SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
Télécharger pour lire hors ligne
1




                  หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ๑    สองพี ่ น ้ อ ง


                                                                 เวลา     ๑๐
           ผั ง มโนทั ศ น์ เ ป้ า หมายการเรี ย นรู ้ แ ละขอบข่ า ยภาระ
     งาน



                         ความรู ้
                         การจับใจความสำาคัญจากเรื่องที่ฟัง
                         การอ่านเรื่อง สองพี่น้อง
                         การอ่านคำาที่มีตัวสะกดแม่ ก กา แม่
                         กน และแม่กด
                         การอ่านคำาที่ออกเสียง ร ล
                         การอ่านคำาที่ออกเสียงอะ
                         การพูดแนะนำาตนเองและการพูด
                         สนทนา
                         การผันอักษรสามหมู่




ภาระงาน/ชิ ้ น งาน
ทำาแบบทดสอบ
อ่านออกเสียงและการ                                              ทั ก ษะ/กระบวนการ
อ่านจับใจความ                                                   กระบวนการฟัง
อ่านบทร้อยกรอง                                                  กระบวนการดู
คัดลายมือ                                                       กระบวนการพูด
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง                สองพี ่ น ้                กระบวนการอ่าน
เขียนย่อความ                                                    กระบวนการเขียน
แต่งคำาขวัญหรือบทร้อย                                           กระบวนการคิด
กรอง                                                            วิเคราะห์
พูดแนะนำาตัวและพูด                                              กระบวนการกลุ่ม
สนทนา
ผันอักษรสามหมู่
ทำาใบงาน




                      คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และค่ า นิ ย ม
                      มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
                      มีมารยาทในการอ่าน และนิสัยรักการ
                      อ่าน
                      มีมารยาทในการเขียน และนิสัยรัก
                      การเขียน
                      มีความสนใจในการเรียนภาษาไทย
2




                        ผั ง การออกแบบการจั ด การ
                                  เรี ย นรู ้

 ขั ้ น ที ่ ๑ ผลลั พ ธ์ ป ลายทางที ่ ต ้ อ งการให้ เ กิ ด ขึ ้ น กั บ นั ก เรี ย น
 ตั ว ชี ้ ว ั ด ชั ้ น ปี
        ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑
(ป. ๔/๑)
        ๒. อธิบายความหมายของคำา ประโยค และสำานวนจากเรื่องที่
อ่าน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒)
        ๓. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ ท
๑.๑ (ป. ๔/๕)
        ๔. มีมารยาทในการอ่าน ท ๑.๑ (ป. ๔/๘)
        ๕. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ท ๒.๑ (ป.
๔/๑)
        ๖. เขียนย่อความจากเรื่องสั้น ๆ ท ๒.๑ (ป. ๔/๔)
        ๗. จำาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู ท ๓.๑
(ป. ๔/๑)
        ๘. พูดสรุปความจากการฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๒)
        ๙. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่
ฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๓)
        ๑๐. ตังคำาถามและตอบคำาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู ท
                  ้
๓.๑ (ป. ๔/๔)
        ๑๑. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู
และการสนทนา
              ท ๓.๑ (ป. ๔/๕)
        ๑๒. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
        ๑๓. สะกดคำาและบอกความหมายของคำาในบริบทต่าง ๆ ท ๔.๑
(ป. ๔/๑)
        ๑๔. ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำา ท ๔.๑ (ป. ๔/๓)
        ๑๕. แต่งบทร้อยกรองและคำาขวัญ ท ๔.๑ (ป. ๔/๕)
        ๑๖. ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม ท ๕.๑ (ป.
๔/๑)
        ๑๗. อธิบายข้อคิดในการอ่านเพื่อนำาไปใช้ในชีวิตจริง ท ๕.๑
(ป. ๔/๒)
 ความเข้ า ใจที ่ ค งทนของ                 คำ า ถามสำ า คั ญ ที ่ ท ำ า ให้ เ กิ ด
นั ก เรี ย น                            ความเข้ า ใจที ่ ค งทน
 นั ก เรี ย นจะเข้ า ใจว่ า ...
    1. การอ่านและการฟัง เป็น                 1. ข้อคิดหรือประโยชน์ที่ได้
3

          ทักษะที่จะต้องฝึกฝนอย่าง             จากการฟังหรือการอ่าน
          สมำ่าเสมอจึงจะเกิดความ               เรื่อง สองพี่น้อง มีอะไรบ้าง
          ชำานาญ                           2. การอ่านหรือการเขียนสะกด
      2. มาตราแม่ ก กา เป็นคำาที่              คำาไม่ถูกต้องจะเกิดผลอย่าง
          ประสม                                ไรบ้าง
         พยัญชนะและสระไม่มีตัว             3. คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น
      สะกด                                     อ่านแตกต่างกันหรือไม่
      3. มาตราแม่กน เป็นคำาที่อ่าน             อย่างไร
          ออกเสียง                         4. คำาที่ประวิสรรชนีย์กับคำาที่
         เหมือนมี น สะกด
      4. มาตราแม่ กด เป็นคำาที่อ่าน            ไม่ประ-วิสรรชนีย์มีวิธีการ
          ออกเสียงเหมือนมี ด สะกด              อ่านแตกต่างกันอย่างไร
      5. คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น       5. คำาพูดลักษณะใดที่เหมาะ
          การอ่านออกเสียงจะอ่าน                สมในการพูดสนทนา
          แตกต่างกัน สังเกตจาก             6. การพูดแนะนำาตัวควรพูด
          ตำาแหน่งของการกระดกลิ้น              อย่างไร
      6. คำาที่ออกเสียง อะ มี ๒ อย่าง
          คือ
         คำาที่ประวิสรรชนีย์ กับคำาที่     7. การผันอักษรสามหมู่จะต้อง
ไม่ประ                                         คำานึงถึงอะไรบ้าง และมีหลัก
        วิสรรชนีย์                             การผันอย่างไร
      7. การพูดแนะนำาตัวและการ
          พูดสนทนา
         จะต้องใช้ภาษาที่สุภาพ
      เหมาะสมกับ
         บุคคลและสถานการณ์
      8. อักษรสามหมู่ แบ่งออกเป็น
          อักษร
         กลาง อักษรสูง อักษรตำ่า
 ความรู ้ ข องนั ก เรี ย นที ่ น ำ า ไป  ทั ก ษะ/ความสามารถของ
สู ่ ค วามเข้ า ใจที ่                  นั ก เรี ย นที ่ น ำ า ไปสู ่
 คงทน นั ก เรี ย นจะรู ้ ว ่ า ...       ความเข้ า ใจที ่ ค งทน
     ๑. คำาสำาคัญ ได้แก่ กระแทก กิ่ง นั ก เรี ย นจะสามารถ...
     ไผ่ สัญญา                             1. บอกใจความสำาคัญและสรุป
        สามัคคี                               ข้อคิดจากเรื่องที่อ่านหรือฟัง
     ๒. การฟังเรื่องราว ผู้ฟังจะต้อง       2. อภิปรายแสดงความคิดเห็น
     จับใจความ                                เกี่ยวกับข้อคิดและคุณธรรม
        สำาคัญของเรื่องให้ได้ เพื่อจะ         จากเรื่องที่อ่านหรือฟัง
     ได้นำาไป
        ถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูก      3. บอกวิธีการนำาข้อคิดที่ได้
     ต้อง                                     จากเรื่องไปประยุกต์ใช้ใน
     3. การอ่านเรื่องราวต่าง ๆ ผู้            ชีวิตประจำาวัน
         อ่านจะต้อง จับใจความ              4. อ่านและเขียนคำาที่สะกดด้วย
         สำาคัญ สรุปความ วิเคราะห์            แม่ ก กา แม่กน และแม่กด
         เนื้อหาและบอกข้อคิดของ            5. อ่านและเขียนคำาที่มี ร ล เป็น
         เรื่องให้ได้
                                              พยัญชนะต้น
     4. คำาที่มีตัวสะกดแม่ ก กา เป็น
         คำาที่ประสมพยัญชนะและ             6. อ่านและเขียนคำาที่ออกเสียง
         สระที่ไม่มีตัวสะกด                   อะ
     5. คำาที่มี น ญ ณ ร ล ฬ เป็นตัว       7. อธิบายวิธีการพูดแนะนำาตัว
         สะกดเป็นคำาในมาตราแม่กน              และพูดแนะนำาตัวได้ถูกต้อง
                                              ครบถ้วน
     6. คำาที่มี ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ
                                           8. พูดแนะนำาตัวและพูดสนทนา
4

       ต ถ ท ธ ศ ษ ส เป็นตัวสะกด                            เหมาะสมกับบุคคลและ
       เป็นคำาในมาตรา                                       สถานการณ์
      แม่กด                                              9. บอกลักษณะของคำาเป็น
   7. คำาที่มี ร เป็นพยัญชนะต้น                             คำาตาย และผันอักษรสามหมู่
       เวลาอ่านต้องอ่านกระดกลิ้น                            ถูกต้อง
       ส่วนคำาที่มี ล เป็น
      พยัญชนะต้น เวลาอ่านไม่
   ต้องกระดกลิ้น
   8. การอ่านคำาที่ออกเสียง อะ
       อ่านได้ ๒ อย่าง คือ คำาที่มีรูป
       สระ อะ ให้อ่านออกเสียง อะ
       เต็มเสียง คำาที่ไม่มีรูปสระอะ
       ให้อ่านออกเสียง อะ กึ่งเสียง
   9. การพูดแนะนำาตัวเป็นการ
       บอกข้อมูลของตนเองให้ผู้
       อื่นได้รู้จัก
  ๑๐. การพูดสนทนา เป็นการพูด
คุยที่แสดง
     ถึงมิตรไมตรี ควรใช้ภาษาที่
สุภาพให้
     เกียรติซึ่งกันและกัน

   ๑๑. อักษรสามหมู่ผันได้ดังนี้
   อักษรกลาง คำา
       เป็นผันได้ ๕ เสียง คำาตาย
   ผันได้ ๔
       เสียงอักษรสูงคำาเป็นผันได้
   ๓ เสียง คำา
       ตายผันได้ ๒ เสียง อักษรตำ่า
   คำาเป็น ผัน
       ได้ ๓ เสียง คำาตายเสียงสั้น
   ผันได้ ๓
       เสียง คำาตายเสียงยาวผันได้
   ๓ เสียง
ขั ้ น ท ี ่ ๒ ภ า ร ะ ง า น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ผ ล ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ซ ึ ่ ง เ ป ็ น
หลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้
        ต า ม ท ี ่ ก ำา ห น ด ไ ว ้ อ ย ่ า ง แ ท ้ จ ร ิ ง
  1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
    ๑.๑ อ่านออกเสียง จับใจความสำาคัญ บอกข้อคิดของเรื่องที่อ่าน
    ๑.๒ เขียนแผนภาพโครงเรื่องจากเรื่องที่ฟัง
    ๑.๓ เขียนย่อความ
    ๑.๔ แต่งคำาขวัญและบทร้อยกรอง
    ๑.๕ อ่านและเขียนคำาที่มีตัวสะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด
    ๑.๖ อ่านบทร้อยกรอง
    ๑.๗ คัดลายมือ
    ๑.๘ อ่านและเขียนคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น
    ๑.๙ อ่านและเขียนคำาที่ออกเสียง อะ
    ๑.๑๐ ฝึกพูดแนะนำาตัวและพูดสนทนา
    ๑.๑๑ ฝึกผันอักษรสามหมู่
5


 ๒. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้
    ๒.๑ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้            ๒.๒ เครื่องมือประเมินผล
การเรียนรู้
        ๑) การทดสอบ                       ๑) แบบทดสอบก่อนและหลัง
เรียน
        ๒) การสนทนาซักถาม                    ๒) แบบทดสอบการอ่าน
        ๓) การสังเกต                      ๓) แบบประเมินการอ่าน
        ๔) การตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น              ๔) แบบประเมินการ
เขียน
          รายบุคคลหรือรายกลุ่ม               ๕) แบบประเมินการพูด
        ๕) การวัดเจตคติ                    ๖) แบบประเมินด้านคุณธรรม
        ๖) การวัดทักษะ/กระบวนการ                 จริยธรรม และค่านิยม
                                  ๗) แบบประเมินด้านทักษะ/
กระบวนการ
 ๓. สิ่งที่มุ่งประเมิน
    ๓.๑ ความสามารถในการอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ
การประยุกต์ใช้
        ดัดแปลง และนำาไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความ
สำาคัญและใส่ใจ
        ความรู้สึกของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง
    ๓.๒ ทักษะกระบวนการทางภาษา
    ๓.๓ สมรรถนะสำาคัญ ได้แก่ การสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การ
ใช้ทักษะชีวต และการ
               ิ
        ใช้เทคโนโลยี

   ๓.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์
สุจริต มีวินัย ใฝ่
       เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำางาน รักความเป็นไทย มี
จิตสาธารณะ
 ขั ้ น ท ี ่ ๓ แ ผ น ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑                   การจับใจความสำาคัญจากเรื่องที่ฟัง
เวลา ๑ ชัวโมง
         ่
 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒                   การอ่านเรื่อง สองพี่น้อง
เวลา ๒ ชั่วโมง
 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓                   การอ่านคำาที่มีตัวสะกดแม่ ก กา แม่กด
แม่กน เวลา ๑ ชั่วโมง
 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔                   การอ่านคำาที่ออกเสียง ร ล
           เวลา ๑ ชัวโมง
                    ่
 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕                   การอ่านคำาที่ออกเสียง อะ
           เวลา ๑ ชัวโมง
                      ่
 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖                   การพูดแนะนำาตัวและการพูดสนทนา
เวลา ๒ ชั่วโมง
 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗                   การผันอักษร ๓ หมู่
เวลา ๒ ชั่วโมง
6




                     แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ๑
                 การจั บ ใจความสำ า คั ญ จากเรื ่ อ งที ่ ฟ ั ง

    กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้        ภาษาไทย

                                        ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    เวลา ๑ ชั่วโมง

๑. สาระสำ า คั ญ
     การฟังเป็นวิธีการรับสารวิธีหนึ่ง ผู้ที่มีทักษะในการฟังจะต้อง
จับใจความสำาคัญของเรื่องที่ฟังได้ครบถ้วน และสามารถนำามา
ถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้

๒. ตั ว ชี ้ ว ั ด ชั ้ น ปี
      ๑. จำาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู ท ๓.๑
(ป. ๔/๑)
7


        ๒. พูดสรุปความจากการฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๒)
        ๓. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
        ๔. ตังคำาถามและตอบคำาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู ท
             ้
  ๓.๑ (ป. ๔/๔)
        ๕. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
  และดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๓)

  ๓ . จุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
          ๑. ฟังเรื่องราวแล้ว สามารถจับใจความสำาคัญ และตอบคำาถาม
  จากเรื่องได้ (K)
          ๒. เขียนแผนภาพโครงเรื่องจากเรื่องที่ฟังได้ (P)
          ๓. เล่าเรื่องถ่ายทอดประสบการณ์โดยใช้ถ้อยคำาสุภาพและเหมาะ
  สมกับเรื่องได้ (P)
          ๔. บอกข้อคิดที่ได้จากนิทานเทียบสุภาษิต (K, P)
          ๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด (A)

  ๔ . การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

                           ด้ า นคุ ณ ธรรม
                                                    ด้ า นทั ก ษะและ
ด้ า นความรู ้ (K)              จริ ย ธรรม
                                                    กระบวนการ (P)
                          และค่ า นิ ย ม (A)
๑. สังเกตการตอบ      ๑. ประเมินพฤติกรรมใน       ๑. ประเมินทักษะการฟัง
คำาถาม                   การทำางาน              และการดู
๒. ตรวจผลการทำา       เป็นรายบุคคลในด้าน        ๒. ประเมินทักษะการพูด
กิจกรรม                  ความสนใจ               เล่าเรื่อง
                      และตังใจเรียน ความรับ
                              ้
๓. ตรวจแบบ               ผิดชอบ                 ๓. ประเมินทักษะการ
ทดสอบก่อน             ในการทำากิจกรรม ความ      เขียนแผนภาพ
  และหลังเรียน           มีระเบียบ                โครงเรื่อง
                      วินัยในการทำางาน ฯลฯ      ๔. ประเมินทักษะ
                     ๒. ประเมินมารยาทในการ      กระบวนการคิด
                        ฟังและการดู

  ๕ . สาระการเรียนรู้
    การจับใจความสำาคัญจากเรื่องที่ฟัง

  ๖. แนวทางบูรณาการ
     คณิตศาสตร์                  เขียนแผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง
  สองพี่น้อง
     สังคมศึกษาฯ                 อ่านและศึกษานิทานเทียบสุภาษิตที่มี
  ข้อคิดเดียวกับเรื่อง สองพี่น้อง
     ภาษาต่างประเทศ              อ่านและเขียนคำาศัพท์เกี่ยวกับตัวละคร
  ในเรื่อง
8



๗. กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้
ขั ้ น ที ่ ๑ ขั ้ น นำ า เข้ า สู ่ บ ทเรี ย น
         ๑. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน
         ๒. นักเรียนดูภาพจากเรื่อง สองพี่น้อง แล้วร่วมกันสนทนาเกี่ยว
กับภาพ
                   ๑) ภาพที่ดูเป็นภาพอะไร
                   ๒) ตัวละครในภาพมีใครบ้าง
                   ๓) เรื่องราวในภาพน่าจะเป็นอย่างไร
ขั ้ น ที ่ ๒ กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้
         ๑. นักเรียนฟังเรื่อง สองพี่น้อง จากแถบบันทึกเสียงหรือครูอ่าน
ให้ฟัง ๒ ครั้งเพื่อให้นักเรียน
             จับใจความได้มากขึ้น
         ๒. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง ตามแนวคำาถามต่อไปนี้
                   ๑) เป็นเรื่องอะไร
                   ๒) ตัวละครมีใครบ้าง
                   ๓) เหตุการณ์เกิดขึ้นที่ไหน
                   ๔) เหตุการณ์เกิดขึ้นเมื่อไร
                   ๕) เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นบ้าง
                   ๖) ผลเป็นอย่างไร
                   ๗) มีข้อคิดอะไรบ้าง
         ๓. นักเรียนนำาคำาตอบจากข้อ ๒ มาเขียนเป็นแผนภาพโครงเรื่อง
     โดยนักเรียนช่วยกันบอกให้
             ครูเขียนบนกระดาน แล้วนักเรียนช่วยกันเล่าเรื่องตาม
     แผนภาพโครงเรื่อง
ขั ้ น ที ่ ๓ ฝึ ก ฝนผู ้ เ รี ย น
         ๑. นักเรียนทำากิจกรรมเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง สองพี่น้อง แล้วช่วยกัน
     เฉลยคำาตอบ
         ๒. นักเรียนอ่านนิทานเทียบสุภาษิต หรือนิทานคติธรรมที่มีข้อคิด
เกี่ยวกับเรื่องความสามัคคี
ขั ้ น ที ่ ๔ นำ า ไปใช้
         ๑. นักเรียนเล่าเรื่อง สองพี่นอง ให้เพื่อนหรือผู้ปกครองฟังได้
                                                ้
         ๒. นักเรียนนำาข้อคิดจากเรื่อง สองพี่น้อง ไปเป็นแบบอย่างใน
การปฏิบัติตน
ขั ้ น ที ่ ๕ สรุ ป
         นักเรียนทั้งชั้นช่วยกันเล่าเรื่อง สองพี่น้อง ตามที่ได้ฟัง


๘. กิ จ กรรมเสนอแนะ
        นักเรียนศึกษาค้นคว้านิทานเทียบสุภาษิตเรื่องอื่น ๆ มาเล่าถ่ายทอด
ให้เพื่อนฟัง

๙. สื ่ อ /แหล่ ง การเรี ย นรู ้
9


      ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน
      ๒. รูปภาพ
      ๓. แถบบันทึกเสียง
      ๔. สื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔
                                              ้
เล่ม ๑ บริษัท สำานักพิมพ์
         วัฒนาพานิช จำากัด
      ๕. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔
                                                ้
บริษัท สำานักพิมพ์
         วัฒนาพานิช จำากัด
      ๖. แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บริษัท สำานักพิมพ์
         วัฒนาพานิช จำากัด

๑ ๐ . บั น ท ึ ก ห ล ั ง ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้



      ๑. ความสำาเร็จในการจัดการเรียนรู้
         แนวทางการพัฒนา
      ๒. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
       แนวทางแก้ไข
      ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน
        เหตุผล
      ๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้
                                        ลงชื่อ               ผู้สอน




                          แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
                           การอ่านเรื่อง สองพี่น้อง
10



   กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้   ภาษาไทย

                                ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๒
   ชั่วโมง

๑ . สา ร ะ ส ำา ค ั ญ
      การอ่านเป็นการฝึกทักษะทางภาษา ผู้ที่อ่านอย่างงสมำ่าเสมอจะ
อ่านได้คล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของถ้อยคำาสำานวนภาษา จับใจ
ความ สรุปความ และวิเคราะห์เรื่องที่อ่านได้ดี และมีความรู้อย่างกว้าง
ขวาง

๒ . ตั ว ช ี ้ ว ั ด ช ั ้ น ป ี
       ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑
(ป. ๔/๑)
       ๒. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ
ท ๑.๑ (ป. ๔/๕)
       ๓. มีมารยาทในการอ่าน ท ๑.๑ (ป. ๔/๘)
       ๔. เขียนย่อความจากเรื่องสั้น ๆ ท ๒.๑ (ป. ๔/๔)
       ๕. ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำา ท ๔.๑ (ป. ๔/๓)
       ๖. แต่งบทร้อยกรองและคำาขวัญ ท ๔.๑ (ป. ๔/๕)
       ๗. ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม ท ๕.๑ (ป.
๔/๑)
       ๘. อธิบายข้อคิดในการอ่านเพื่อนำาไปใช้ในชีวิตจริง ท ๕.๑ (ป.
๔/๒)

๓ . จุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
    1. อ่านเรื่องราวแล้วสามารถจับใจความสำาคัญและสรุปข้อคิดจาก
        เรื่องที่อ่านได้ (K)
    2. พูดและเขียนแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก และจินตนาการ
        ได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ (K, P)
    3. อ่านออกเสียงคำาใหม่ และบอกความหมายได้ถูกต้อง (K, P)
    4. เขียนย่อความเรื่องที่อ่านได้ถูกต้องตามรูปแบบการย่อความ (K,
        P)
    5. แต่งคำาขวัญหรือบทร้อยกรองได้อย่างสร้างสรรค์ (P)
    6. ใช้กระบวนการอ่าน พัฒนาความเข้าใจในการอ่าน และเป็น
        เครื่องมือในการพัฒนาตนเองในการดำาเนินชีวิตได้ (P)
    7. มีความสนใจในการเรียนภาษาไทย (A)
11



   ๔ . การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

                                        ด้ า น ค ุ ณ ธ ร ร ม
                                                                     ด้ า น ท ั ก ษ ะ แ ล ะ
ด ้ า น ค ว า ม ร ู ้ (K)                  จริยธรรม
                                                                     ก ร ะ บ ว น ก า ร (P)
                                       แ ล ะ ค ่ า น ิ ย ม (A)
๑. สังเกตการณ์     ๑. ประเมินพฤติกรรมใน                           ๑. ประเมินทักษะการ
ตอบคำาถาม              การทำางาน                                  อ่านออกเสียง
  และการตั้งคำาถาม  เป็นรายบุคคลในด้าน                            ๒. ประเมินทักษะการ
จาก                    ความสนใจ                                   อ่านจับ
  เรื่องที่อ่าน     และตังใจเรียน ความรับ
                           ้                                        ใจความ
๒. สังเกตการณ์         ผิดชอบ
สรุปข้อคิด          ในการทำากิจกรรม ความ                          ๓. ประเมินทักษะการย่อ
  จากเรื่องที่อ่าน     มีระเบียบ                                  ความ
                    วินัยในการทำางาน ฯลฯ                          ๔. ประเมินทักษะการ
๓. ตรวจผลการทำา ๒. ประเมินเจตคติที่ดีต่อ                          แต่งบท
กิจกรรม               การเรียนภาษาไทย                               ร้อยกรอง
                                                                  ๕. ประเมินทักษะ
                                                                  กระบวนการคิด
                                                                  ๖. ประเมินทักษะ
                                                                  กระบวนการกลุ่ม

   ๕ . สาระการเรียนรู้
         การอ่านเรื่อง สองพี่น้อง

   ๖. แนวทางบูรณาการ
        สังคมศึกษา                                      ศึกษาเรื่องคุณธรรม จริยธรรมที่
   ควรมีในสังคม/อ่าน
                                                     ข่าวสารจากหนังสือพิมพ์
            ศิลปะ                                   เขียนตกแต่งระบายสีแถบประโยค

   ๗ . กระบวนการจัดการเรียนรู้
   ข ั้ น ท ี ่ ๑ น ำา เ ข ้ า ส ู ่ บ ท เ ร ี ย น
        ๑. ครูนำาข่าวจากหน้าหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวกับการแตกความ
   สามัคคีของคนในสังคมมาให้
            นักเรียนดู และร่วมกันอภิปรายถึงที่มาของการทะเลาะเบาะแว้ง
        นั้น แล้วให้นักเรียน
            ยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่เคยพบเห็นจากประสบการณ์ของ
        นักเรียนเอง โดยครูใช้คำาถาม
            กระตุ้นดังนี้
                ๑) การทะเลาะนั้นมีที่มาจากสาเหตุใด
                ๒) เราจะมีวิธีไหนบ้างที่จะหลีกเลี่ยงการทะเลาะและเผชิญ
        หน้ากันอย่างรุนแรงได้
                ๓) ผลที่ได้รับจากการแตกความสามัคคีในข่าวนี้คืออะไร
        ๒. จากนั้นครูนำาข่าวที่เกี่ยวกับความกตัญญูของคนในสังคมอีก
   ข่าวหนึ่งมาให้นักเรียนดูและ
12

          เปรียบเทียบกัน โดยครูใช้คำาถามกระตุ้น ดังนี้
              ๑) การกระทำาของคนในข่าวนี้ควรได้รับผลตอบแทนจาก
       สังคมอย่างไรบ้าง
              ๒) สองข่าวนี้มีความเหมือนหรือความแตกต่างกันอย่างไร
              ๓) ถ้าให้นักเรียนเลือก นักเรียนอยากตกเป็นข่าวแบบไหน
       ในหน้าหนังสือพิมพ์
       ๓. ครูบอกนักเรียนให้ทราบว่าวันนี้จะเรียนเรื่องคุณธรรมพื้นฐาน
ที่นักเรียนควรมีในครอบครัว
           คือความสามัคคี และความกตัญญูต่อบิดามารดา


ข ั ้ น ท ี ่ ๒ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
         1.   แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มละ ๔–๕ คน ให้แต่ละกลุ่มทำา
              กิจกรรม “การตั้งคำาถามจากเรื่องที่อ่าน” โดยครูแจกใบความ
              รู้เรื่อง การตั้งคำาถามพัฒนากระบวนการคิด ให้ทุกกลุ่มศึกษา
              และทำาความเข้าใจ
         2.   ครุสุ่มถามนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อหาในใบความรู้ เพื่อทดสอบ
              ความเข้าใจ
         3.   ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านเรื่อง สองพี่น้อง ในหนังสือเรียน/สื่อ
              การเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
              แล้วช่วยกันเขียนคำาถามพัฒนากระบวนการคิด หมวกความ
              คิด ๖ ใบ พร้อมคำาเฉลย กลุ่มละ ๖ คำาถาม ตามที่ได้ศึกษาจาก
              ใบความรู้
         4.   ให้แต่ละกลุ่มจับสลากเพื่อส่งตัวแทนออกมาถามคำาถามเพื่อน
              กลุ่มอื่นหน้าชั้นเรียน กลุ่มที่ตอบคำาถามได้ จะได้คะแนน
              คำาถามละ ๑ คะแนน กลุ่มใดตอบคำาถามถูกต้องมากที่สุด เป็น
              ผู้ชนะ
         5.   นักเรียนช่วยกันคัดเลือกคำาถามที่สมาชิกในกลุ่มชอบมาก
              ที่สุด มาเขียนแถบประโยคคำาถามและคำาตอบ กลุ่มละ ๑
              คำาถาม พร้อมทั้งเขียนกำากับไว้ด้วยว่าเป็นคำาถามจากหมวกสี
              อะไร
ข ั ้ น ท ี ่ ๓ ฝึ ก ฝ น ผ ู ้ เ ร ี ย น
       ๑. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่อง สองพี่น้อง โดยอ่านเป็นกลุ่ม อ่าน
เป็นคู่และอ่านกับครูเป็น
         รายบุคคล
       ๒. นักเรียนทำากิจกรรมที่เกี่ยวกับเนื้อเรื่อง สองพี่น้อง แล้วช่วยกัน
เฉลยคำาตอบ
       ๓. นักเรียนอ่านคำาใหม่ในบทเรียน แล้วค้นหาความหมายจาก
พจนานุกรม
       ๔. นักเรียนย่อความเรื่อง สองพี่น้อง ตามรูปแบบการย่อความ
       ๕. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเขียนคำาขวัญหรือแต่ง
บทร้อยกรองที่มีข้อคิด
         เกี่ยวกับเรื่อง สองพี่น้อง
ข ั้ น ท ี ่ ๔ น ำา ไ ป ใ ช ้
         1. นักเรียนรู้จักตั้งคำาถามเพื่อพัฒนาความคิดจากเรื่องต่างได้ ๆ
         2. นักเรียนนำาข้อคิดที่ได้จากเรื่อง สองพี่น้อง ไปเป็นแบบอย่าง
            ในการปฏิบัติตนได้
ขั้นที่ ๕ สรุป
13

      ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปวิธีตั้งคำาถามและข้อคิดที่ได้จากเรื่อง
สองพี่น้อง

๘ . กิจกรรมเสน อแ น ะ
      ๑. นักเรียนอ่านเรื่องที่ตนสนใจนอกเหนือจากในบทเรียน แล้วตั้ง
คำาถามพร้อมเฉลยคำาตอบตาม
       แนวทางจากใบความรู้
      ๒. นักเรียนอ่านนิทานคติธรรม แล้วสรุปข้อคิดที่ได้จากเรื่อง




๙ . สื ่ อ /แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
         ๑. ข่าวจากหนังสือพิมพ์รายวัน
         ๒. ใบความรู้เรื่อง การตั้งคำาถามพัฒนากระบวนการคิด “หมวก
ความคิด ๖ ใบ”
         ๓. สื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔
                                                 ้
เล่ม ๑ บริษัท สำานักพิมพ์
            วัฒนาพานิช จำากัด
         ๔. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔
                                                   ้
บริษัท สำานักพิมพ์
            วัฒนาพานิช จำากัด
         ๕. แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บริษัท สำานักพิมพ์
            วัฒนาพานิช จำากัด

๑ ๐ . บั น ท ึ ก ห ล ั ง ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้



      ๑. ความสำาเร็จในการจัดการเรียนรู้
         แนวทางการพัฒนา
      ๒. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
       แนวทางแก้ไข
      ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน
        เหตุผล
      ๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้
                                        ลงชื่อ               ผู้สอน
14




                     แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
      ก า ร อ ่ า น ค ำา ท ี ่ ม ี ต ั ว ส ะ ก ด แ ม่ ก ก า แ ม่ ก ด แ ม่ ก น

    กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้            ภาษาไทย

                                           ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    เวลา ๑ ชั่วโมง

๑ . สา ร ะ ส ำา ค ั ญ
      การศึกษาเรื่อง มาตราตัวสะกด เป็นพื้นฐานทำาให้นักเรียนเข้าใจ
หลักการเขียนสะกดคำาในภาษาไทย การฝึกให้นักเรียนอ่านคำาที่ใช้ตัว
สะกดมาตราแม่ ก กา แม่กด และแม่กน จะทำาให้นักเรียนมีความรู้
ความเข้าใจ และสามารถเขียนสะกดคำาที่ใช้มาตราตัวสะกดมาตรา แม่
ก กา แม่กด และแม่กน ได้ถูกต้อง

๒ . ตั ว ช ี ้ ว ั ด ช ั ้ น ป ี
       ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑
(ป. ๔/๑)
       ๒. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ท ๒.๑ (ป.
๔/๑)
       ๓. สะกดคำาและบอกความหมายของคำาในบริบทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป.
๔/๑)

๓ . จุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
        1. อ่านคำาที่มีตัวสะกดในมาตราแม่ ก กา แม่กด และแม่กนได้
           (P)
15


            2. อ่านออกเสียง และบอกความหมายของคำา กลุ่มคำา และ
               ประโยคได้ (K, P)
            3. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้ถูกต้องสวยงาม (P)
            4. ใช้ทักษะทางภาษาไทยในการเรียน การแสวงหาความรู้ และ
               การทำางานร่วมกับผู้อื่นได้ (P)
            5. มีความสนใจในการเรียนภาษาไทย (A)


   ๔ . การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

                                        ด้ า น ค ุ ณ ธ ร ร ม
                                                                        ด้ า น ท ั ก ษ ะ แ ล ะ
ด ้ า น ค ว า ม ร ู ้ (K)                  จริยธรรม
                                                                        ก ร ะ บ ว น ก า ร (P)
                                       แ ล ะ ค ่ า น ิ ย ม (A)
๑. สังเกตการณ์                  ๑. ประเมินพฤติกรรมใน                 ๑. ประเมินทักษะการ
ตอบคำาถาม                           การทำางาน                        อ่านออกเสียง
  และการเขียนคำา                 เป็นรายบุคคลในด้าน                    ร้อยแก้ว
ศัพท์                               ความสนใจ                         ๒. ประเมินทักษะการ
๒. ตรวจผลการทำา                  และตังใจเรียน ความรับ
                                        ้                            อ่านออกเสียง
กิจกรรม                             ผิดชอบ                             ร้อยกรอง
                                 ในการทำากิจกรรม ความ
                                    มีระเบียบ                        ๓. ประเมินทักษะการคัด
                                 วินัยในการทำางาน ฯลฯ                ลายมือ
                                ๒. ประเมินเจตคติที่ดีต่อ             ๔. ประเมินทักษะ
                                   การเรียนภาษาไทย                   กระบวนการคิด
                                                                     ๕. ประเมินทักษะ
                                                                     กระบวนการกลุ่ม
   ๕ . สาระการเรียนรู้
         การอ่านแม่ ก กา แม่กด แม่กน

   ๖. แนวทางบูรณาการ
        ศิลปะ                                       เขียนและตกแต่งรูปเล่มรายงานผลการ
   ศึกษาค้นคว้าค ำ า
        สุขศึกษาฯ                                   เล่นเกม แข่งขันคำาศัพท์

   ๗ . กระบวนการจัดการเรียนรู้
   ข ั้ น ท ี ่ ๑ น ำา เ ข ้ า ส ู ่ บ ท เ ร ี ย น
         ๑. ครูเขียนคำาต่อไปนี้บนกระดาน ไผ่ จด ขัน และร่วมกัน
   อภิปรายเกี่ยวกับคำาศัพท์นั้นๆ
           โดยครูใช้คำาถามกระตุ้น ดังนี้
                – ถ้าเราสลับตัวสะกดของพยัญชนะเหล่านี้เพื่อสร้างคำา
         ใหม่ คำาเหล่านี้จะมีความหมาย
                 หรือไม่ จากนั้นจึงให้นักเรียนแข่งขันกันเขียนคำาศัพท์
         ๒. ครูให้นักเรียนแบ่งเป็น ๒ กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออก
   มากลุ่มละ ๓ คน แข่งขันกัน
           สร้างศัพท์ใหม่จากคำาศัพท์ที่ครูกำาหนดให้ โดยใช้พยัญชนะ
   และสระเดิม เปลี่ยนแต่เพียง
16

         ตัวสะกด มีกติกาว่าจะต้องเป็นคำาที่มีความหมาย กลุ่มที่เขียน
เสร็จก่อนเป็นผู้ชนะ
              เช่น ไผ่ – ไข่
                   จด – ผด – ขด
                   ขัน – ผัน – จัน
        ๓. ครูบอกนักเรียนให้ทราบว่าตัวสะกดนั้นมีความสำาคัญกับความ
หมายของคำามาก หาก
          ตัวสะกดเปลี่ยนไป ก็อาจทำาให้ความหมายของคำาเปลี่ยนแปลง
ไปด้วย จากนั้นให้นักเรียน
         อ่านคำาบนกระดานพร้อม ๆ กัน แล้วพูดโยงเข้าเรื่องการอ่านคำา
ที่มีตัวสะกด แม่ ก กา
         แม่กน และแม่กด
ข ั ้ น ท ี ่ ๒ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
        1.   นักเรียนดูคำาที่สะกดด้วยแม่ ก กา แม่กด และแม่กน จาก
             แผนภูมิที่ครูติดบนกระดาน แล้วฝึกอ่านออกเสียงพร้อมกัน
                  ตั ว อ ย ่ า ง ค ำา
                     ใคร          เสีย               พ่อ   นำ้า   เวลา
                     เชิญ
                        กิน              ปลาวาฬ มโหฬาร
                       สาร
                 ราช      ผลิต       มงกุฎ       บาด
                 พิษ
        2. นักเรียนสังเกตและสนทนาเรื่องส่วนประกอบของคำา ตาม
           ประเด็นคำาถามต่อไปนี้
               ๑) ส่วนประกอบของคำามีอะไรบ้าง
               ๒) จากตัวอย่างคำาที่กำาหนดให้ มีตัวสะกดในแม่ใดบ้าง
               ๓) คำาใดบ้างที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา


      ๓. นักเรียนร่วมกันตั้งคำาถามจากการอภิปรายในข้อ ๒ โดยใช้
แนวการตั้งคำาถาม เช่น
            ๑ ) มีคำาใดอีกบ้างที่สะกดไม่ตรงตามมาตราแม่ ก กา แม่กด
และแม่กน
            ๒) คำาที่สะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตราเหล่านี้
      เขียนเป็นคำาอ่านว่าอย่างไร
      ๔. นักเรียนและครูร่วมกันกำาหนดประเด็นที่จะศึกษาเกี่ยวกับคำา
และการอ่านคำาในแม่ ก กา
        แม่กด และแม่กน
      ๕. นักเรียนและครูนำาประเด็นที่จะศึกษาจากข้อ ๔ แล้วร่วมกัน
อภิปราย โดยอาจเลือกใช้วิธี
        ดังนี้
            ๑) สำารวจคำาที่สะกดในแม่ ก กา แม่กด และแม่กน ทั้งที่ตรง
      ตามมาตราและไม่ตรง
               ตามมาตรา จากหนังสือเรียน หรือจากหนังสืออื่น ๆ
            ๒) จดบันทึกคำาต่าง ๆ เหล่านั้นลงในสมุด และเขียนคำาอ่าน
ของทุกคำา
      ๖. นักเรียนทำากิจกรรมจากใบงานที่ ๑ เรื่อง สำารวจคำาที่มีตัว
สะกดในแม่ ก กา แม่กด และ
        แม่กน เสร็จแล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องและฝึกอ่านคำา
ทุกคำาให้คล่อง โดยสมาชิกใน
17

          กลุ่มผลัดกันอ่านผลัดกันฟังวิพากษ์วิจารณ์และคัดเลือกตัวแทน
ที่อ่านได้ถูกต้องตามอักขวิธี
          ออกมาประกวดอ่านร้อยกรอง “แม่ไก่อยู่ในตะกร้า ” หน้าชัน      ้
เรียน
        ๗. นักเรียนฝึกคัดและเขียนคำาให้ถูกต้องสวยงาม โดยสมาชิกใน
กลุ่มคัดเลือก ผู้ที่ลายมือสวย
           เขียนตัวอักษรได้ชัดเจนถูกต้องเป็นตัวแทนกลุ่มออกมา
        ประกวดคัดลายมือบทร้อยกรอง แม่
           ไก่ในตะกร้า หน้าชั้นเรียน
        ๘. นักเรียนและครูร่วมกันคัดเลือกผู้ที่อ่านและเขียนได้ดีที่สุดเพื่อ
รับรางวัล
        ๙. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์สรุปหลักและวิธีการอ่าน
คำาที่สะกดตรงและไม่ตรงตาม
          มาตราในแม่ ก กา แม่กด และแม่ กน
        ๑๐. นักเรียนเขียนสรุปความรู้ที่ได้จากการเรียนลงในแบบบันทึก
ความรู้
        ๑๑. นักเรียนจัดทำารายงานเสนอผลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าคำา
ที่ได้จากข้อเป็นรูปเล่มรายงาน
           ตกแต่งให้สวยงาม
        ๑๒. นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมา และการ
ปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยัง
           ไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้
นักเรียนเข้าใจ
        ๑๓. นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหา
หรืออุปสรรคใด และได้มีการ
           แก้ไขอย่างไรบ้าง
        ๑๔. นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์
ที่ได้รับจากการปฏิบัติ
           กิจกรรม และการนำาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
        ๑๕. ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคำาถาม
เช่น
               ๑) คำาที่สะกดไม่ตรงตามมาตรา เช่น คำาว่า มอญ อิฐ เป็น
คำาที่มีตัวสะกดอยู่ใน
                 มาตราใดและเขียนเป็นคำาอ่านว่าอย่างไร
               ๒) ครูสุ่มนักเรียน ๒–๓ คน ยกตัวอย่างคำาที่ใช้กันในชีวิต
ประจำาวัน ที่สะกดใน
                  แม่ ก กา แม่กด และแม่กน มาอย่างละ ๒ คำา ทั้งที่สะกด
               ตรงตามมาตราและไม่
                  ตรงตามมาตรา
ข ั ้ น ท ี ่ ๓ ฝึ ก ฝ น ผ ู ้ เ ร ี ย น
         1. นักเรียนทำากิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านคำาที่มีตัวสะกดแม่ ก กา
            แม่กด แม่กน แล้วช่วยกันเฉลยคำาตอบ
         2. นักเรียนทำากิจกรรมตามใบงานที่ ๒ เรื่อง สำารวจคำาในหนังสือ
            เล่มโปรด แล้วช่วยกันเฉลยคำาตอบ
ข ั้ น ท ี ่ ๔ น ำา ไ ป ใ ช ้
         1. นักเรียนนำาความรู้จากการศึกษาเรื่อง การอ่านคำาที่มีตัวสะกด
            แม่ ก กา แม่กด แม่กน ไปใช้ในการอ่านและเขียนในชีวิต
            ประจำาวัน
         2. นักเรียนนำาไปใช้ในการอ่านข้อความจากป้ายหรือหนังสืออื่น
            ๆ ที่มีคำาที่สะกดด้วยมาตราแม่ ก กา แม่กด แม่กน ได้ถูกต้อง
ขั้นที่ ๕ สรุป
18

     ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง การอ่านคำาที่มีตัวสะกด แม่ ก กา
แม่กด แม่กน

๘ . กิจกรรมเสน อแ น ะ
      นักเรียนฝึกอ่านคำาที่มีตัวสะกดจากหนังสือพิมพ์หรือวารสารต่าง ๆ
แล้วฝึกคัดด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด

๙ . สื ่ อ /แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
         ๑. แผนภูมิคำาศัพท์
         ๒. ใบงานที่ ๑ เรื่อง สำารวจคำาในแม่ ก กา แม่กด แม่กน
         ๓. ใบงานที่ ๒ เรื่อง สำารวจคำาศัพท์ในนิทานเล่มโปรด
         ๔. บทร้อยกรอง แม่ในตะกร้า
         ๕. แบบบันทึกความรู้
         ๖. สื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔
                                                   ้
เล่ม ๑ บริษัท สำานักพิมพ์
            วัฒนาพานิช จำากัด
         ๗. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บริษัท สำานักพิมพ์
            วัฒนาพานิช จำากัด
         ๘. แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔
                                                     ้
บริษัท สำานักพิมพ์
            วัฒนาพานิช จำากัด

๑ ๐ . บั น ท ึ ก ห ล ั ง ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้



      ๑. ความสำาเร็จในการจัดการเรียนรู้
         แนวทางการพัฒนา
      ๒. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
       แนวทางแก้ไข
      ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน
        เหตุผล
      ๔. การปรับปรุงผ น ก า ร จ ดการเรีเยนรูน ร ู ้ ท ี ่ ๔
                  แ แผนการจั ั ด ก า ร ร ี ย ้
                  ก า ร อ ่ า น ค ำา ท ี ่ อ อ ก เ ส ี ย ง ร ล

    กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้                  ภาษาไทย

                                                  ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    เวลา ๑ ชั่วโมง
19


   ๑ . สา ร ะ ส ำา ค ั ญ
          คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น ควรฝึกอ่านให้ถูกต้อง ชัดเจน เป็น
   นิสัย เพื่อจะได้ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้อง และเห็นคุณค่าของการใช้
   ภาษาไทยที่ถูกต้อง

   ๒ . ตั ว ช ี ้ ว ั ด ช ั ้ น ป ี
          ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑
   (ป. ๔/๑)
          ๒. สะกดคำาและบอกความหมายของคำาในบริบทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป.
   ๔/๑)

   ๓ . จุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
           ๑. อ่านออกเสียงคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้นได้ถูกต้องชัดเจน
   (K, P)
           ๒. สะกดคำา และบอกความหมายคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้นได้
   ถูกต้อง (K, P)
           ๓. เห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทย (A)

   ๔ . การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

                                 ด้ า น ค ุ ณ ธ ร ร ม
                                                             ด้ า น ท ั ก ษ ะ แ ล ะ
ด ้ า น ค ว า ม ร ู ้ (K)           จริยธรรม
                                                             ก ร ะ บ ว น ก า ร (P)
                                แ ล ะ ค ่ า น ิ ย ม (A)
๑. สังเกตการณ์              ๑. ประเมินพฤติกรรมใน          ๑. ประเมินทักษะการ
ตอบคำาถาม                       การทำางาน                 อ่านออกเสียง
  และการสนทนา                เป็นรายบุคคลในด้าน           ๒. ประเมินทักษะ
พูดคุย                          ความสนใจ                  กระบวนการคิด
๒. ตรวจผลการทำา              และตังใจเรียน ความรับ
                                    ้
กิจกรรม                         ผิดชอบ                    ๓. ประเมินกระบวนการ
                             ในการทำากิจกรรม ความ         กลุ่ม
                                มีระเบียบ
                             วินัยในการทำางาน ฯลฯ
                            ๒. ประเมินเจตคติที่ดีต่อ
                               การเรียนภาษาไทย


   ๕ . สาระการเรียนรู้
         คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น


   ๖. แนวทางบูรณาการ
     คณิตศาสตร์                                 บันทึกสถิติการออกเสียงคำา ร ล
   ของเพื่อนในชั้นเรียน
20


   สังคมศึกษาฯ                                          ออกเสียงคำา ร ล ในการพูดคุยใน
ชีวตประจำาวันได้ถูกต้อง
   ิ
                                       ชัดเจน
      ภาษาต่างประเทศ                  เปรียบเทียบการออกเสียง ร ล กับ
                                   พยัญชนะภาษาอังกฤษ
                                       (R, L)
      การงานอาชีพฯ                    ออกแบบและทำาบัตรคำา

๗ . กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ ๑      ข ั้ น น ำา เ ข ้ า ส ู ่ บ ท เ ร ี ย น
         ๑. นักเรียนฟังข้อความจากแถบบันทึกเสียงหรือครูอ่านให้ฟัง
      แล้วช่วยกันบอกประโยคที่ได้ฟัง
          และสังเกตการณ์ออกเสียงและตำาแหน่งของลิ้น

                   ประโยคที่ครูอ่านให้ฟัง
                             รีบลอดรั้วเล็ก ๆ อย่าลุกลน
                             เขาเดือดร้อนเวลาถูกล้อ
                   เลียน
                             เรือล่องลอยไปไม่เห็นร่อง
                   รอย
                         เราเลื่อนรถไปจอดหน้าร้าน
                   เลิศรส

     ๒. นักเรียนช่วยกันสรุปข้อสังเกตการออกเสียง ร ล โดยครู
อธิบายเพิ่มเติมว่าการ
       ออกเสียง ร ปลายลิ้นอยู่หลังฟันบนและสั่นรัว การออกเสียง ล
     ปลายลิ้นจะแตะปุ่มเหงือก
       ด้านหลังฟันบน
ขั้นที่ ๒      กิจกรรมก ารเรียนรู้
        ๑. นักเรียนฟังการออกเสียง ร ล แล้วฝึกออกเสียงตาม
        ๒. นักเรียนจับคู่กับเพื่อนฝึกอ่านออกเสียง ร ล จากบัตรคำาต่อไป
นี้
            รุ้ง                  รีบ                    ร้าย        เร่ง        ลอด


            ลับ                 ลวด                      ลิง         ลม          ร้อย


      ๓. นักเรียนศึกษาเรื่อง คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น จากหนังสือ
เรียน/สื่อการเรียนรู้
         ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
      ๔. นักเรียนทำากิจกรรมจากใบงานที่ ๓ เรื่อง การออกเสียงคำาที่มี
ร ล เป็นพยัญชนะต้น แล้ว
         ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นที่ ๓      ฝึกฝนผู้เรีย น
      ๑. นักเรียนทำากิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านคำาที่ออกเสียง ร ล แล้ว
ช่วยกันเฉลยคำาตอบ
21


       ๒. นักเรียนอ่านข่าว บทความที่มีคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น
รวมอยู่ให้ครูหรือผู้ปกครองฟัง
       ๓. นักเรียนหาคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้นจากเรื่อง สองพี่น้อง
ทำาเป็นบัตรคำา โดยให้
         มีทั้งอ่านเป็นคำา อ่านเป็นประโยค เก็บไว้ฝึกอ่านในชั้นเรียน
       ๔. นักเรียนสังเกตการพูดของเพื่อนในห้องเรียนว่าออกเสียงควบ
กลำ้าถูกต้องหรือไม่
         บันทึกสถิติ แล้วนำามาสรุปผล เพื่อหาทางแก้ไขให้เพื่อนที่พูด
ไม่ชัดได้ฝึกออกเสียงให้ชัดเจน
         ขึ้น
ขั้นที่ ๔   น ำา ไ ป ใ ช ้
     ๑. นักเรียนอ่านออกเสียงคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้นได้ถูกต้อง
และนำาไปใช้พูดสื่อสารใน
       ชีวิตประจำาวันและในการเรียน
     ๒. นักเรียนแนะนำาให้ผู้อื่นพูดหรืออ่านคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะ
ต้นและคำาควบกลำ้าได้ถูกต้อง
       คล่องแคล่ว และนำาไปใช้พูดจนติดเป็นนิสัย เป็นการส่งเสริม
     การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง
ขั้นที่ ๕   สรุป
     นักเรียนช่วยกันสรุปการอ่านออกเสียงคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะ
ต้น พร้อมยกตัวอย่าง แล้วบันทึกลงสมุด

๘ . กิจกรรมเสน อแ น ะ
      ๑ . อ่านคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะจากหนังสือพิมพ์หรือหนังสือ
เรียนวิชาต่าง ๆ
      ๒. นักเรียนเปรียบเทียบการออกเสียง ร ล กับพยัญชนะ R, L ใน
ภาษาอังกฤษว่าเหมือน
        หรือต่างกันอย่างไร

๙ . สื ่ อ /แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
         ๑. บัตรคำา
         ๒. แถบบันทึกเสียง
         ๓. ตัวอย่างข้อความ
         ๔. ใบงานที่ ๓ เรื่อง การอ่านออกเสียงคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะ
ต้น
         ๕. สื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔
                                                   ้
เล่ม ๑ บริษัท สำานักพิมพ์
            วัฒนาพานิช จำากัด
         ๖. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔
                                                        ้
บริษัท สำานักพิมพ์
            วัฒนาพานิช จำากัด
         ๗. แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔
                                                      ้
บริษัท สำานักพิมพ์
            วัฒนาพานิช จำากัด
22




๑ ๐ . บั น ท ึ ก ห ล ั ง ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้



      ๑. ความสำาเร็จในการจัดการเรียนรู้
         แนวทางการพัฒนา
      ๒. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
       แนวทางแก้ไข
      ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน
        เหตุผล
      ๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้
                                        ลงชื่อ               ผู้สอน
23




                            แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
                            ก า ร อ ่ า น ค ำา ท ี ่ อ อ ก เ ส ี ย ง อ ะ

      กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้              ภาษาไทย

                                                ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
      เวลา ๑ ชั่วโมง

   ๑ . สา ร ะ ส ำา ค ั ญ
         ภาษาไทยมีคำาที่ออกเสียง อะ อยู่มากมาย ซึ่งบางครั้งเราอาจใช้
   ไม่ถูกต้อง การศึกษา การฝึกอ่าน ฝึกเขียน คำาที่ออกเสียง อะ จะทำาให้
   ใช้คำาดังกล่าวในการสื่อสารได้ถูกต้อง

   ๒ . ตั ว ช ี ้ ว ั ด ช ั ้ น ป ี
          ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑
   (ป. ๔/๑)
          ๒. สะกดคำาและบอกความหมายของคำาในบริบทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป.
   ๔/๑)


   ๓ . จุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
           ๑. อ่านคำาที่ออกเสียง อะ ได้ (K, P)
           ๒. อ่านออกเสียง และบอกความหมายของคำา กลุ่มคำา และ
   ประโยคได้ (K, P)
           ๓. มีความสนใจในการเรียนภาษาไทย (A)

   ๔ . การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

                                  ด้ า น ค ุ ณ ธ ร ร ม
                                                                      ด้ า น ท ั ก ษ ะ แ ล ะ
ด ้ า น ค ว า ม ร ู ้ (K)            จริยธรรม
                                                                      ก ร ะ บ ว น ก า ร (P)
                                 แ ล ะ ค ่ า น ิ ย ม (A)
24


๑. สังเกตการตอบ         ๑. ประเมินพฤติกรรมใน                       ๑. ประเมินทักษะการ
คำาถาม                      การทำางาน                              อ่านออกเสียง
  และการอ่านคำาที่       เป็นรายบุคคลในด้าน                        ๒. ประเมินทักษะการ
ออกเสียง                    ความสนใจ                               เขียน
  อะ                     และตังใจเรียน ความรับ
                                ้
๒. ตรวจผลการทำา             ผิดชอบ                                 ๓. ประเมินทักษะ
กิจกรรม                  ในการทำากิจกรรม ความ                      กระบวนการคิด
                            มีระเบียบ                              ๔. ประเมินกระบวนการ
                         วินัยในการทำางาน ฯลฯ                      กลุ่ม
                        ๒. ประเมินนิสัยรักการอ่าน
                           และมารยาทในการ
                           อ่าน

   ๕ . สาระการเรียนรู้
         การอ่านคำาที่ออกเสียง อะ


   ๖. แนวทางบูรณาการ
     สังคมศึกษาฯ                                        สนทนาเกี่ยวกับข้อคิด คติเตือน
   ใจจากเรื่อง นำ้าใจเด็กน้อย
     สุขศึกษาฯ                                          รวบรวมชื่อกีฬาที่มีคำาที่ออกเสียง
   อะ

   ๗ . กระบวนการจัดการเรียนรู้
   ขั้นที่ ๑   ข ั้ น น ำา เ ข ้ า ส ู ่ บ ท เ ร ี ย น
        ๑. ครูเลือกนักเรียน ๕ คนที่มีชื่อออกเสียง อะ ทั้งชื่อที่มีรูปสระ อะ
   และไม่มีรูปสระอะ
           เช่น กีรติ ประภัสสร ธนพล วีระ ปัทมา ให้ออกไปเขียนชื่อ
        ตนเองบนกระดาน และให้
           นักเรียนอ่านพร้อมกัน
        ๒. ครูแนะให้นักเรียนเห็นว่า คำาที่ออกเสียง อะ บางคำามีรูป –ะ
        ปรากฏ บางคำาไม่มีรูป –ะ
          ปรากฏ
   ขั้นที่ ๒   กิจกรรมก ารเรียนรู้
         ๑. นักเรียนศึกษาเรื่องคำาที่ออกเสียง อะ ในหนังสือเรียน/สื่อการ
   เรียนรู้ ภาษาไทย
             สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ โดยครูอธิบายประกอบ
                            ้
         การซักถามเพิ่มเติม และให้
             นักเรียนอ่านตัวอย่างคำาที่ออกเสียง อะ จากบัตรคำา
         ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๕ กลุ่ม ครูแบ่งเนื้อหาเรื่อง สองพี่น้อง
         ในหนังสือเรียน/สื่อการ
             เรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ออกเป็น
                                             ้
         ๕ ตอน ให้นักเรียนแต่ละ
             กลุ่มอ่านและรวบรวมคำาที่ออกเสียง อะ ทั้งที่มีรูป –ะ และไม่มีรูป
         –ะ ที่อยู่ในตอนนั้น ๆ
             แล้วออกมาเขียนคำาบนกระดาน
         ๓. นักเรียนและครูช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
         ๔. นักเรียนฝึกอ่านคำาที่ออกเสียง อะ บนกระดาน
   ขั้นที่ ๓   ฝึกฝนผู้เรีย น
25


      ๑. นักเรียนทำากิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านคำาที่ออกเสียง อะ
      ๒. นักเรียนอ่านบทอ่านเสริมเรื่อง นำ้าใจเด็กน้อย แล้วหาคำาที่
      ออกเสียง อะ ที่ปรากฏรูป –ะ
        และไม่ปรากฏรูป –ะ จดบันทึกและเขียนคำาอ่าน แล้วทำา
      กิจกรรมเกี่ยวกับบทอ่านเสริม
      ๓. สำารวจห้องเรียน เขียนคำาที่ออกเสียง อะ ที่พบในห้องเรียน
เช่น ประตู ถังขยะ
         กระดาน แล้วแต่งเรื่องสั้น ๆ ๑ เรื่อง
ข ั้ น ท ี ่ ๔ น ำา ไ ป ใ ช ้
     ๑. นักเรียนนำาความรู้จากการศึกษาเรื่อง คำาที่ออกเสียง อะ ไปใช้
อ่านและเขียนใน
       ชีวิตประจำาวัน
     ๒. นักเรียนสำารวจคำาที่ออกเสียง อะ ที่พบเห็นในชีวิตประจำาวัน
แล้วจดบันทึก
       มาแลกเปลี่ยนกันดูกับเพื่อน
ขั้นที่ ๕         สรุป
                  นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาสรุปเรื่อง คำาที่ออกเสียง อะ




๘ . กิ จ ก ร ร ม เ ส น อ แ น ะ
        ๑ . อ่านคำาที่ออกเสียง อะ จากหนังสือพิมพ์หรือหนังสือเรียนวิชา
ต่าง ๆ
         ๒. รวบรวมชื่อกีฬาที่มีคำาที่ออกเสียง อะ แล้วนำามาฝึกอ่านกับ
เพื่อน
       ๓. นักเรียนประกวดการอ่านออกเสียงคำาที่อ่านออกเสียง อะ แล้ว
คัดเลือกผู้ชนะเลิศจากการ
        อ่านมาเป็นแบบอย่างให้นักเรียนคนอื่น ๆ ต่อไป

๙ . สื ่ อ /แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
         ๑. บัตรคำา
         ๒. สื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔
                                                 ้
เล่ม ๑ บริษัท สำานักพิมพ์
            วัฒนาพานิช จำากัด
         ๓. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔
                                                   ้
บริษัท สำานักพิมพ์
            วัฒนาพานิช จำากัด
         ๔. แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
บริษัท สำความสำมพ์ จในการจัดการเรียนรู้
     ๑. านักพิ าเร็ ช จำากัด
            วัฒนาพานิ
        แนวทางการพัฒนา
๑ ๐ . บั น ท ึ ก ห ล ั ง ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้
      ๒. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
        แนวทางแก้ไข
       ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน
         เหตุผล
       ๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้
                                     ลงชื่อ                    ผู้สอน
26




                     แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖
          ก า ร พ ู ด แ น ะ น ำา ต น เ อ ง แ ล ะ ก า ร พ ู ด ส น ท น า

   กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้         ภาษาไทย

                                        ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
   เวลา ๒ ชั่วโมง

๑ . สา ร ะ ส ำา ค ั ญ
      การพูดแนะนำาตัวและการพูดสนทนา ควรใช้ภาษาสุภาพเพื่อ
แสดงถึงมิตรไมตรีและความเคารพซึ่งกันและกัน

๒ . ตั ว ช ี ้ ว ั ด ช ั ้ น ป ี
       ๑. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง
และดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๓)
       ๒. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู
และการสนทนา
          ท ๓.๑ (ป. ๔/๕)
       ๓. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
01 หน่วย 1
01 หน่วย 1
01 หน่วย 1
01 หน่วย 1
01 หน่วย 1
01 หน่วย 1
01 หน่วย 1
01 หน่วย 1

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความkroonoi06
 
กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3Nun'Top Lovely LoveLove
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 

Tendances (16)

แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 

Similaire à 01 หน่วย 1

แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1kruthirachetthapat
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Similaire à 01 หน่วย 1 (20)

แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
NT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal TestNT'55 Nationnal Test
NT'55 Nationnal Test
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 

01 หน่วย 1

  • 1. 1 หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ๑ สองพี ่ น ้ อ ง เวลา ๑๐ ผั ง มโนทั ศ น์ เ ป้ า หมายการเรี ย นรู ้ แ ละขอบข่ า ยภาระ งาน ความรู ้ การจับใจความสำาคัญจากเรื่องที่ฟัง การอ่านเรื่อง สองพี่น้อง การอ่านคำาที่มีตัวสะกดแม่ ก กา แม่ กน และแม่กด การอ่านคำาที่ออกเสียง ร ล การอ่านคำาที่ออกเสียงอะ การพูดแนะนำาตนเองและการพูด สนทนา การผันอักษรสามหมู่ ภาระงาน/ชิ ้ น งาน ทำาแบบทดสอบ อ่านออกเสียงและการ ทั ก ษะ/กระบวนการ อ่านจับใจความ กระบวนการฟัง อ่านบทร้อยกรอง กระบวนการดู คัดลายมือ กระบวนการพูด เขียนแผนภาพโครงเรื่อง สองพี ่ น ้ กระบวนการอ่าน เขียนย่อความ กระบวนการเขียน แต่งคำาขวัญหรือบทร้อย กระบวนการคิด กรอง วิเคราะห์ พูดแนะนำาตัวและพูด กระบวนการกลุ่ม สนทนา ผันอักษรสามหมู่ ทำาใบงาน คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และค่ า นิ ย ม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด มีมารยาทในการอ่าน และนิสัยรักการ อ่าน มีมารยาทในการเขียน และนิสัยรัก การเขียน มีความสนใจในการเรียนภาษาไทย
  • 2. 2 ผั ง การออกแบบการจั ด การ เรี ย นรู ้ ขั ้ น ที ่ ๑ ผลลั พ ธ์ ป ลายทางที ่ ต ้ อ งการให้ เ กิ ด ขึ ้ น กั บ นั ก เรี ย น ตั ว ชี ้ ว ั ด ชั ้ น ปี ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) ๒. อธิบายความหมายของคำา ประโยค และสำานวนจากเรื่องที่ อ่าน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒) ๓. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕) ๔. มีมารยาทในการอ่าน ท ๑.๑ (ป. ๔/๘) ๕. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑) ๖. เขียนย่อความจากเรื่องสั้น ๆ ท ๒.๑ (ป. ๔/๔) ๗. จำาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๑) ๘. พูดสรุปความจากการฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๒) ๙. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ ฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๓) ๑๐. ตังคำาถามและตอบคำาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู ท ้ ๓.๑ (ป. ๔/๔) ๑๑. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา ท ๓.๑ (ป. ๔/๕) ๑๒. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๓.๑ (ป. ๔/๖) ๑๓. สะกดคำาและบอกความหมายของคำาในบริบทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑) ๑๔. ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำา ท ๔.๑ (ป. ๔/๓) ๑๕. แต่งบทร้อยกรองและคำาขวัญ ท ๔.๑ (ป. ๔/๕) ๑๖. ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม ท ๕.๑ (ป. ๔/๑) ๑๗. อธิบายข้อคิดในการอ่านเพื่อนำาไปใช้ในชีวิตจริง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒) ความเข้ า ใจที ่ ค งทนของ คำ า ถามสำ า คั ญ ที ่ ท ำ า ให้ เ กิ ด นั ก เรี ย น ความเข้ า ใจที ่ ค งทน นั ก เรี ย นจะเข้ า ใจว่ า ... 1. การอ่านและการฟัง เป็น 1. ข้อคิดหรือประโยชน์ที่ได้
  • 3. 3 ทักษะที่จะต้องฝึกฝนอย่าง จากการฟังหรือการอ่าน สมำ่าเสมอจึงจะเกิดความ เรื่อง สองพี่น้อง มีอะไรบ้าง ชำานาญ 2. การอ่านหรือการเขียนสะกด 2. มาตราแม่ ก กา เป็นคำาที่ คำาไม่ถูกต้องจะเกิดผลอย่าง ประสม ไรบ้าง พยัญชนะและสระไม่มีตัว 3. คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น สะกด อ่านแตกต่างกันหรือไม่ 3. มาตราแม่กน เป็นคำาที่อ่าน อย่างไร ออกเสียง 4. คำาที่ประวิสรรชนีย์กับคำาที่ เหมือนมี น สะกด 4. มาตราแม่ กด เป็นคำาที่อ่าน ไม่ประ-วิสรรชนีย์มีวิธีการ ออกเสียงเหมือนมี ด สะกด อ่านแตกต่างกันอย่างไร 5. คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น 5. คำาพูดลักษณะใดที่เหมาะ การอ่านออกเสียงจะอ่าน สมในการพูดสนทนา แตกต่างกัน สังเกตจาก 6. การพูดแนะนำาตัวควรพูด ตำาแหน่งของการกระดกลิ้น อย่างไร 6. คำาที่ออกเสียง อะ มี ๒ อย่าง คือ คำาที่ประวิสรรชนีย์ กับคำาที่ 7. การผันอักษรสามหมู่จะต้อง ไม่ประ คำานึงถึงอะไรบ้าง และมีหลัก วิสรรชนีย์ การผันอย่างไร 7. การพูดแนะนำาตัวและการ พูดสนทนา จะต้องใช้ภาษาที่สุภาพ เหมาะสมกับ บุคคลและสถานการณ์ 8. อักษรสามหมู่ แบ่งออกเป็น อักษร กลาง อักษรสูง อักษรตำ่า ความรู ้ ข องนั ก เรี ย นที ่ น ำ า ไป ทั ก ษะ/ความสามารถของ สู ่ ค วามเข้ า ใจที ่ นั ก เรี ย นที ่ น ำ า ไปสู ่ คงทน นั ก เรี ย นจะรู ้ ว ่ า ... ความเข้ า ใจที ่ ค งทน ๑. คำาสำาคัญ ได้แก่ กระแทก กิ่ง นั ก เรี ย นจะสามารถ... ไผ่ สัญญา 1. บอกใจความสำาคัญและสรุป สามัคคี ข้อคิดจากเรื่องที่อ่านหรือฟัง ๒. การฟังเรื่องราว ผู้ฟังจะต้อง 2. อภิปรายแสดงความคิดเห็น จับใจความ เกี่ยวกับข้อคิดและคุณธรรม สำาคัญของเรื่องให้ได้ เพื่อจะ จากเรื่องที่อ่านหรือฟัง ได้นำาไป ถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูก 3. บอกวิธีการนำาข้อคิดที่ได้ ต้อง จากเรื่องไปประยุกต์ใช้ใน 3. การอ่านเรื่องราวต่าง ๆ ผู้ ชีวิตประจำาวัน อ่านจะต้อง จับใจความ 4. อ่านและเขียนคำาที่สะกดด้วย สำาคัญ สรุปความ วิเคราะห์ แม่ ก กา แม่กน และแม่กด เนื้อหาและบอกข้อคิดของ 5. อ่านและเขียนคำาที่มี ร ล เป็น เรื่องให้ได้ พยัญชนะต้น 4. คำาที่มีตัวสะกดแม่ ก กา เป็น คำาที่ประสมพยัญชนะและ 6. อ่านและเขียนคำาที่ออกเสียง สระที่ไม่มีตัวสะกด อะ 5. คำาที่มี น ญ ณ ร ล ฬ เป็นตัว 7. อธิบายวิธีการพูดแนะนำาตัว สะกดเป็นคำาในมาตราแม่กน และพูดแนะนำาตัวได้ถูกต้อง ครบถ้วน 6. คำาที่มี ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ 8. พูดแนะนำาตัวและพูดสนทนา
  • 4. 4 ต ถ ท ธ ศ ษ ส เป็นตัวสะกด เหมาะสมกับบุคคลและ เป็นคำาในมาตรา สถานการณ์ แม่กด 9. บอกลักษณะของคำาเป็น 7. คำาที่มี ร เป็นพยัญชนะต้น คำาตาย และผันอักษรสามหมู่ เวลาอ่านต้องอ่านกระดกลิ้น ถูกต้อง ส่วนคำาที่มี ล เป็น พยัญชนะต้น เวลาอ่านไม่ ต้องกระดกลิ้น 8. การอ่านคำาที่ออกเสียง อะ อ่านได้ ๒ อย่าง คือ คำาที่มีรูป สระ อะ ให้อ่านออกเสียง อะ เต็มเสียง คำาที่ไม่มีรูปสระอะ ให้อ่านออกเสียง อะ กึ่งเสียง 9. การพูดแนะนำาตัวเป็นการ บอกข้อมูลของตนเองให้ผู้ อื่นได้รู้จัก ๑๐. การพูดสนทนา เป็นการพูด คุยที่แสดง ถึงมิตรไมตรี ควรใช้ภาษาที่ สุภาพให้ เกียรติซึ่งกันและกัน ๑๑. อักษรสามหมู่ผันได้ดังนี้ อักษรกลาง คำา เป็นผันได้ ๕ เสียง คำาตาย ผันได้ ๔ เสียงอักษรสูงคำาเป็นผันได้ ๓ เสียง คำา ตายผันได้ ๒ เสียง อักษรตำ่า คำาเป็น ผัน ได้ ๓ เสียง คำาตายเสียงสั้น ผันได้ ๓ เสียง คำาตายเสียงยาวผันได้ ๓ เสียง ขั ้ น ท ี ่ ๒ ภ า ร ะ ง า น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ผ ล ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ซ ึ ่ ง เ ป ็ น หลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ ต า ม ท ี ่ ก ำา ห น ด ไ ว ้ อ ย ่ า ง แ ท ้ จ ร ิ ง 1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ ๑.๑ อ่านออกเสียง จับใจความสำาคัญ บอกข้อคิดของเรื่องที่อ่าน ๑.๒ เขียนแผนภาพโครงเรื่องจากเรื่องที่ฟัง ๑.๓ เขียนย่อความ ๑.๔ แต่งคำาขวัญและบทร้อยกรอง ๑.๕ อ่านและเขียนคำาที่มีตัวสะกดแม่ ก กา แม่กน และแม่กด ๑.๖ อ่านบทร้อยกรอง ๑.๗ คัดลายมือ ๑.๘ อ่านและเขียนคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น ๑.๙ อ่านและเขียนคำาที่ออกเสียง อะ ๑.๑๐ ฝึกพูดแนะนำาตัวและพูดสนทนา ๑.๑๑ ฝึกผันอักษรสามหมู่
  • 5. 5 ๒. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ ๒.๑ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ ๒.๒ เครื่องมือประเมินผล การเรียนรู้ ๑) การทดสอบ ๑) แบบทดสอบก่อนและหลัง เรียน ๒) การสนทนาซักถาม ๒) แบบทดสอบการอ่าน ๓) การสังเกต ๓) แบบประเมินการอ่าน ๔) การตรวจผลงาน/กิจกรรมเป็น ๔) แบบประเมินการ เขียน รายบุคคลหรือรายกลุ่ม ๕) แบบประเมินการพูด ๕) การวัดเจตคติ ๖) แบบประเมินด้านคุณธรรม ๖) การวัดทักษะ/กระบวนการ จริยธรรม และค่านิยม ๗) แบบประเมินด้านทักษะ/ กระบวนการ ๓. สิ่งที่มุ่งประเมิน ๓.๑ ความสามารถในการอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต์ใช้ ดัดแปลง และนำาไปใช้ การมีมุมมองที่หลากหลาย การให้ความ สำาคัญและใส่ใจ ความรู้สึกของผู้อื่น และการรู้จักตนเอง ๓.๒ ทักษะกระบวนการทางภาษา ๓.๓ สมรรถนะสำาคัญ ได้แก่ การสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การ ใช้ทักษะชีวต และการ ิ ใช้เทคโนโลยี ๓.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำางาน รักความเป็นไทย มี จิตสาธารณะ ขั ้ น ท ี ่ ๓ แ ผ น ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ การจับใจความสำาคัญจากเรื่องที่ฟัง เวลา ๑ ชัวโมง ่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ การอ่านเรื่อง สองพี่น้อง เวลา ๒ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ การอ่านคำาที่มีตัวสะกดแม่ ก กา แม่กด แม่กน เวลา ๑ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ การอ่านคำาที่ออกเสียง ร ล เวลา ๑ ชัวโมง ่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ การอ่านคำาที่ออกเสียง อะ เวลา ๑ ชัวโมง ่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ การพูดแนะนำาตัวและการพูดสนทนา เวลา ๒ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗ การผันอักษร ๓ หมู่ เวลา ๒ ชั่วโมง
  • 6. 6 แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ๑ การจั บ ใจความสำ า คั ญ จากเรื ่ อ งที ่ ฟ ั ง กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๑ ชั่วโมง ๑. สาระสำ า คั ญ การฟังเป็นวิธีการรับสารวิธีหนึ่ง ผู้ที่มีทักษะในการฟังจะต้อง จับใจความสำาคัญของเรื่องที่ฟังได้ครบถ้วน และสามารถนำามา ถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ๒. ตั ว ชี ้ ว ั ด ชั ้ น ปี ๑. จำาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๑)
  • 7. 7 ๒. พูดสรุปความจากการฟังและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๒) ๓. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๓.๑ (ป. ๔/๖) ๔. ตังคำาถามและตอบคำาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู ท ้ ๓.๑ (ป. ๔/๔) ๕. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง และดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๓) ๓ . จุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๑. ฟังเรื่องราวแล้ว สามารถจับใจความสำาคัญ และตอบคำาถาม จากเรื่องได้ (K) ๒. เขียนแผนภาพโครงเรื่องจากเรื่องที่ฟังได้ (P) ๓. เล่าเรื่องถ่ายทอดประสบการณ์โดยใช้ถ้อยคำาสุภาพและเหมาะ สมกับเรื่องได้ (P) ๔. บอกข้อคิดที่ได้จากนิทานเทียบสุภาษิต (K, P) ๕. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด (A) ๔ . การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้ า นคุ ณ ธรรม ด้ า นทั ก ษะและ ด้ า นความรู ้ (K) จริ ย ธรรม กระบวนการ (P) และค่ า นิ ย ม (A) ๑. สังเกตการตอบ ๑. ประเมินพฤติกรรมใน ๑. ประเมินทักษะการฟัง คำาถาม การทำางาน และการดู ๒. ตรวจผลการทำา เป็นรายบุคคลในด้าน ๒. ประเมินทักษะการพูด กิจกรรม ความสนใจ เล่าเรื่อง และตังใจเรียน ความรับ ้ ๓. ตรวจแบบ ผิดชอบ ๓. ประเมินทักษะการ ทดสอบก่อน ในการทำากิจกรรม ความ เขียนแผนภาพ และหลังเรียน มีระเบียบ โครงเรื่อง วินัยในการทำางาน ฯลฯ ๔. ประเมินทักษะ ๒. ประเมินมารยาทในการ กระบวนการคิด ฟังและการดู ๕ . สาระการเรียนรู้ การจับใจความสำาคัญจากเรื่องที่ฟัง ๖. แนวทางบูรณาการ คณิตศาสตร์  เขียนแผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง สองพี่น้อง สังคมศึกษาฯ  อ่านและศึกษานิทานเทียบสุภาษิตที่มี ข้อคิดเดียวกับเรื่อง สองพี่น้อง ภาษาต่างประเทศ  อ่านและเขียนคำาศัพท์เกี่ยวกับตัวละคร ในเรื่อง
  • 8. 8 ๗. กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้ ขั ้ น ที ่ ๑ ขั ้ น นำ า เข้ า สู ่ บ ทเรี ย น ๑. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน ๒. นักเรียนดูภาพจากเรื่อง สองพี่น้อง แล้วร่วมกันสนทนาเกี่ยว กับภาพ ๑) ภาพที่ดูเป็นภาพอะไร ๒) ตัวละครในภาพมีใครบ้าง ๓) เรื่องราวในภาพน่าจะเป็นอย่างไร ขั ้ น ที ่ ๒ กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ๑. นักเรียนฟังเรื่อง สองพี่น้อง จากแถบบันทึกเสียงหรือครูอ่าน ให้ฟัง ๒ ครั้งเพื่อให้นักเรียน จับใจความได้มากขึ้น ๒. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง ตามแนวคำาถามต่อไปนี้ ๑) เป็นเรื่องอะไร ๒) ตัวละครมีใครบ้าง ๓) เหตุการณ์เกิดขึ้นที่ไหน ๔) เหตุการณ์เกิดขึ้นเมื่อไร ๕) เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นบ้าง ๖) ผลเป็นอย่างไร ๗) มีข้อคิดอะไรบ้าง ๓. นักเรียนนำาคำาตอบจากข้อ ๒ มาเขียนเป็นแผนภาพโครงเรื่อง โดยนักเรียนช่วยกันบอกให้ ครูเขียนบนกระดาน แล้วนักเรียนช่วยกันเล่าเรื่องตาม แผนภาพโครงเรื่อง ขั ้ น ที ่ ๓ ฝึ ก ฝนผู ้ เ รี ย น ๑. นักเรียนทำากิจกรรมเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง สองพี่น้อง แล้วช่วยกัน เฉลยคำาตอบ ๒. นักเรียนอ่านนิทานเทียบสุภาษิต หรือนิทานคติธรรมที่มีข้อคิด เกี่ยวกับเรื่องความสามัคคี ขั ้ น ที ่ ๔ นำ า ไปใช้ ๑. นักเรียนเล่าเรื่อง สองพี่นอง ให้เพื่อนหรือผู้ปกครองฟังได้ ้ ๒. นักเรียนนำาข้อคิดจากเรื่อง สองพี่น้อง ไปเป็นแบบอย่างใน การปฏิบัติตน ขั ้ น ที ่ ๕ สรุ ป นักเรียนทั้งชั้นช่วยกันเล่าเรื่อง สองพี่น้อง ตามที่ได้ฟัง ๘. กิ จ กรรมเสนอแนะ นักเรียนศึกษาค้นคว้านิทานเทียบสุภาษิตเรื่องอื่น ๆ มาเล่าถ่ายทอด ให้เพื่อนฟัง ๙. สื ่ อ /แหล่ ง การเรี ย นรู ้
  • 9. 9 ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน ๒. รูปภาพ ๓. แถบบันทึกเสียง ๔. สื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ้ เล่ม ๑ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๕. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ้ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๖. แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๑ ๐ . บั น ท ึ ก ห ล ั ง ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๑. ความสำาเร็จในการจัดการเรียนรู้ แนวทางการพัฒนา ๒. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแก้ไข ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน เหตุผล ๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ลงชื่อ ผู้สอน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ การอ่านเรื่อง สองพี่น้อง
  • 10. 10 กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๒ ชั่วโมง ๑ . สา ร ะ ส ำา ค ั ญ การอ่านเป็นการฝึกทักษะทางภาษา ผู้ที่อ่านอย่างงสมำ่าเสมอจะ อ่านได้คล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของถ้อยคำาสำานวนภาษา จับใจ ความ สรุปความ และวิเคราะห์เรื่องที่อ่านได้ดี และมีความรู้อย่างกว้าง ขวาง ๒ . ตั ว ช ี ้ ว ั ด ช ั ้ น ป ี ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) ๒. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕) ๓. มีมารยาทในการอ่าน ท ๑.๑ (ป. ๔/๘) ๔. เขียนย่อความจากเรื่องสั้น ๆ ท ๒.๑ (ป. ๔/๔) ๕. ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำา ท ๔.๑ (ป. ๔/๓) ๖. แต่งบทร้อยกรองและคำาขวัญ ท ๔.๑ (ป. ๔/๕) ๗. ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรม ท ๕.๑ (ป. ๔/๑) ๘. อธิบายข้อคิดในการอ่านเพื่อนำาไปใช้ในชีวิตจริง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒) ๓ . จุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ 1. อ่านเรื่องราวแล้วสามารถจับใจความสำาคัญและสรุปข้อคิดจาก เรื่องที่อ่านได้ (K) 2. พูดและเขียนแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก และจินตนาการ ได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ (K, P) 3. อ่านออกเสียงคำาใหม่ และบอกความหมายได้ถูกต้อง (K, P) 4. เขียนย่อความเรื่องที่อ่านได้ถูกต้องตามรูปแบบการย่อความ (K, P) 5. แต่งคำาขวัญหรือบทร้อยกรองได้อย่างสร้างสรรค์ (P) 6. ใช้กระบวนการอ่าน พัฒนาความเข้าใจในการอ่าน และเป็น เครื่องมือในการพัฒนาตนเองในการดำาเนินชีวิตได้ (P) 7. มีความสนใจในการเรียนภาษาไทย (A)
  • 11. 11 ๔ . การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้ า น ค ุ ณ ธ ร ร ม ด้ า น ท ั ก ษ ะ แ ล ะ ด ้ า น ค ว า ม ร ู ้ (K) จริยธรรม ก ร ะ บ ว น ก า ร (P) แ ล ะ ค ่ า น ิ ย ม (A) ๑. สังเกตการณ์ ๑. ประเมินพฤติกรรมใน ๑. ประเมินทักษะการ ตอบคำาถาม การทำางาน อ่านออกเสียง และการตั้งคำาถาม เป็นรายบุคคลในด้าน ๒. ประเมินทักษะการ จาก ความสนใจ อ่านจับ เรื่องที่อ่าน และตังใจเรียน ความรับ ้ ใจความ ๒. สังเกตการณ์ ผิดชอบ สรุปข้อคิด ในการทำากิจกรรม ความ ๓. ประเมินทักษะการย่อ จากเรื่องที่อ่าน มีระเบียบ ความ วินัยในการทำางาน ฯลฯ ๔. ประเมินทักษะการ ๓. ตรวจผลการทำา ๒. ประเมินเจตคติที่ดีต่อ แต่งบท กิจกรรม การเรียนภาษาไทย ร้อยกรอง ๕. ประเมินทักษะ กระบวนการคิด ๖. ประเมินทักษะ กระบวนการกลุ่ม ๕ . สาระการเรียนรู้ การอ่านเรื่อง สองพี่น้อง ๖. แนวทางบูรณาการ สังคมศึกษา  ศึกษาเรื่องคุณธรรม จริยธรรมที่ ควรมีในสังคม/อ่าน ข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ ศิลปะ  เขียนตกแต่งระบายสีแถบประโยค ๗ . กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข ั้ น ท ี ่ ๑ น ำา เ ข ้ า ส ู ่ บ ท เ ร ี ย น ๑. ครูนำาข่าวจากหน้าหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวกับการแตกความ สามัคคีของคนในสังคมมาให้ นักเรียนดู และร่วมกันอภิปรายถึงที่มาของการทะเลาะเบาะแว้ง นั้น แล้วให้นักเรียน ยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่เคยพบเห็นจากประสบการณ์ของ นักเรียนเอง โดยครูใช้คำาถาม กระตุ้นดังนี้ ๑) การทะเลาะนั้นมีที่มาจากสาเหตุใด ๒) เราจะมีวิธีไหนบ้างที่จะหลีกเลี่ยงการทะเลาะและเผชิญ หน้ากันอย่างรุนแรงได้ ๓) ผลที่ได้รับจากการแตกความสามัคคีในข่าวนี้คืออะไร ๒. จากนั้นครูนำาข่าวที่เกี่ยวกับความกตัญญูของคนในสังคมอีก ข่าวหนึ่งมาให้นักเรียนดูและ
  • 12. 12 เปรียบเทียบกัน โดยครูใช้คำาถามกระตุ้น ดังนี้ ๑) การกระทำาของคนในข่าวนี้ควรได้รับผลตอบแทนจาก สังคมอย่างไรบ้าง ๒) สองข่าวนี้มีความเหมือนหรือความแตกต่างกันอย่างไร ๓) ถ้าให้นักเรียนเลือก นักเรียนอยากตกเป็นข่าวแบบไหน ในหน้าหนังสือพิมพ์ ๓. ครูบอกนักเรียนให้ทราบว่าวันนี้จะเรียนเรื่องคุณธรรมพื้นฐาน ที่นักเรียนควรมีในครอบครัว คือความสามัคคี และความกตัญญูต่อบิดามารดา ข ั ้ น ท ี ่ ๒ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ 1. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มละ ๔–๕ คน ให้แต่ละกลุ่มทำา กิจกรรม “การตั้งคำาถามจากเรื่องที่อ่าน” โดยครูแจกใบความ รู้เรื่อง การตั้งคำาถามพัฒนากระบวนการคิด ให้ทุกกลุ่มศึกษา และทำาความเข้าใจ 2. ครุสุ่มถามนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อหาในใบความรู้ เพื่อทดสอบ ความเข้าใจ 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านเรื่อง สองพี่น้อง ในหนังสือเรียน/สื่อ การเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ แล้วช่วยกันเขียนคำาถามพัฒนากระบวนการคิด หมวกความ คิด ๖ ใบ พร้อมคำาเฉลย กลุ่มละ ๖ คำาถาม ตามที่ได้ศึกษาจาก ใบความรู้ 4. ให้แต่ละกลุ่มจับสลากเพื่อส่งตัวแทนออกมาถามคำาถามเพื่อน กลุ่มอื่นหน้าชั้นเรียน กลุ่มที่ตอบคำาถามได้ จะได้คะแนน คำาถามละ ๑ คะแนน กลุ่มใดตอบคำาถามถูกต้องมากที่สุด เป็น ผู้ชนะ 5. นักเรียนช่วยกันคัดเลือกคำาถามที่สมาชิกในกลุ่มชอบมาก ที่สุด มาเขียนแถบประโยคคำาถามและคำาตอบ กลุ่มละ ๑ คำาถาม พร้อมทั้งเขียนกำากับไว้ด้วยว่าเป็นคำาถามจากหมวกสี อะไร ข ั ้ น ท ี ่ ๓ ฝึ ก ฝ น ผ ู ้ เ ร ี ย น ๑. นักเรียนอ่านออกเสียงเรื่อง สองพี่น้อง โดยอ่านเป็นกลุ่ม อ่าน เป็นคู่และอ่านกับครูเป็น รายบุคคล ๒. นักเรียนทำากิจกรรมที่เกี่ยวกับเนื้อเรื่อง สองพี่น้อง แล้วช่วยกัน เฉลยคำาตอบ ๓. นักเรียนอ่านคำาใหม่ในบทเรียน แล้วค้นหาความหมายจาก พจนานุกรม ๔. นักเรียนย่อความเรื่อง สองพี่น้อง ตามรูปแบบการย่อความ ๕. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเขียนคำาขวัญหรือแต่ง บทร้อยกรองที่มีข้อคิด เกี่ยวกับเรื่อง สองพี่น้อง ข ั้ น ท ี ่ ๔ น ำา ไ ป ใ ช ้ 1. นักเรียนรู้จักตั้งคำาถามเพื่อพัฒนาความคิดจากเรื่องต่างได้ ๆ 2. นักเรียนนำาข้อคิดที่ได้จากเรื่อง สองพี่น้อง ไปเป็นแบบอย่าง ในการปฏิบัติตนได้ ขั้นที่ ๕ สรุป
  • 13. 13 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปวิธีตั้งคำาถามและข้อคิดที่ได้จากเรื่อง สองพี่น้อง ๘ . กิจกรรมเสน อแ น ะ ๑. นักเรียนอ่านเรื่องที่ตนสนใจนอกเหนือจากในบทเรียน แล้วตั้ง คำาถามพร้อมเฉลยคำาตอบตาม แนวทางจากใบความรู้ ๒. นักเรียนอ่านนิทานคติธรรม แล้วสรุปข้อคิดที่ได้จากเรื่อง ๙ . สื ่ อ /แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๑. ข่าวจากหนังสือพิมพ์รายวัน ๒. ใบความรู้เรื่อง การตั้งคำาถามพัฒนากระบวนการคิด “หมวก ความคิด ๖ ใบ” ๓. สื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ้ เล่ม ๑ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๔. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ้ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๕. แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๑ ๐ . บั น ท ึ ก ห ล ั ง ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๑. ความสำาเร็จในการจัดการเรียนรู้ แนวทางการพัฒนา ๒. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแก้ไข ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน เหตุผล ๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ลงชื่อ ผู้สอน
  • 14. 14 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ ก า ร อ ่ า น ค ำา ท ี ่ ม ี ต ั ว ส ะ ก ด แ ม่ ก ก า แ ม่ ก ด แ ม่ ก น กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๑ ชั่วโมง ๑ . สา ร ะ ส ำา ค ั ญ การศึกษาเรื่อง มาตราตัวสะกด เป็นพื้นฐานทำาให้นักเรียนเข้าใจ หลักการเขียนสะกดคำาในภาษาไทย การฝึกให้นักเรียนอ่านคำาที่ใช้ตัว สะกดมาตราแม่ ก กา แม่กด และแม่กน จะทำาให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเขียนสะกดคำาที่ใช้มาตราตัวสะกดมาตรา แม่ ก กา แม่กด และแม่กน ได้ถูกต้อง ๒ . ตั ว ช ี ้ ว ั ด ช ั ้ น ป ี ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) ๒. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑) ๓. สะกดคำาและบอกความหมายของคำาในบริบทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑) ๓ . จุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ 1. อ่านคำาที่มีตัวสะกดในมาตราแม่ ก กา แม่กด และแม่กนได้ (P)
  • 15. 15 2. อ่านออกเสียง และบอกความหมายของคำา กลุ่มคำา และ ประโยคได้ (K, P) 3. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดได้ถูกต้องสวยงาม (P) 4. ใช้ทักษะทางภาษาไทยในการเรียน การแสวงหาความรู้ และ การทำางานร่วมกับผู้อื่นได้ (P) 5. มีความสนใจในการเรียนภาษาไทย (A) ๔ . การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้ า น ค ุ ณ ธ ร ร ม ด้ า น ท ั ก ษ ะ แ ล ะ ด ้ า น ค ว า ม ร ู ้ (K) จริยธรรม ก ร ะ บ ว น ก า ร (P) แ ล ะ ค ่ า น ิ ย ม (A) ๑. สังเกตการณ์ ๑. ประเมินพฤติกรรมใน ๑. ประเมินทักษะการ ตอบคำาถาม การทำางาน อ่านออกเสียง และการเขียนคำา เป็นรายบุคคลในด้าน ร้อยแก้ว ศัพท์ ความสนใจ ๒. ประเมินทักษะการ ๒. ตรวจผลการทำา และตังใจเรียน ความรับ ้ อ่านออกเสียง กิจกรรม ผิดชอบ ร้อยกรอง ในการทำากิจกรรม ความ มีระเบียบ ๓. ประเมินทักษะการคัด วินัยในการทำางาน ฯลฯ ลายมือ ๒. ประเมินเจตคติที่ดีต่อ ๔. ประเมินทักษะ การเรียนภาษาไทย กระบวนการคิด ๕. ประเมินทักษะ กระบวนการกลุ่ม ๕ . สาระการเรียนรู้ การอ่านแม่ ก กา แม่กด แม่กน ๖. แนวทางบูรณาการ ศิลปะ  เขียนและตกแต่งรูปเล่มรายงานผลการ ศึกษาค้นคว้าค ำ า สุขศึกษาฯ  เล่นเกม แข่งขันคำาศัพท์ ๗ . กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข ั้ น ท ี ่ ๑ น ำา เ ข ้ า ส ู ่ บ ท เ ร ี ย น ๑. ครูเขียนคำาต่อไปนี้บนกระดาน ไผ่ จด ขัน และร่วมกัน อภิปรายเกี่ยวกับคำาศัพท์นั้นๆ โดยครูใช้คำาถามกระตุ้น ดังนี้ – ถ้าเราสลับตัวสะกดของพยัญชนะเหล่านี้เพื่อสร้างคำา ใหม่ คำาเหล่านี้จะมีความหมาย หรือไม่ จากนั้นจึงให้นักเรียนแข่งขันกันเขียนคำาศัพท์ ๒. ครูให้นักเรียนแบ่งเป็น ๒ กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออก มากลุ่มละ ๓ คน แข่งขันกัน สร้างศัพท์ใหม่จากคำาศัพท์ที่ครูกำาหนดให้ โดยใช้พยัญชนะ และสระเดิม เปลี่ยนแต่เพียง
  • 16. 16 ตัวสะกด มีกติกาว่าจะต้องเป็นคำาที่มีความหมาย กลุ่มที่เขียน เสร็จก่อนเป็นผู้ชนะ เช่น ไผ่ – ไข่ จด – ผด – ขด ขัน – ผัน – จัน ๓. ครูบอกนักเรียนให้ทราบว่าตัวสะกดนั้นมีความสำาคัญกับความ หมายของคำามาก หาก ตัวสะกดเปลี่ยนไป ก็อาจทำาให้ความหมายของคำาเปลี่ยนแปลง ไปด้วย จากนั้นให้นักเรียน อ่านคำาบนกระดานพร้อม ๆ กัน แล้วพูดโยงเข้าเรื่องการอ่านคำา ที่มีตัวสะกด แม่ ก กา แม่กน และแม่กด ข ั ้ น ท ี ่ ๒ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ 1. นักเรียนดูคำาที่สะกดด้วยแม่ ก กา แม่กด และแม่กน จาก แผนภูมิที่ครูติดบนกระดาน แล้วฝึกอ่านออกเสียงพร้อมกัน ตั ว อ ย ่ า ง ค ำา ใคร เสีย พ่อ นำ้า เวลา เชิญ กิน ปลาวาฬ มโหฬาร สาร ราช ผลิต มงกุฎ บาด พิษ 2. นักเรียนสังเกตและสนทนาเรื่องส่วนประกอบของคำา ตาม ประเด็นคำาถามต่อไปนี้ ๑) ส่วนประกอบของคำามีอะไรบ้าง ๒) จากตัวอย่างคำาที่กำาหนดให้ มีตัวสะกดในแม่ใดบ้าง ๓) คำาใดบ้างที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา ๓. นักเรียนร่วมกันตั้งคำาถามจากการอภิปรายในข้อ ๒ โดยใช้ แนวการตั้งคำาถาม เช่น ๑ ) มีคำาใดอีกบ้างที่สะกดไม่ตรงตามมาตราแม่ ก กา แม่กด และแม่กน ๒) คำาที่สะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตราเหล่านี้ เขียนเป็นคำาอ่านว่าอย่างไร ๔. นักเรียนและครูร่วมกันกำาหนดประเด็นที่จะศึกษาเกี่ยวกับคำา และการอ่านคำาในแม่ ก กา แม่กด และแม่กน ๕. นักเรียนและครูนำาประเด็นที่จะศึกษาจากข้อ ๔ แล้วร่วมกัน อภิปราย โดยอาจเลือกใช้วิธี ดังนี้ ๑) สำารวจคำาที่สะกดในแม่ ก กา แม่กด และแม่กน ทั้งที่ตรง ตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา จากหนังสือเรียน หรือจากหนังสืออื่น ๆ ๒) จดบันทึกคำาต่าง ๆ เหล่านั้นลงในสมุด และเขียนคำาอ่าน ของทุกคำา ๖. นักเรียนทำากิจกรรมจากใบงานที่ ๑ เรื่อง สำารวจคำาที่มีตัว สะกดในแม่ ก กา แม่กด และ แม่กน เสร็จแล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องและฝึกอ่านคำา ทุกคำาให้คล่อง โดยสมาชิกใน
  • 17. 17 กลุ่มผลัดกันอ่านผลัดกันฟังวิพากษ์วิจารณ์และคัดเลือกตัวแทน ที่อ่านได้ถูกต้องตามอักขวิธี ออกมาประกวดอ่านร้อยกรอง “แม่ไก่อยู่ในตะกร้า ” หน้าชัน ้ เรียน ๗. นักเรียนฝึกคัดและเขียนคำาให้ถูกต้องสวยงาม โดยสมาชิกใน กลุ่มคัดเลือก ผู้ที่ลายมือสวย เขียนตัวอักษรได้ชัดเจนถูกต้องเป็นตัวแทนกลุ่มออกมา ประกวดคัดลายมือบทร้อยกรอง แม่ ไก่ในตะกร้า หน้าชั้นเรียน ๘. นักเรียนและครูร่วมกันคัดเลือกผู้ที่อ่านและเขียนได้ดีที่สุดเพื่อ รับรางวัล ๙. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์สรุปหลักและวิธีการอ่าน คำาที่สะกดตรงและไม่ตรงตาม มาตราในแม่ ก กา แม่กด และแม่ กน ๑๐. นักเรียนเขียนสรุปความรู้ที่ได้จากการเรียนลงในแบบบันทึก ความรู้ ๑๑. นักเรียนจัดทำารายงานเสนอผลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าคำา ที่ได้จากข้อเป็นรูปเล่มรายงาน ตกแต่งให้สวยงาม ๑๒. นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมา และการ ปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดบ้างที่ยัง ไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้ นักเรียนเข้าใจ ๑๓. นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหา หรืออุปสรรคใด และได้มีการ แก้ไขอย่างไรบ้าง ๑๔. นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ ที่ได้รับจากการปฏิบัติ กิจกรรม และการนำาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ ๑๕. ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบคำาถาม เช่น ๑) คำาที่สะกดไม่ตรงตามมาตรา เช่น คำาว่า มอญ อิฐ เป็น คำาที่มีตัวสะกดอยู่ใน มาตราใดและเขียนเป็นคำาอ่านว่าอย่างไร ๒) ครูสุ่มนักเรียน ๒–๓ คน ยกตัวอย่างคำาที่ใช้กันในชีวิต ประจำาวัน ที่สะกดใน แม่ ก กา แม่กด และแม่กน มาอย่างละ ๒ คำา ทั้งที่สะกด ตรงตามมาตราและไม่ ตรงตามมาตรา ข ั ้ น ท ี ่ ๓ ฝึ ก ฝ น ผ ู ้ เ ร ี ย น 1. นักเรียนทำากิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านคำาที่มีตัวสะกดแม่ ก กา แม่กด แม่กน แล้วช่วยกันเฉลยคำาตอบ 2. นักเรียนทำากิจกรรมตามใบงานที่ ๒ เรื่อง สำารวจคำาในหนังสือ เล่มโปรด แล้วช่วยกันเฉลยคำาตอบ ข ั้ น ท ี ่ ๔ น ำา ไ ป ใ ช ้ 1. นักเรียนนำาความรู้จากการศึกษาเรื่อง การอ่านคำาที่มีตัวสะกด แม่ ก กา แม่กด แม่กน ไปใช้ในการอ่านและเขียนในชีวิต ประจำาวัน 2. นักเรียนนำาไปใช้ในการอ่านข้อความจากป้ายหรือหนังสืออื่น ๆ ที่มีคำาที่สะกดด้วยมาตราแม่ ก กา แม่กด แม่กน ได้ถูกต้อง ขั้นที่ ๕ สรุป
  • 18. 18 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง การอ่านคำาที่มีตัวสะกด แม่ ก กา แม่กด แม่กน ๘ . กิจกรรมเสน อแ น ะ นักเรียนฝึกอ่านคำาที่มีตัวสะกดจากหนังสือพิมพ์หรือวารสารต่าง ๆ แล้วฝึกคัดด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๙ . สื ่ อ /แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๑. แผนภูมิคำาศัพท์ ๒. ใบงานที่ ๑ เรื่อง สำารวจคำาในแม่ ก กา แม่กด แม่กน ๓. ใบงานที่ ๒ เรื่อง สำารวจคำาศัพท์ในนิทานเล่มโปรด ๔. บทร้อยกรอง แม่ในตะกร้า ๕. แบบบันทึกความรู้ ๖. สื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ้ เล่ม ๑ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๗. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๘. แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ้ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๑ ๐ . บั น ท ึ ก ห ล ั ง ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๑. ความสำาเร็จในการจัดการเรียนรู้ แนวทางการพัฒนา ๒. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแก้ไข ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน เหตุผล ๔. การปรับปรุงผ น ก า ร จ ดการเรีเยนรูน ร ู ้ ท ี ่ ๔ แ แผนการจั ั ด ก า ร ร ี ย ้ ก า ร อ ่ า น ค ำา ท ี ่ อ อ ก เ ส ี ย ง ร ล กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๑ ชั่วโมง
  • 19. 19 ๑ . สา ร ะ ส ำา ค ั ญ คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น ควรฝึกอ่านให้ถูกต้อง ชัดเจน เป็น นิสัย เพื่อจะได้ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้อง และเห็นคุณค่าของการใช้ ภาษาไทยที่ถูกต้อง ๒ . ตั ว ช ี ้ ว ั ด ช ั ้ น ป ี ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) ๒. สะกดคำาและบอกความหมายของคำาในบริบทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑) ๓ . จุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๑. อ่านออกเสียงคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้นได้ถูกต้องชัดเจน (K, P) ๒. สะกดคำา และบอกความหมายคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้นได้ ถูกต้อง (K, P) ๓. เห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทย (A) ๔ . การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้ า น ค ุ ณ ธ ร ร ม ด้ า น ท ั ก ษ ะ แ ล ะ ด ้ า น ค ว า ม ร ู ้ (K) จริยธรรม ก ร ะ บ ว น ก า ร (P) แ ล ะ ค ่ า น ิ ย ม (A) ๑. สังเกตการณ์ ๑. ประเมินพฤติกรรมใน ๑. ประเมินทักษะการ ตอบคำาถาม การทำางาน อ่านออกเสียง และการสนทนา เป็นรายบุคคลในด้าน ๒. ประเมินทักษะ พูดคุย ความสนใจ กระบวนการคิด ๒. ตรวจผลการทำา และตังใจเรียน ความรับ ้ กิจกรรม ผิดชอบ ๓. ประเมินกระบวนการ ในการทำากิจกรรม ความ กลุ่ม มีระเบียบ วินัยในการทำางาน ฯลฯ ๒. ประเมินเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาไทย ๕ . สาระการเรียนรู้ คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น ๖. แนวทางบูรณาการ คณิตศาสตร์  บันทึกสถิติการออกเสียงคำา ร ล ของเพื่อนในชั้นเรียน
  • 20. 20 สังคมศึกษาฯ  ออกเสียงคำา ร ล ในการพูดคุยใน ชีวตประจำาวันได้ถูกต้อง ิ ชัดเจน ภาษาต่างประเทศ  เปรียบเทียบการออกเสียง ร ล กับ พยัญชนะภาษาอังกฤษ (R, L) การงานอาชีพฯ  ออกแบบและทำาบัตรคำา ๗ . กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ ๑ ข ั้ น น ำา เ ข ้ า ส ู ่ บ ท เ ร ี ย น ๑. นักเรียนฟังข้อความจากแถบบันทึกเสียงหรือครูอ่านให้ฟัง แล้วช่วยกันบอกประโยคที่ได้ฟัง และสังเกตการณ์ออกเสียงและตำาแหน่งของลิ้น ประโยคที่ครูอ่านให้ฟัง รีบลอดรั้วเล็ก ๆ อย่าลุกลน เขาเดือดร้อนเวลาถูกล้อ เลียน เรือล่องลอยไปไม่เห็นร่อง รอย เราเลื่อนรถไปจอดหน้าร้าน เลิศรส ๒. นักเรียนช่วยกันสรุปข้อสังเกตการออกเสียง ร ล โดยครู อธิบายเพิ่มเติมว่าการ ออกเสียง ร ปลายลิ้นอยู่หลังฟันบนและสั่นรัว การออกเสียง ล ปลายลิ้นจะแตะปุ่มเหงือก ด้านหลังฟันบน ขั้นที่ ๒ กิจกรรมก ารเรียนรู้ ๑. นักเรียนฟังการออกเสียง ร ล แล้วฝึกออกเสียงตาม ๒. นักเรียนจับคู่กับเพื่อนฝึกอ่านออกเสียง ร ล จากบัตรคำาต่อไป นี้ รุ้ง รีบ ร้าย เร่ง ลอด ลับ ลวด ลิง ลม ร้อย ๓. นักเรียนศึกษาเรื่อง คำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น จากหนังสือ เรียน/สื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ๔. นักเรียนทำากิจกรรมจากใบงานที่ ๓ เรื่อง การออกเสียงคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น แล้ว ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นที่ ๓ ฝึกฝนผู้เรีย น ๑. นักเรียนทำากิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านคำาที่ออกเสียง ร ล แล้ว ช่วยกันเฉลยคำาตอบ
  • 21. 21 ๒. นักเรียนอ่านข่าว บทความที่มีคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น รวมอยู่ให้ครูหรือผู้ปกครองฟัง ๓. นักเรียนหาคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้นจากเรื่อง สองพี่น้อง ทำาเป็นบัตรคำา โดยให้ มีทั้งอ่านเป็นคำา อ่านเป็นประโยค เก็บไว้ฝึกอ่านในชั้นเรียน ๔. นักเรียนสังเกตการพูดของเพื่อนในห้องเรียนว่าออกเสียงควบ กลำ้าถูกต้องหรือไม่ บันทึกสถิติ แล้วนำามาสรุปผล เพื่อหาทางแก้ไขให้เพื่อนที่พูด ไม่ชัดได้ฝึกออกเสียงให้ชัดเจน ขึ้น ขั้นที่ ๔ น ำา ไ ป ใ ช ้ ๑. นักเรียนอ่านออกเสียงคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้นได้ถูกต้อง และนำาไปใช้พูดสื่อสารใน ชีวิตประจำาวันและในการเรียน ๒. นักเรียนแนะนำาให้ผู้อื่นพูดหรืออ่านคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะ ต้นและคำาควบกลำ้าได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว และนำาไปใช้พูดจนติดเป็นนิสัย เป็นการส่งเสริม การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ขั้นที่ ๕ สรุป นักเรียนช่วยกันสรุปการอ่านออกเสียงคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะ ต้น พร้อมยกตัวอย่าง แล้วบันทึกลงสมุด ๘ . กิจกรรมเสน อแ น ะ ๑ . อ่านคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะจากหนังสือพิมพ์หรือหนังสือ เรียนวิชาต่าง ๆ ๒. นักเรียนเปรียบเทียบการออกเสียง ร ล กับพยัญชนะ R, L ใน ภาษาอังกฤษว่าเหมือน หรือต่างกันอย่างไร ๙ . สื ่ อ /แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๑. บัตรคำา ๒. แถบบันทึกเสียง ๓. ตัวอย่างข้อความ ๔. ใบงานที่ ๓ เรื่อง การอ่านออกเสียงคำาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะ ต้น ๕. สื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ้ เล่ม ๑ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๖. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ้ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๗. แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ้ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด
  • 22. 22 ๑ ๐ . บั น ท ึ ก ห ล ั ง ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๑. ความสำาเร็จในการจัดการเรียนรู้ แนวทางการพัฒนา ๒. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแก้ไข ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน เหตุผล ๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ลงชื่อ ผู้สอน
  • 23. 23 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ ก า ร อ ่ า น ค ำา ท ี ่ อ อ ก เ ส ี ย ง อ ะ กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๑ ชั่วโมง ๑ . สา ร ะ ส ำา ค ั ญ ภาษาไทยมีคำาที่ออกเสียง อะ อยู่มากมาย ซึ่งบางครั้งเราอาจใช้ ไม่ถูกต้อง การศึกษา การฝึกอ่าน ฝึกเขียน คำาที่ออกเสียง อะ จะทำาให้ ใช้คำาดังกล่าวในการสื่อสารได้ถูกต้อง ๒ . ตั ว ช ี ้ ว ั ด ช ั ้ น ป ี ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) ๒. สะกดคำาและบอกความหมายของคำาในบริบทต่าง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑) ๓ . จุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๑. อ่านคำาที่ออกเสียง อะ ได้ (K, P) ๒. อ่านออกเสียง และบอกความหมายของคำา กลุ่มคำา และ ประโยคได้ (K, P) ๓. มีความสนใจในการเรียนภาษาไทย (A) ๔ . การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้ า น ค ุ ณ ธ ร ร ม ด้ า น ท ั ก ษ ะ แ ล ะ ด ้ า น ค ว า ม ร ู ้ (K) จริยธรรม ก ร ะ บ ว น ก า ร (P) แ ล ะ ค ่ า น ิ ย ม (A)
  • 24. 24 ๑. สังเกตการตอบ ๑. ประเมินพฤติกรรมใน ๑. ประเมินทักษะการ คำาถาม การทำางาน อ่านออกเสียง และการอ่านคำาที่ เป็นรายบุคคลในด้าน ๒. ประเมินทักษะการ ออกเสียง ความสนใจ เขียน อะ และตังใจเรียน ความรับ ้ ๒. ตรวจผลการทำา ผิดชอบ ๓. ประเมินทักษะ กิจกรรม ในการทำากิจกรรม ความ กระบวนการคิด มีระเบียบ ๔. ประเมินกระบวนการ วินัยในการทำางาน ฯลฯ กลุ่ม ๒. ประเมินนิสัยรักการอ่าน และมารยาทในการ อ่าน ๕ . สาระการเรียนรู้ การอ่านคำาที่ออกเสียง อะ ๖. แนวทางบูรณาการ สังคมศึกษาฯ  สนทนาเกี่ยวกับข้อคิด คติเตือน ใจจากเรื่อง นำ้าใจเด็กน้อย สุขศึกษาฯ  รวบรวมชื่อกีฬาที่มีคำาที่ออกเสียง อะ ๗ . กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ ๑ ข ั้ น น ำา เ ข ้ า ส ู ่ บ ท เ ร ี ย น ๑. ครูเลือกนักเรียน ๕ คนที่มีชื่อออกเสียง อะ ทั้งชื่อที่มีรูปสระ อะ และไม่มีรูปสระอะ เช่น กีรติ ประภัสสร ธนพล วีระ ปัทมา ให้ออกไปเขียนชื่อ ตนเองบนกระดาน และให้ นักเรียนอ่านพร้อมกัน ๒. ครูแนะให้นักเรียนเห็นว่า คำาที่ออกเสียง อะ บางคำามีรูป –ะ ปรากฏ บางคำาไม่มีรูป –ะ ปรากฏ ขั้นที่ ๒ กิจกรรมก ารเรียนรู้ ๑. นักเรียนศึกษาเรื่องคำาที่ออกเสียง อะ ในหนังสือเรียน/สื่อการ เรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ โดยครูอธิบายประกอบ ้ การซักถามเพิ่มเติม และให้ นักเรียนอ่านตัวอย่างคำาที่ออกเสียง อะ จากบัตรคำา ๒. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๕ กลุ่ม ครูแบ่งเนื้อหาเรื่อง สองพี่น้อง ในหนังสือเรียน/สื่อการ เรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ออกเป็น ้ ๕ ตอน ให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มอ่านและรวบรวมคำาที่ออกเสียง อะ ทั้งที่มีรูป –ะ และไม่มีรูป –ะ ที่อยู่ในตอนนั้น ๆ แล้วออกมาเขียนคำาบนกระดาน ๓. นักเรียนและครูช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ๔. นักเรียนฝึกอ่านคำาที่ออกเสียง อะ บนกระดาน ขั้นที่ ๓ ฝึกฝนผู้เรีย น
  • 25. 25 ๑. นักเรียนทำากิจกรรมที่เกี่ยวกับการอ่านคำาที่ออกเสียง อะ ๒. นักเรียนอ่านบทอ่านเสริมเรื่อง นำ้าใจเด็กน้อย แล้วหาคำาที่ ออกเสียง อะ ที่ปรากฏรูป –ะ และไม่ปรากฏรูป –ะ จดบันทึกและเขียนคำาอ่าน แล้วทำา กิจกรรมเกี่ยวกับบทอ่านเสริม ๓. สำารวจห้องเรียน เขียนคำาที่ออกเสียง อะ ที่พบในห้องเรียน เช่น ประตู ถังขยะ กระดาน แล้วแต่งเรื่องสั้น ๆ ๑ เรื่อง ข ั้ น ท ี ่ ๔ น ำา ไ ป ใ ช ้ ๑. นักเรียนนำาความรู้จากการศึกษาเรื่อง คำาที่ออกเสียง อะ ไปใช้ อ่านและเขียนใน ชีวิตประจำาวัน ๒. นักเรียนสำารวจคำาที่ออกเสียง อะ ที่พบเห็นในชีวิตประจำาวัน แล้วจดบันทึก มาแลกเปลี่ยนกันดูกับเพื่อน ขั้นที่ ๕ สรุป นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาสรุปเรื่อง คำาที่ออกเสียง อะ ๘ . กิ จ ก ร ร ม เ ส น อ แ น ะ ๑ . อ่านคำาที่ออกเสียง อะ จากหนังสือพิมพ์หรือหนังสือเรียนวิชา ต่าง ๆ ๒. รวบรวมชื่อกีฬาที่มีคำาที่ออกเสียง อะ แล้วนำามาฝึกอ่านกับ เพื่อน ๓. นักเรียนประกวดการอ่านออกเสียงคำาที่อ่านออกเสียง อะ แล้ว คัดเลือกผู้ชนะเลิศจากการ อ่านมาเป็นแบบอย่างให้นักเรียนคนอื่น ๆ ต่อไป ๙ . สื ่ อ /แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๑. บัตรคำา ๒. สื่อการเรียนรู้ ภาษาไทย สมบูรณ์แบบ ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ้ เล่ม ๑ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๓. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชันประถมศึกษาปีที่ ๔ ้ บริษัท สำานักพิมพ์ วัฒนาพานิช จำากัด ๔. แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ บริษัท สำความสำมพ์ จในการจัดการเรียนรู้ ๑. านักพิ าเร็ ช จำากัด วัฒนาพานิ แนวทางการพัฒนา ๑ ๐ . บั น ท ึ ก ห ล ั ง ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ๒. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ แนวทางแก้ไข ๓. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตามแผน เหตุผล ๔. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ ลงชื่อ ผู้สอน
  • 26. 26 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ ก า ร พ ู ด แ น ะ น ำา ต น เ อ ง แ ล ะ ก า ร พ ู ด ส น ท น า กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๒ ชั่วโมง ๑ . สา ร ะ ส ำา ค ั ญ การพูดแนะนำาตัวและการพูดสนทนา ควรใช้ภาษาสุภาพเพื่อ แสดงถึงมิตรไมตรีและความเคารพซึ่งกันและกัน ๒ . ตั ว ช ี ้ ว ั ด ช ั ้ น ป ี ๑. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง และดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๓) ๒. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา ท ๓.๑ (ป. ๔/๕) ๓. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)