปสู่ข้อสรุปที่ สมเหตุสมผล ดังนั้น การคิดอย่างมีวิจารณญาณส่งผลให้สามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาโดยการใช้เหตุผลอย่าง ถูกต้องเหมาะสมช่วยให้สามารถยืนหยัดได้อย่างมั่นคงในโลกปัจจุบันและอนาคต จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนสนใจที่จะนารูปแบบการสอนทฤษฎีกระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบ DRU Modle (NKK) เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มาใช้แก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และมีกระบวนการคิดอย่างมีระบบ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนระดับสูงและการดารงชีวิตประจาวันต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะการ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3. เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4. เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
  • 8. 8 4.1 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4.2 เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดแบบมีวิจารณญาณ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4.3 เพื่อประเมินจิตวิทยาศาสตร์ หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อ เสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4.4 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อ เสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ความสมมติฐานการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้าง ทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและจิตวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน หลังการใช้สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนา ผู้วิจัยกาหนดขอบเขตของการวิจัย ดังนี้ ตัวแปรในการศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ คือรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1.1 ขั้นที่ 1 เตรียมความพร้อมผู้เรียน (Prepare learners) 1.2 ขั้นที่ 2 ปรับเปลี่ยนความคิด (Turning ideas) 1.3 ขั้นที่ 3 เรียนรู้สิ่งใหม่ (Learn something new) 1.4 ขั้นที่ 4 ประยุกต์ใช้ความรู้ (Application of Knowledge) 1.5 ขั้นที่ 5 เติมเต็มประสบการณ์ (Complement the experience) 2. ตัวแปรตาม คือผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนหลังการใช้รูปแบบ DRU MODEL (NKK) การจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มี 4 ด้านประกอบด้วย 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
  • 9. 9 2.2 ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.3 จิตวิทยาศาสตร์ 2.4 ความพึงพอใจ ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 1 ห้อง โรงเรียนพระยามน ธาตุราชศรีพิจิตร์ เขตบางบอน สังกัดกรุงเทพมหานคร นักเรียน 42 คน ปีการศึกษา 2559 ที่มีพฤติกรรมไม่เข้า เรียน 2. กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 1 ห้อง โรงเรียนพระยามน ธาตุราชศรีพิจิตร์ เขตบางบอน สังกัดกรุงเทพมหานคร นักเรียน 42 คนปีการศึกษา 2559 ได้มาโดยการสุ่มอย่าง ง่าย โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม ขอบเขตด้านระยะเวลาการศึกษาวิจัย ดาเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 วันที่ 9-20 มกราคม 2560 นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย 1. รูปแบบการสอน หมายถึงแบบแผนการดาเนินการจัดกิจกรรมการการเรียนการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยอาศัยทฤษฏีกระบวนการจัดการเรียนรู้ DRO MODEL (NKK) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 N (Need for Learning) = ความต้องการของนักเรียน -----> K P A ขั้นที่ 2 K (Knowledge by Network) = ความรู้ผ่านเครือข่าย -----> CN SN AN - CN เรียนรู้ผ่าน PPTX,E-book,ใบความรู้ - SN กลวิธีในการเรียนรู้ 1) ระดมสมองแบ่งงานตามความสามารถ 2) ทางานตามความสามารถ - AN สอบถามจาก เพื่อน, ผู้รู้, ผู้เชี่ยวชาญ ขั้นที่ 3 K (Knowledge and do Audit) = ตรวจสอบความรู้ตนเอง -----> ตรวจสอบ K P A 2. ความรู้ คือ ความเข้าใจในเรื่องบรรยากาศ จดจาในสิ่งที่เรียนไปและนาความรู้เรื่องบรรยากาศไปใช้ ประโยชน์ เป็นความสามารถทางสติปัญญาในการขยายความรู้ ความจา ให้กว้างออกไปจากเดิมอย่างสมเหตุสมผล และความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิ่งใดสิ่งหนึ่ง 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนของผู้เรียนที่ได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องบรรยากาศ ทาการทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียนตามกิจกรรมการเรียนการสอนใน รูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 4. จิตวิยาศาสตร์ (Science mind) หมายถึง จิตสานึกของบุคคลที่ก่อให้เกิดเป็นลักษณะนิสัยหรือ ความรู้สึกทางจิตใจของบุคคลที่เกิดการศึกษาความรู้หรือการเรียนรู้ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย 4.1 ความสนใจใฝุรู้ หมายถึง คุณลักษณะของบุคคลที่มีความพยายามจะเผชิญสืบเสาะแสวงหาความรู้ ในสถานการณ์ใหม่ๆซึ่งไม่สามารถอธิบายด้วยความรู้ที่ทีอยู่เดิม และค้นหาความรู้เพื่อตอบปัญหาซึ่งมีความ ปรารถนาที่จะได้ความรู้ที่สมบูรณ์ ซึ้งมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้
  • 10. 10 4.1.1 มีปัญหาเกิดขึ้นต่อเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นและพยายามหาคาตอบนั้นให้สมบูรณ์โดยการ ซักถาม สนทนา ฟัง อ่าน เพื่อให้ได้ความรู้ที่สมบูรณ์ 4.1.2 มีการศึกษาค้นคว้าเพื่อทาความเข้าใจสถานการณ์ใหม่ๆ ซึ่งไม่สามารถอธิบายได้ด้วย ความรู้ที่มีอยู่เดิม 4.1.3 ชอบสืบเสาะ ทดลอง พิสูจน์แนวคิดแปลกใหม่ 4.1.4 มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรม และเรื่องใหม่ 4.2 ความรับผิดชอบ มุ่งมั่น อดทน และเพียรพยายาม หมายถึง คุณลักษณะของบุคคลที่สามารถ ดาเนินการทากิจกรรมในการแก้ปัญหาจนถึงที่สุดจนกว่าจะได้รับคาตอบที่น่าเชื่อถือได้และยอมรับผลการกระทา ของตนเองทั้งเป็นผลดี และผลเสียซึ่งมีลักษณะและพฤติกรรมดังต่อไปนี้ 4.2.1 มีความเต็มใจที่ค้นหาคาตอบโดยการพิสูจน์ ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์แม้มีปัญหาและ อุปสรรต่าง ๆ 4.2.2 มีความเต็มใจที่จะทาการทดลองซ้า ๆ หลายครั้งเพื่อค้นหาคาตอบที่น่าเชื่อถือที่สุด 4.2.3 ทางานที่รับผิดชอบมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ 4.2.4 ทางานที่มอบหมายให้เสร็จสมบูรณ์ตามที่กาหนด และตรงต่อเวลา 4.2.5 ไม่ท้อถอยในการทางาน เมื่อมีอุปสรรคหรือล้มเหลว 4.2.6 มีความอดทน แม้การดาเนินการแก้ปัญหาจะยุ่งยากและใช้เวลา 4.2.7 ยอมรับผลการกระทาของตนเองทั้งที่เป็นผลดีและผลเสีย 4.3 ความมีระเบียบและรอบคอบ หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่มีการทางานเป็นระเบียบรอบคอบ จัดระบบการทางานใช้วิธีการศึกษาหลายวิธีในการตรวจสอบผลการทดลองไตร่ตรอง จัดระบบการทางานก่อน ตัดสินใจสรุปมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้ 4.3.1 เห็นคุณค่าของความมีระเบียบและรอบคอบ 4.3.2 นาวิธีการหลายๆ วิธีมาตรวจสอบผลหรือวิธีการทดลอง 4.3.3 มีการใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พินิจพิเคราะห์ ก่อนในการตัดสินใจสรุปหรือเชื่อในสิ่งต่างๆ 4.3.4 มีความละเอียด ถี่ถ้วนในการทางาน 4.3.5 มีการวางแผนการทางานและจัดระบบการทางาน 4.3.6 ตรวจสอบความเรียบร้อย หรือคุณภาพเครื่องมือก่อนทาการทดลอง 4.3.7 ทางานอย่างเป็นระเบียบเรียนร้อย 4.4 ความมีเหตุผล หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่มียอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานและข้อมูล อย่างพอก่อนสรุปผล ชอบพิจารณาหาสาเหตุของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะพฤติกรรมดังนี้ 4.4.1 เห็นคุณคุณค่าในการเหตุผลในเรื่องต่าง ๆ 4.4.2 ไม่เชื่อโชครางหรือคาทานายที่ไม่สามารถอธิบายได้ตามวิธีของวิทยาศาสตร์ แต่พยายาม สิ่งต่าง ๆ ในแง่มุมของเหตุผล 4.4.3 หาความสัมพันธ์ของเหตุและผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 4.4.4 อธิบายหรือแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
  • 11. 11 4.4.5 ตรวจความถูกต้องหรือความสมเหตุผลของแนวคิดต่าง ๆ กับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้เสาะ แสวงหาหลักฐานหรือข้อมูลจากการสังเกตหรือทดลองเพื่อสนับสนุนหรือค้นหาคาตอบ 4.4.6 เสาะแสวหาหลักฐานหรือข้อมูลจากการสังเกตหรือทดลองเพื่อสนับสนุนหรือค้นหา คาตอบ 4.4.7 ยอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือข้อมูลสนับสนุนอย่างเพียงพอ 4.4.8 มีความต้องการเคารพในเหตุผลซึ่งกันและกัน 4.5 ความใจกว้าง หมายถึง คุณลักษณะของบุคคลหรือแสดงถึงการมีจิตใจกว้างขวางเต็มใจที่จะ เปลี่ยนแปลงความคิดเห็นของตนยอมรับฟังความคิดเห็นหรือวิพากษ์วิจารณ์ข้อโต้แย้งของคนอื่น เปลี่ยนความ คิดเห็นของตนเอง เมื่อมีหลีกฐานที่ดีกว่า ซึ่งมีพฤติกรรมดังนี้ 4.5.1 รับฟัง วิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้แย้ง หรือข้อคิดเห็นของผู้อื่น 4.5.2 ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยใจเป็นธรรม 4.5.3 ยอมรับความคิดเห็นหรือวิธีการที่แปลกใหม่ 4.5.4 เต็มใจที่จะเปลี่ยนแนวคิดหรือแนวปฏิบัติเมื่อได้ข้อมูลหรือหลักฐานใหม่ๆที่เชื่อถือได้ มากกว่าหรือถูกต้องกว่า 4.5.5 ยอมพิจารณาข้อมูลหรือข้อคิดเห็นที่ยงสรุปไม่ได้และพร้อมที่จะหาข้อมูลเพิ่มเติม 4.6 ความซื่อสัตย์ หมายถึงคุณลักษณะของบุคคลที่ต้องการความถูกต้องในการรายงานการศึกษาโดย ปราศจากอคติ ความรู้สึกส่วนตัวหรืออิทธิพลจากสิ่งต่างๆซึ่งมีพฤติกรรมดังนี้ 4.6.1 เห็นคุณค่าการนาเสนอข้อมูลตามความเป็นจริง 4.6.2 นาเสนอความเป็นจริงของตนเองถึงแม้จะมีผลที่มีความแตกต่างจากคนอื่นก็ตาม 4.6.3 บันทึกข้อมูลตามความเป็นจริงและไม่ใช้ความรู้สึกของตนเองมากเกี่ยวข้อง 4.6.4 ไม่แอบอ้างผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตนเอง 4.6.5 ไม่เอาอิทธิพลของความเชื่อมาให้เหนือการตัดสินใจใด ๆ ในทางวิทยาศาสตร์ 4.6.6 ไม่นาสภาพทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองมาเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงความหมาย ข้อมูล 5. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากรูปแบบการ สอนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์เรื่องดินและหิน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ต่อนักเรียน 1.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นส่งผล ต่อระดับผลสัมฤทธิ์รวมของโรงเรียนสูงขึ้น 1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีทักษะการคิดขั้นสูง ส่งผลให้ สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้ 1.3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีคุณลักษณะด้านการมุ่งมั่นในการเรียนรู้ ใฝุเรียนรู้ มีวินัย และมีจิตสาธารณะ สามารถช่วยเหลือสังคมได้
  • 12. 12 2. ต่อครูผู้สอน 2.1 ได้นานวัตกรรมรูปแบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิผลสูงกว่า 0.5 สามารถไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ 2.2 เป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในการพัฒนารูปแบบการสอน สาหรับพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการคิด 2.3 เป็นแนวทางให้ครูผู้สอนในกลุ่มสาระอื่นๆและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนในการออกแบบพัฒนารูปแบบการสอน สาหรับการพัฒนาการสอนสาหรับพัฒนาผลสมฤทธิ์ทางการเรียนและ ทักษะการคิด 3. ต่อผู้บริหาร 3.1 การบริหารบุคลากรในสถานศึกษา ทาให้ได้บุคลากรที่มีผลงานด้านการสร้างและพัฒนา นวัตกรรมสาหรับการจัดการเรียนการสอน 3.2 การบริหารจักการเรียนการสอน ทาให้โรงเรียนมีสื่อนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย จากแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยงข้องกับการรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องดินและหิน สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สรุปกรอบแนวคิด ทฤษฎีได้ดังแผนภาพที่ 1
  • 14. 14 บทที่2 วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณและจิตวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ดินและหิน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาตาราง เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสาระสาคัญเสนอตามลาดับ ดังนี้ ตอนที่ 1 หลักสูตรการศึกษา 1.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 1.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตอนที่ 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 การวิจัยและพัฒนา 2.2 จิตวิทยาการศึกษา 2.3 เจตคติ (Attitude) 2.4 ทฤษฎีแรงจูงใจ 2.5 ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไขแบบแบบการกระทาของสกินเนอร์ ตอนที่ 1 หลักสูตรการจักการศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ให้เป็นหลักสูตร แกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเปูาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก จึงได้ ปรับได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและ สถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ และความต้องการของ ท้องถิ่น จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2542 ที่ผ่านมาประกอบกับข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 เกี่ยวกับแนวทางการ พัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุค ศตวรรษที่ 21 จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 มีความเมาะสมชัดเจน ทั้ง เปูาหมายของหลักสูตรในการพัฒนาผู้เรียนและกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา โดยได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากนั้นได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่าของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ในหลักสูตร แกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับ กระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทาง การศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชัดเจนต่อการนาไปปฏิบัติ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551) รายละเอียดดังนี้
  • 15. 15 1. วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็น มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่น ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบน พื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ 2. หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้ 1) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเปูาหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย ควบคู่กับความเป็นสากล 2) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ 3) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้ สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการ เรียนรู้ 5) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 6) เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเปูาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ 3. จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มี ศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้น พื้นฐาน ดังนี้ 1) มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะ ชีวิต 3) มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย 4) มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5) มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ 4.1 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ สาคัญ 5 ประการ ดังนี้
  • 16. 16 1) ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ ปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม 4.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและ พลโลก ดังนี้ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2) ซื่อสัตย์สุจริต 3) มีวินัย 4) ใฝุเรียนรู้ 5) อยู่อย่างพอเพียง 6) มุ่งมั่นในการทางาน 7) รักความเป็นไทย 8) มีจิตสาธารณะ นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตาม บริบทและจุดเน้นของตนเอง 5. มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและ พหุปัญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้