มคอ.3 สารสนเทศ

ธวัลรัตน์ ครุฑธานุชาติ
ธวัลรัตน์ ครุฑธานุชาติวิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี
รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบันการพลศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาเขตอุดรธานี
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา ศท 051001 สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information for
Learning)
2. จานวนหน่วยกิต 3(3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตร ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา
ประเภทของรายวิชา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ธนวรรณ ชุมแวงวาปี อาจารย์ผู้สอน
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษา ภาคปลาย / ชั้นปีที่ 1
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี
8. สถานที่เรียน ห้อง 131 คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาลัยเขตอุดรธานี
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 31 ตุลาคม 2555
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1.1 รู้และเข้าใจทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท
1.2 สามารถกาหนดความต้องการสารสนเทศของตนเองได้
1.3 ทราบแหล่งและวิธีการค้นหาทรัพยากรสารสนเทศ
1.4 สามารถเลือก ประเมิน และสังเคราะห์สารสนเทศไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
1.5 สามารถเรียบเรียงและนาเสนอสารสนเทศด้วยภาษาและรูปแบบที่ถูกต้อง
1.6 สามารถวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้สารสนเทศและบริบททางสังคมที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ
และการใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรมและชอบด้วยกฎหมาย
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
2.1 เพิ่มการศึกษาดูงานนอกสถานที่
2.2 เพื่อให้นักศึกษามีพื้นฐานความรู้ที่เป็นรูปธรรมในการศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ได้ด้วยตัวเองวิชาอื่นๆ
ในทุกสาขาวิชา
2.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ในวิชานี้เพื่อแก้ปัญหาการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้ด้วยตนเอง
ตลอดเวลาที่ศึกษาในสถาบันฯ และตลอดชีวิต
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับสารสนเทศประเภทต่างๆ แหล่งสารสนเทศและทักษะสารสนเทศ การกาหนดความ
ต้องการสารสนเทศ การแสวงหาและสืบค้นสารสนเทศทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การประเมิน
มคอ. 3
2
สารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ การนาเสนอและเผยแพร่สารสนเทศ บริบททางสังคมที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ
และการใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรมและชอบด้วยกฎหมาย
1. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน
ภาคสนาม / การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
บรรยาย 45 ชั่วโมง
ต่อภาคการศึกษา
สอนเสริมตามความ
ต้องการของนักศึกษา
เฉพาะราย
มีการฝึกปฏิบัติการสืบค้น
ในห้องสมุดและ
อินเตอร์เน็ต
ตลอดภาคการศึกษา
6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
2. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
- นักศึกษาสามารถ Email มาปรึกษาได้ทุกเวลาที่ thanawan288@gmail.com
- อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะ
รายที่ต้องการ)
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1.คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
- การมีส่วนร่วม
- การเข้าชั้นเรียน
- การแต่งกาย
- ความซื่อสัตย์
- ความตรงต่อเวลา
- ความรับผิดชอบต่องาน
1.2. วิธีการสอน
1.2.1 อ่านบทความประเด็นปัญหาสังคม วิเคราะห์ อภิปรายแสดงความคิดเห็นรายบุคคล
1.2.2 เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา และการแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของสถาบันฯ
1.2.3 แทรกคุณธรรม จริยธรรม ในระหว่างที่บรรยายและฝึกปฏิบัติศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดย
การพุดคุยกับนักศึกษา เน้นความรับผิดชอบต่องาน วินัย จรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่
ความถ่อมตนและความมีน้าใจต่อเพื่อนร่วมงานและครูอาจารย์
1.3. วิธีการประเมินผล
1.3.1 การประเมินจากการชั้นงานสรุปประเด็นปัญหา วิธีการแก้ไขและข้อเสนอแนะ
1.3.2 การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการแสดงออกทางคุณลักษณะที่พึงประสงค์
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1 ความหมาย ความสาคัญ ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ
2.1.2 แหล่งสารสนเทศภายในสถาบัน และแหล่งสารสนเทศอื่นๆ
2.1.3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
2.1.4 การสืบค้นสารสนเทศจากแหล่งสารสนเทศภายในสถาบัน
3
2.1.5 การสืบค้นผ่านระบบเครือข่าย และระบบเครือข่ายห้องสมุดต่างๆ เป็นต้น
2.1.6 การเลือก ประเมิน และสังเคราะห์สารสนเทศไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.1.7 การเรียบเรียงและนาเสนอรายงาน
หมวดที่ 4 (ต่อ)
2.2 วิธีการสอน
2.2.1 การบรรยาย อภิปราย
2.2.2 Demonstration
2.2.3 กิจกรรมกลุ่มย่อย (Cooperative/Collaborative Learning)
2.2.4 เทคนิค Jigsaw
2.2.5 Problem-Based Learning
2.2.6 Concept Attainment Method
2.2.7 Field Trip Study
2.2.8 Surveying
2.2.9 Direct Method
2.2.10 Graphic Organizer
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1 การนาเสนอหน้าชั้นเรียน การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2 ประเมินจากรายงานและแฟ้มผลงานประจารายวิชา
2.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการทางานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
ความสามารถในการคิดและหาเหตุผลอย่างเป็นระบบ ความสามารถในการประยุกต์ความรู้ใน
วิชานี้เพื่อแก้ปัญหาในการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้ด้วยตนเอง
3.2 วิธีการสอน
3.2.1 จัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
3.2.2 ฝึกทักษะการคิด ทั้งในระดับบุคคล และกลุ่ม เช่น สะท้อนคิด อภิปรายกลุ่ม ฯลฯ
3.2.3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสได้ปฏิบัติงานจริง
3.3 วิธีการประเมินผล
สอบย่อยและปลายภาค ที่ให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา
หมวดที่ 4 (ต่อ)
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
4.1.1 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในฐานะผู้นาหรือสมาชิกของกลุ่ม
4
4.1.2 สามารถปรับตัว รับฟัง ยอมรับความคิดเห็น และทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นาและ
สมาชิกของกลุ่ม
4.1.3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.1.4 สามารถรวมกลุ่มคิดริเริ่ม วางแผน และตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม รวมทั้ง
ดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข
4.1.5 รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
4.2 วิธีการสอน
4.2.1 อภิปรายกลุ่ม และการนาเสนองานในชั้นเรียน
4.2.2 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทางานเป็นกลุ่มและงานที่ต้องมีปฎิสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
4.2.3 สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1 ใช้แบบประเมินพฤติกรรมกลุ่ม
4.3.2 การนาเสนอผลงานเป็นกลุ่ม และเป็นรายบุคคล
4.3.3 ประเมินผลงานที่ทาแบบฝึกหัด
4.3.4 ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถใช้ทักษะด้านการคิดคานวณ การสรุปคะแนนในแบบสังเกตพฤติกรรม และการ
ประเมินผลงานของตนได้
5.1.2 สามารถใช้ทักษะฟัง พูด อ่าน และเขียน เพื่อการเรียน การมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน กับครู
5.1.3 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานการณ์เพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วย
ตนเอง นาเสนอ และสื่อสาร จากงานที่ได้รับมอบหมาย
หมวดที่ 4 (ต่อ)
5.2 วิธีการสอน
5.2.1 จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ในระหว่าง
ผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้น
5.2.2 จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หลากหลายและเหมาะสม ในการนาเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.3 จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนนาเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ทักษะการพูดในการนาเสนอผลงานในชั้นเรียน
5.3.2 ทักษะการเขียนรายงาน
5.3.3 ทักษะการนาเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.4 ความสามารถในการใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์ ให้คะแนนได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
5
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอนและสื่อที่ใช้
ผู้สอน
1 การปฐมนิเทศรายวิชา 3 1. แนะนาผู้สอนและผู้เรียน
2. ชี้แจงรายวิชา แผนการจัดกิจกรรม การ
ประเมินผล
3. กาหนดข้อตกลงร่วมกันในรายวิชา
4. ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดทาแฟ้ม
ผลงานรายวิชา และบันทึกการเรียนรู้
5. ทดสอบความรู้ก่อนเรียน
อ.ธนวรรณ
2 “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
สารสนเทศ”
1) ความหมาย
2) ความสาคัญ
3) ประโยชน์
4) แหล่งบริการสารสนเทศ
5) บริการสารสนเทศ
3 1. แจ้งคะแนนผลการทดสอบก่อนเรียน
2. แบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ 5 กลุ่ม ศึกษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่อง “ความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับสารสนเทศ” 8 หน้า กลุ่มแบ่งงาน
และสรุปสาระสาคัญ ตัวแทนนาเสนอ
3. อภิปรายร่วมกันให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับ “ความรู้
เบื้องต้นเกี่ยวกับสารสนเทศ”
4. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง
ที่ 1 และส่งในคาบ
อ.ธนวรรณ
3 แหล่งทรัพยากรภายใน
สถาบันฯ“ห้องสมุด”
1) การบริการในห้องสมุด
2) องค์ประกอบของห้องสมุด
3 1. กิจกรรมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทา
mind mapping
2. แบ่งกลุ่มนักศึกษา 4 กลุ่มศึกษาเนื้อหาใน
หนังสือเรื่อง “ห้องสมุด” กลุ่มละ 3 เล่ม
3. สมาชิกกลุ่มสรุปเนื้อหาในรูป mind map
แล้วตัวแทนกลุ่มนาเสนอหน้าชั้นเรียน
4. อภิปรายและสรุปเนื้อหาร่วมกันระหว่าง
ผู้เรียนและผู้สอน
5. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง
ที่ 2 และส่งในคาบ
6. นัดหมายสอบหลังเรียนในคาบถัดไป
อ.ธนวรรณ
หมวดที่ 5 (ต่อ)
1. แผนการสอน
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอนและสื่อที่ใช้
ผู้สอน
4 “สารสนเทศ, ห้องสมุดและ
ปัญหาของผู้เรียน”
และ “การวิเคราะห์ปัญหาที่
เกิดจากสารสนเทศ”
3 1. ศึกษาบทความ “ปัญญาชนที่ไม่อ่านหนังสือ”
แล้วให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์และตอบคาถาม
-ปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาของใคร
-มีปัญหาอะไรบ้าง
-มีวิธีการแนวทางแก้ไขอย่างไร
2. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอด้วยแผ่นชาร์ต ร่วมกัน
สรุปประเด็นปัญหาและส่งรายงานเอกสารที่พิมพ์
แล้วแก่อาจารย์ผู้สอน
อ.ธนวรรณ
6
3. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง
ที่ 3 และส่งในคาบ
4. นัดหมายส่ง portfolio ครั้งที่ 1 และทดสอบ
ย่อยครั้งที่ 1
5 “ประเภทของทรัพยากร
สารสนเทศ”
1) ตีพิมพ์
2) ไม่ตีพิมพ์
3) อิเลกทรอนิกส์
3 1. ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่อง “สารสนเทศและ
ห้องสมุด”
2. การสะท้อนปัญหาจากแฟ้มสะสมงาน
3. ทดสอบก่อนเรียนเรื่อง “ประเภทของ
ทรัพยากรสารสนเทศ”
4. นักศึกษาจับคู่ศึกษาเอกสาร “รายการ
ทรัพยากรสารสนเทศ39 รายการ” และให้
นักศึกษาในกลุ่มช่วยกันสร้างเกณฑ์แบ่งหมวดของ
ทรัพยากรออกเป็น 3 หมวดใหญ่
5. นักศึกษานาเสนอผลการแบ่งของตนและ
เขียนรายการบนกระดาน ทั้งชั้นร่วมกันตัดสิน
และพิจารณาที่เหมาะสมที่สุด ผู้สอนนาเสนอ
เกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับ
6. มอบหมายให้นักศึกษาเติมรายการทรัพยากร
ทั้ง 39 รายการ ลงในใบงาน
7. ร่วมกันทั้งชั้นช่วยกันเติมในช่องว่าง
6. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้และ
ส่งในคาบ
อ.ธนวรรณ
หมวดที่ 5 (ต่อ)
1. แผนการสอน
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอนและสื่อที่ใช้
ผู้สอน
6 “การสืบค้นทรัพยากร
สารสนเทศภายในสถาบัน”
3 1. นักศึกษารับบัญชีรายการทรัพยากรสารสนเทศ
39 รายการ เพื่อสืบค้นภายในหอสมุด สถาบัน
การพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี
2. นักศึกษาสารวจรายการว่ามีหรือไม่มี ถ้ามีอยู่
ตาแหน่งใด และยกตัวอย่างทรัพยากรสารสนเทศ
นั้นได้
3. สรุปร่วมกันว่ารายการบางอย่างมีและไม่มี
และตอบคาถามว่าวิธีการใดจะช่วยให้ค้นหาด้วย
เวลาที่สั้นที่สุด
4. ผู้สอนสรุปโดยใช้เอกสารประกอบการสอน
“ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ
ทรัพยากรสารสนเทศและประเภททรัพยากร
สารสนเทศ”
อ.ธนวรรณ
7 “การจัดเก็บทรัพยากร
สารสนเทศ”
3 1. กิจกรรมการสอนด้วยวิธีการ concept
attainment method
2. นักศึกษาศึกษารายการเลขหมู่หนังสือที่มี
รูปแบบที่ถูกต้องและที่ไม่ถูกต้อง หา
ความสัมพันธ์และเกิดมโนทัศน์ในการจัดหมวดหมู่
อ.ธนวรรณ
7
3. ผู้สอนนาเสนอรายการเลขหมู่ให้นักศึกษาจับคู่
ตอบคาถามว่ารายการที่ให้ถูกต้องหรือไม่
ช่วยกันค้นหา concept และสรุป
4. แจกเอกสารประกอบการสอน เรื่อง
“หลักการจัดเรียงหนังสือบนชั้น” ศึกษาร่วมกัน
5. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง
ที่ 5 และส่งในคาบ
หมวดที่ 5 (ต่อ)
1. แผนการสอน
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอนและสื่อที่ใช้
ผู้สอน
8 “การสืบค้นสารสนเทศโดยใช้
เทคโนโยลีเป็นเครื่องมือ”
3 1. กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ jigsaw
2. นักศึกษาศึกษาเอกสาร “การสืบค้นสารสนเทศ
โดยใช้เทคโนโยลีเป็นเครื่องมือ” ตามหัวข้อที่
ได้รับ
3. กลับมาที่กลุ่มนาเสนอหัวข้อที่ได้เรียนมา
4. สรุปประเด็นและนาเสนอเป็นแผนผัง mind
map ในกระดาษชาร์ท ตัวแทนกลุ่มนาเสนอ
5. ผู้สอนนาสรุปโดยใช้ชาร์ทที่เตรียมไว้
6. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง
ที่ 6 และส่งในคาบ
7. นัดหมายกิจกรรมศึกษาดูงานที่หอสมุด
ประชาชนเทศบาลนครอุดรธานี
อ.ธนวรรณ
9 การสืบค้นสารสนเทศจาก
แหล่งสารสนเทศภายนอก
สถาบัน
3 1. ผู้สอนแจกประเด็นในการศึกษาดูงาน
2. วิทยากรแนะนาหอสมุดประชาชนเทศบาล
นครอุดรธานี
3. สรุปงานส่งเป็นรายบุคคล
4. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง
ที่ 7 และส่งในคาบ
อ.ธนวรรณ
10 การสืบค้นผ่านระบบ
เครือข่าย และระบบ
เครือข่ายห้องสมุดต่างๆ เป็น
ต้น
3 1. นักศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง
“อินเตอร์เน็ต จรรยาบรรณในการใช้อินเตอร์เน็ต
และกฏหมายคอมพิวเตอร์”
2. แจกเอกสารเรื่อง “ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
อินเตอร์เน็ต”
3. ผู้สอนบรรยายประกอบการฉายเครื่อง
projector
4. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง
ที่ 8 และส่งในคาบ
อ.ธนวรรณ
11 การสืบค้นผ่านระบบ
เครือข่าย และระบบ
เครือข่ายห้องสมุดต่างๆ เป็น
ต้น
3 1. นักศึกษาทดลองใส่คาค้น
2. วิเคราะห์คาค้นที่ใส่และเหตุผลที่ทาให้ค้นได้ช้า
หรือค้นแล้วไม่พบทันที
3. ฝึกฝนการใส่คาค้นอื่น
4. ฝึกฝนการค้นจากหลายๆ เว็บ เช่น yahoo,
อ.ธนวรรณ
8
google, thailis, google scholar เป็นต้น
5. ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
หมวดที่ 5 (ต่อ)
1. แผนการสอน
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอนและสื่อที่ใช้
ผู้สอน
12 การเลือก ประเมิน และ
สังเคราะห์สารสนเทศไปใช้ได้
อย่างเหมาะสม
3 1. นักศึกษาศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน
2. ศึกษาในงาน “การเลือก ประเมิน และ
สังเคราะห์สารสนเทศ”
3. ทาแบบฝึกหัด
4. ผู้สอนและนักศึกษาร่วมกันสรุปผลการเรียน
อ.ธนวรรณ
13 การเรียบเรียงและการ
นาเสนอ
3 1. นักศึกษาตอบคาถามว่ารายงานคืออะไร
2. นักศึกษาทราบคาตอบจากใบงาน “การ
เรียบเรียงและการนาเสนอ”
3. นักศึกษาฝึกปฏิบัติการเรียบเรียงและ
นาเสนอโครงร่างหัวเรื่องของรายงานจาก
หัวข้อที่กาหนดให้
4. แต่ละเข้ารับคาวิจารณ์การปฏิบัติงานเพื่อ
การเรียนอย่างรอบรู้
5. เก็บใบบันทึกความรู้ที่ 9 ในแฟ้มผลงาน
อ.ธนวรรณ
14 การเรียบเรียงและการ
นาเสนอ (ต่อ)
3 1. นักศึกษาปฏิบัติการจัดทารายงานตามหัวข้อที่
ได้กาหนดขึ้นจากสัปดาห์ที่แล้ว
2. จัดทาเป็นรูปเล่มที่มีการเขียนที่ถูกต้องทั้ง
ลาดับและหลักการอ้างอิง
3. นักศึกษาร่วมกันประเมินผลงานของแต่ละกลุ่ม
4. รวมคะแนนและแจ้งให้ทราบ
อ.ธนวรรณ
15 สอบปลายภาคเรียน
1. นักศึกษาสอบปลายภาค
2. ส่งแฟ้มผลงาน
อ.ธนวรรณ
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. เอกสารและตาราหลัก
1) เตชา อัศวสิทธิถาวร. (2546). เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โสภณการพิมพ์.
2) ประทีป จรัสรุ่งรวีวร. (2535). ห้องสมุดและการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ : แสงศิลป์การพิมพ์.
3) ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ . (2540). การค้นคว้าและเขียนรายงาน. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
4) ลมุล รัตตากร. (2539). การใช้ห้องสมุด. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
5) วาณี ฐาปนวงศ์ศาสนติ. (2539). สารนิเทศกับการศึกษาค้นคว้า ฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
6) วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์. (2539). อินเตอร์เน็ตสาหรับผู้เริ่มต้น. กรุงเทพฯ : เม็ดทรายพริ้นติ้ง.
7) วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. (2542). เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟ เอ็ด
9
ดูเคชั่น.
8) ศิลปศาสตร์, สาขาวิชา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2545). เอกสารประกอบ
การสอนชุดวิชา สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น หน่วยที่ 1-5. กรุงเทพฯ :
อรุณการพิมพ์.
9) ศิลปศาสตร์, สาขาวิชา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2545). เอกสารประกอบ
การสอนชุดวิชา สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น หน่วยที่ 6-10. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.
10) สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. (2542). เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น.
11) อนงรักษ์ เทียมตะวัน. (2539). เอกสารประกอบการสอนและตาราวิชาห้องสมุดและ
การค้นคว้า. กรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ (จาเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมหรือไม่ ถ้าจาเป็นให้ใส่ด้วยคาอธิบายตัวสีแดงเขียนด้วย
ลายมือ)
-ไม่มี-
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
http://dcms.thailis.or.th/dcms/basic.php
http://www.library.msu.ac.th/web/index.php?forcehpmode=advsearch
http://library.cmu.ac.th/cmul/node/181
http://scholar.google.co.th/
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
1.1 การสนเทนาและการสังเกตระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสะท้อนของพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผลผู้สอน
2. การประเมินการสอน
2.1 จากการสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมสอน
2.2 ประเมินจากผลการประเมินผู้สอน
2.3 ผลการเรียนของนักศึกษา
2 การปรับปรุงการสอน
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอน จะมีการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- พัฒนากระบวนการเรียนการสอน
- การจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
- ศึกษาเอกสาร และทาวิจัยในการพัฒนาการเรียนการสอน
3 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ฝ่ายวิชาการทบทวน กลั่นกรองผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยพิจาณาการให้คะแนนข้อสอบ และ
การให้คะแนนพฤติกรรมจริยธรรม พฤติกรรมที่พึ่งประสงค์
10
4 การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
หมวดที่ 8 หมายเหตุสาคัญ
ตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนอย่างเคร่งครัด หากเข้าเรียนน้อยกว่าร้อยละ 80 (ขาดเกิน 3 ครั้ง) จะหมด
สิทธิสอบตามข้อบังคับฯ ของสถาบันฯ ต้องลงทะเบียนเรียนซ้า

Contenu connexe

Tendances(20)

แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut9.3K vues
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut3.8K vues
ชุดการสอนชุดการสอน
ชุดการสอน
นายสมหมาย ฉิมมาลี1.1K vues
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์14.6K vues
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
ไชยยา มะณี1.5K vues
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
Jiraporn35.2K vues
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
ครูนิรุต ฉิมเพชร50.5K vues
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
tanongsak thongyod19.9K vues
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
ราชประชานุเคราะห์ จังหวัดชุมพร38.1K vues
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์641 vues
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์1.7K vues

Similaire à มคอ.3 สารสนเทศ(20)

รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์906 vues
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์3.1K vues
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
Ajnawa Sing760 vues
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
นภสร ยั่งยืน121 vues
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
นิชานาถ เตชะพิมพ์806 vues
13101602_1_20230311-211610.pdf13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
ssuser49d4502 vues
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
kittitach067097.6K vues
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
supanyasaengpet1.2K vues

มคอ.3 สารสนเทศ

  • 1. รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาเขตอุดรธานี หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา ศท 051001 สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information for Learning) 2. จานวนหน่วยกิต 3(3-0-6) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตร ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา ประเภทของรายวิชา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ธนวรรณ ชุมแวงวาปี อาจารย์ผู้สอน 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษา ภาคปลาย / ชั้นปีที่ 1 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานที่เรียน ห้อง 131 คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาลัยเขตอุดรธานี 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 31 ตุลาคม 2555 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.1 รู้และเข้าใจทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท 1.2 สามารถกาหนดความต้องการสารสนเทศของตนเองได้ 1.3 ทราบแหล่งและวิธีการค้นหาทรัพยากรสารสนเทศ 1.4 สามารถเลือก ประเมิน และสังเคราะห์สารสนเทศไปใช้ได้อย่างเหมาะสม 1.5 สามารถเรียบเรียงและนาเสนอสารสนเทศด้วยภาษาและรูปแบบที่ถูกต้อง 1.6 สามารถวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้สารสนเทศและบริบททางสังคมที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ และการใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรมและชอบด้วยกฎหมาย 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา 2.1 เพิ่มการศึกษาดูงานนอกสถานที่ 2.2 เพื่อให้นักศึกษามีพื้นฐานความรู้ที่เป็นรูปธรรมในการศึกษาค้นคว้าและเรียนรู้ได้ด้วยตัวเองวิชาอื่นๆ ในทุกสาขาวิชา 2.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ในวิชานี้เพื่อแก้ปัญหาการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้ด้วยตนเอง ตลอดเวลาที่ศึกษาในสถาบันฯ และตลอดชีวิต หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับสารสนเทศประเภทต่างๆ แหล่งสารสนเทศและทักษะสารสนเทศ การกาหนดความ ต้องการสารสนเทศ การแสวงหาและสืบค้นสารสนเทศทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การประเมิน มคอ. 3
  • 2. 2 สารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ การนาเสนอและเผยแพร่สารสนเทศ บริบททางสังคมที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ และการใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรมและชอบด้วยกฎหมาย 1. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม / การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง บรรยาย 45 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา สอนเสริมตามความ ต้องการของนักศึกษา เฉพาะราย มีการฝึกปฏิบัติการสืบค้น ในห้องสมุดและ อินเตอร์เน็ต ตลอดภาคการศึกษา 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 2. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล - นักศึกษาสามารถ Email มาปรึกษาได้ทุกเวลาที่ thanawan288@gmail.com - อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะ รายที่ต้องการ) หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1.คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา - การมีส่วนร่วม - การเข้าชั้นเรียน - การแต่งกาย - ความซื่อสัตย์ - ความตรงต่อเวลา - ความรับผิดชอบต่องาน 1.2. วิธีการสอน 1.2.1 อ่านบทความประเด็นปัญหาสังคม วิเคราะห์ อภิปรายแสดงความคิดเห็นรายบุคคล 1.2.2 เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา และการแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของสถาบันฯ 1.2.3 แทรกคุณธรรม จริยธรรม ในระหว่างที่บรรยายและฝึกปฏิบัติศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดย การพุดคุยกับนักศึกษา เน้นความรับผิดชอบต่องาน วินัย จรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ ความถ่อมตนและความมีน้าใจต่อเพื่อนร่วมงานและครูอาจารย์ 1.3. วิธีการประเมินผล 1.3.1 การประเมินจากการชั้นงานสรุปประเด็นปัญหา วิธีการแก้ไขและข้อเสนอแนะ 1.3.2 การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการแสดงออกทางคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.1.1 ความหมาย ความสาคัญ ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ 2.1.2 แหล่งสารสนเทศภายในสถาบัน และแหล่งสารสนเทศอื่นๆ 2.1.3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ 2.1.4 การสืบค้นสารสนเทศจากแหล่งสารสนเทศภายในสถาบัน
  • 3. 3 2.1.5 การสืบค้นผ่านระบบเครือข่าย และระบบเครือข่ายห้องสมุดต่างๆ เป็นต้น 2.1.6 การเลือก ประเมิน และสังเคราะห์สารสนเทศไปใช้ได้อย่างเหมาะสม 2.1.7 การเรียบเรียงและนาเสนอรายงาน หมวดที่ 4 (ต่อ) 2.2 วิธีการสอน 2.2.1 การบรรยาย อภิปราย 2.2.2 Demonstration 2.2.3 กิจกรรมกลุ่มย่อย (Cooperative/Collaborative Learning) 2.2.4 เทคนิค Jigsaw 2.2.5 Problem-Based Learning 2.2.6 Concept Attainment Method 2.2.7 Field Trip Study 2.2.8 Surveying 2.2.9 Direct Method 2.2.10 Graphic Organizer 2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 การนาเสนอหน้าชั้นเรียน การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2.3.2 ประเมินจากรายงานและแฟ้มผลงานประจารายวิชา 2.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการทางานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ความสามารถในการคิดและหาเหตุผลอย่างเป็นระบบ ความสามารถในการประยุกต์ความรู้ใน วิชานี้เพื่อแก้ปัญหาในการศึกษาค้นคว้าเรียนรู้ด้วยตนเอง 3.2 วิธีการสอน 3.2.1 จัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 3.2.2 ฝึกทักษะการคิด ทั้งในระดับบุคคล และกลุ่ม เช่น สะท้อนคิด อภิปรายกลุ่ม ฯลฯ 3.2.3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสได้ปฏิบัติงานจริง 3.3 วิธีการประเมินผล สอบย่อยและปลายภาค ที่ให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา หมวดที่ 4 (ต่อ) 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 4.1.1 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในฐานะผู้นาหรือสมาชิกของกลุ่ม
  • 4. 4 4.1.2 สามารถปรับตัว รับฟัง ยอมรับความคิดเห็น และทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นาและ สมาชิกของกลุ่ม 4.1.3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป 4.1.4 สามารถรวมกลุ่มคิดริเริ่ม วางแผน และตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม รวมทั้ง ดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข 4.1.5 รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 4.2 วิธีการสอน 4.2.1 อภิปรายกลุ่ม และการนาเสนองานในชั้นเรียน 4.2.2 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทางานเป็นกลุ่มและงานที่ต้องมีปฎิสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล 4.2.3 สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร 4.3 วิธีการประเมินผล 4.3.1 ใช้แบบประเมินพฤติกรรมกลุ่ม 4.3.2 การนาเสนอผลงานเป็นกลุ่ม และเป็นรายบุคคล 4.3.3 ประเมินผลงานที่ทาแบบฝึกหัด 4.3.4 ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 5.1.1 สามารถใช้ทักษะด้านการคิดคานวณ การสรุปคะแนนในแบบสังเกตพฤติกรรม และการ ประเมินผลงานของตนได้ 5.1.2 สามารถใช้ทักษะฟัง พูด อ่าน และเขียน เพื่อการเรียน การมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน กับครู 5.1.3 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานการณ์เพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วย ตนเอง นาเสนอ และสื่อสาร จากงานที่ได้รับมอบหมาย หมวดที่ 4 (ต่อ) 5.2 วิธีการสอน 5.2.1 จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ในระหว่าง ผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้น 5.2.2 จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หลากหลายและเหมาะสม ในการนาเสนอหน้าชั้นเรียน 5.2.3 จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนนาเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3 วิธีการประเมินผล 5.3.1 ทักษะการพูดในการนาเสนอผลงานในชั้นเรียน 5.3.2 ทักษะการเขียนรายงาน 5.3.3 ทักษะการนาเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.4 ความสามารถในการใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์ ให้คะแนนได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง
  • 5. 5 หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 1 การปฐมนิเทศรายวิชา 3 1. แนะนาผู้สอนและผู้เรียน 2. ชี้แจงรายวิชา แผนการจัดกิจกรรม การ ประเมินผล 3. กาหนดข้อตกลงร่วมกันในรายวิชา 4. ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดทาแฟ้ม ผลงานรายวิชา และบันทึกการเรียนรู้ 5. ทดสอบความรู้ก่อนเรียน อ.ธนวรรณ 2 “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ สารสนเทศ” 1) ความหมาย 2) ความสาคัญ 3) ประโยชน์ 4) แหล่งบริการสารสนเทศ 5) บริการสารสนเทศ 3 1. แจ้งคะแนนผลการทดสอบก่อนเรียน 2. แบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ 5 กลุ่ม ศึกษา เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่อง “ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับสารสนเทศ” 8 หน้า กลุ่มแบ่งงาน และสรุปสาระสาคัญ ตัวแทนนาเสนอ 3. อภิปรายร่วมกันให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับ “ความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับสารสนเทศ” 4. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง ที่ 1 และส่งในคาบ อ.ธนวรรณ 3 แหล่งทรัพยากรภายใน สถาบันฯ“ห้องสมุด” 1) การบริการในห้องสมุด 2) องค์ประกอบของห้องสมุด 3 1. กิจกรรมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทา mind mapping 2. แบ่งกลุ่มนักศึกษา 4 กลุ่มศึกษาเนื้อหาใน หนังสือเรื่อง “ห้องสมุด” กลุ่มละ 3 เล่ม 3. สมาชิกกลุ่มสรุปเนื้อหาในรูป mind map แล้วตัวแทนกลุ่มนาเสนอหน้าชั้นเรียน 4. อภิปรายและสรุปเนื้อหาร่วมกันระหว่าง ผู้เรียนและผู้สอน 5. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง ที่ 2 และส่งในคาบ 6. นัดหมายสอบหลังเรียนในคาบถัดไป อ.ธนวรรณ หมวดที่ 5 (ต่อ) 1. แผนการสอน สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 4 “สารสนเทศ, ห้องสมุดและ ปัญหาของผู้เรียน” และ “การวิเคราะห์ปัญหาที่ เกิดจากสารสนเทศ” 3 1. ศึกษาบทความ “ปัญญาชนที่ไม่อ่านหนังสือ” แล้วให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์และตอบคาถาม -ปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาของใคร -มีปัญหาอะไรบ้าง -มีวิธีการแนวทางแก้ไขอย่างไร 2. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอด้วยแผ่นชาร์ต ร่วมกัน สรุปประเด็นปัญหาและส่งรายงานเอกสารที่พิมพ์ แล้วแก่อาจารย์ผู้สอน อ.ธนวรรณ
  • 6. 6 3. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง ที่ 3 และส่งในคาบ 4. นัดหมายส่ง portfolio ครั้งที่ 1 และทดสอบ ย่อยครั้งที่ 1 5 “ประเภทของทรัพยากร สารสนเทศ” 1) ตีพิมพ์ 2) ไม่ตีพิมพ์ 3) อิเลกทรอนิกส์ 3 1. ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่อง “สารสนเทศและ ห้องสมุด” 2. การสะท้อนปัญหาจากแฟ้มสะสมงาน 3. ทดสอบก่อนเรียนเรื่อง “ประเภทของ ทรัพยากรสารสนเทศ” 4. นักศึกษาจับคู่ศึกษาเอกสาร “รายการ ทรัพยากรสารสนเทศ39 รายการ” และให้ นักศึกษาในกลุ่มช่วยกันสร้างเกณฑ์แบ่งหมวดของ ทรัพยากรออกเป็น 3 หมวดใหญ่ 5. นักศึกษานาเสนอผลการแบ่งของตนและ เขียนรายการบนกระดาน ทั้งชั้นร่วมกันตัดสิน และพิจารณาที่เหมาะสมที่สุด ผู้สอนนาเสนอ เกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับ 6. มอบหมายให้นักศึกษาเติมรายการทรัพยากร ทั้ง 39 รายการ ลงในใบงาน 7. ร่วมกันทั้งชั้นช่วยกันเติมในช่องว่าง 6. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้และ ส่งในคาบ อ.ธนวรรณ หมวดที่ 5 (ต่อ) 1. แผนการสอน สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 6 “การสืบค้นทรัพยากร สารสนเทศภายในสถาบัน” 3 1. นักศึกษารับบัญชีรายการทรัพยากรสารสนเทศ 39 รายการ เพื่อสืบค้นภายในหอสมุด สถาบัน การพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี 2. นักศึกษาสารวจรายการว่ามีหรือไม่มี ถ้ามีอยู่ ตาแหน่งใด และยกตัวอย่างทรัพยากรสารสนเทศ นั้นได้ 3. สรุปร่วมกันว่ารายการบางอย่างมีและไม่มี และตอบคาถามว่าวิธีการใดจะช่วยให้ค้นหาด้วย เวลาที่สั้นที่สุด 4. ผู้สอนสรุปโดยใช้เอกสารประกอบการสอน “ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ ทรัพยากรสารสนเทศและประเภททรัพยากร สารสนเทศ” อ.ธนวรรณ 7 “การจัดเก็บทรัพยากร สารสนเทศ” 3 1. กิจกรรมการสอนด้วยวิธีการ concept attainment method 2. นักศึกษาศึกษารายการเลขหมู่หนังสือที่มี รูปแบบที่ถูกต้องและที่ไม่ถูกต้อง หา ความสัมพันธ์และเกิดมโนทัศน์ในการจัดหมวดหมู่ อ.ธนวรรณ
  • 7. 7 3. ผู้สอนนาเสนอรายการเลขหมู่ให้นักศึกษาจับคู่ ตอบคาถามว่ารายการที่ให้ถูกต้องหรือไม่ ช่วยกันค้นหา concept และสรุป 4. แจกเอกสารประกอบการสอน เรื่อง “หลักการจัดเรียงหนังสือบนชั้น” ศึกษาร่วมกัน 5. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง ที่ 5 และส่งในคาบ หมวดที่ 5 (ต่อ) 1. แผนการสอน สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 8 “การสืบค้นสารสนเทศโดยใช้ เทคโนโยลีเป็นเครื่องมือ” 3 1. กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ jigsaw 2. นักศึกษาศึกษาเอกสาร “การสืบค้นสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโยลีเป็นเครื่องมือ” ตามหัวข้อที่ ได้รับ 3. กลับมาที่กลุ่มนาเสนอหัวข้อที่ได้เรียนมา 4. สรุปประเด็นและนาเสนอเป็นแผนผัง mind map ในกระดาษชาร์ท ตัวแทนกลุ่มนาเสนอ 5. ผู้สอนนาสรุปโดยใช้ชาร์ทที่เตรียมไว้ 6. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง ที่ 6 และส่งในคาบ 7. นัดหมายกิจกรรมศึกษาดูงานที่หอสมุด ประชาชนเทศบาลนครอุดรธานี อ.ธนวรรณ 9 การสืบค้นสารสนเทศจาก แหล่งสารสนเทศภายนอก สถาบัน 3 1. ผู้สอนแจกประเด็นในการศึกษาดูงาน 2. วิทยากรแนะนาหอสมุดประชาชนเทศบาล นครอุดรธานี 3. สรุปงานส่งเป็นรายบุคคล 4. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง ที่ 7 และส่งในคาบ อ.ธนวรรณ 10 การสืบค้นผ่านระบบ เครือข่าย และระบบ เครือข่ายห้องสมุดต่างๆ เป็น ต้น 3 1. นักศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง “อินเตอร์เน็ต จรรยาบรรณในการใช้อินเตอร์เน็ต และกฏหมายคอมพิวเตอร์” 2. แจกเอกสารเรื่อง “ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ อินเตอร์เน็ต” 3. ผู้สอนบรรยายประกอบการฉายเครื่อง projector 4. มอบหมายให้นักศึกษาทาใบบันทึกความรู้ครั้ง ที่ 8 และส่งในคาบ อ.ธนวรรณ 11 การสืบค้นผ่านระบบ เครือข่าย และระบบ เครือข่ายห้องสมุดต่างๆ เป็น ต้น 3 1. นักศึกษาทดลองใส่คาค้น 2. วิเคราะห์คาค้นที่ใส่และเหตุผลที่ทาให้ค้นได้ช้า หรือค้นแล้วไม่พบทันที 3. ฝึกฝนการใส่คาค้นอื่น 4. ฝึกฝนการค้นจากหลายๆ เว็บ เช่น yahoo, อ.ธนวรรณ
  • 8. 8 google, thailis, google scholar เป็นต้น 5. ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน หมวดที่ 5 (ต่อ) 1. แผนการสอน สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอนและสื่อที่ใช้ ผู้สอน 12 การเลือก ประเมิน และ สังเคราะห์สารสนเทศไปใช้ได้ อย่างเหมาะสม 3 1. นักศึกษาศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ศึกษาในงาน “การเลือก ประเมิน และ สังเคราะห์สารสนเทศ” 3. ทาแบบฝึกหัด 4. ผู้สอนและนักศึกษาร่วมกันสรุปผลการเรียน อ.ธนวรรณ 13 การเรียบเรียงและการ นาเสนอ 3 1. นักศึกษาตอบคาถามว่ารายงานคืออะไร 2. นักศึกษาทราบคาตอบจากใบงาน “การ เรียบเรียงและการนาเสนอ” 3. นักศึกษาฝึกปฏิบัติการเรียบเรียงและ นาเสนอโครงร่างหัวเรื่องของรายงานจาก หัวข้อที่กาหนดให้ 4. แต่ละเข้ารับคาวิจารณ์การปฏิบัติงานเพื่อ การเรียนอย่างรอบรู้ 5. เก็บใบบันทึกความรู้ที่ 9 ในแฟ้มผลงาน อ.ธนวรรณ 14 การเรียบเรียงและการ นาเสนอ (ต่อ) 3 1. นักศึกษาปฏิบัติการจัดทารายงานตามหัวข้อที่ ได้กาหนดขึ้นจากสัปดาห์ที่แล้ว 2. จัดทาเป็นรูปเล่มที่มีการเขียนที่ถูกต้องทั้ง ลาดับและหลักการอ้างอิง 3. นักศึกษาร่วมกันประเมินผลงานของแต่ละกลุ่ม 4. รวมคะแนนและแจ้งให้ทราบ อ.ธนวรรณ 15 สอบปลายภาคเรียน 1. นักศึกษาสอบปลายภาค 2. ส่งแฟ้มผลงาน อ.ธนวรรณ หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. เอกสารและตาราหลัก 1) เตชา อัศวสิทธิถาวร. (2546). เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โสภณการพิมพ์. 2) ประทีป จรัสรุ่งรวีวร. (2535). ห้องสมุดและการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ : แสงศิลป์การพิมพ์. 3) ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ . (2540). การค้นคว้าและเขียนรายงาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 4) ลมุล รัตตากร. (2539). การใช้ห้องสมุด. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. 5) วาณี ฐาปนวงศ์ศาสนติ. (2539). สารนิเทศกับการศึกษาค้นคว้า ฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. 6) วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์. (2539). อินเตอร์เน็ตสาหรับผู้เริ่มต้น. กรุงเทพฯ : เม็ดทรายพริ้นติ้ง. 7) วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา. (2542). เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟ เอ็ด
  • 9. 9 ดูเคชั่น. 8) ศิลปศาสตร์, สาขาวิชา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2545). เอกสารประกอบ การสอนชุดวิชา สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น หน่วยที่ 1-5. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. 9) ศิลปศาสตร์, สาขาวิชา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2545). เอกสารประกอบ การสอนชุดวิชา สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น หน่วยที่ 6-10. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. 10) สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. (2542). เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น. 11) อนงรักษ์ เทียมตะวัน. (2539). เอกสารประกอบการสอนและตาราวิชาห้องสมุดและ การค้นคว้า. กรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ (จาเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมหรือไม่ ถ้าจาเป็นให้ใส่ด้วยคาอธิบายตัวสีแดงเขียนด้วย ลายมือ) -ไม่มี- 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา http://dcms.thailis.or.th/dcms/basic.php http://www.library.msu.ac.th/web/index.php?forcehpmode=advsearch http://library.cmu.ac.th/cmul/node/181 http://scholar.google.co.th/ หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1. การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 1.1 การสนเทนาและการสังเกตระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 การสะท้อนของพฤติกรรมของผู้เรียน 1.3 แบบประเมินผลผู้สอน 2. การประเมินการสอน 2.1 จากการสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมสอน 2.2 ประเมินจากผลการประเมินผู้สอน 2.3 ผลการเรียนของนักศึกษา 2 การปรับปรุงการสอน หลังจากได้รับผลการประเมินการสอน จะมีการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - พัฒนากระบวนการเรียนการสอน - การจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน - ศึกษาเอกสาร และทาวิจัยในการพัฒนาการเรียนการสอน 3 การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ฝ่ายวิชาการทบทวน กลั่นกรองผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยพิจาณาการให้คะแนนข้อสอบ และ การให้คะแนนพฤติกรรมจริยธรรม พฤติกรรมที่พึ่งประสงค์
  • 10. 10 4 การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ หมวดที่ 8 หมายเหตุสาคัญ ตรวจสอบการเข้าชั้นเรียนอย่างเคร่งครัด หากเข้าเรียนน้อยกว่าร้อยละ 80 (ขาดเกิน 3 ครั้ง) จะหมด สิทธิสอบตามข้อบังคับฯ ของสถาบันฯ ต้องลงทะเบียนเรียนซ้า