คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]

นิตยา ทองดียิ่ง
นิตยา ทองดียิ่งครูชำนาญการ à เป็นนายตัวเองค่ะ
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉนทศาสตร์
                               ั
                   แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
ผู้แต่ ง:
พระยาพิศณุประสาทเวช (คง ถาวรเวช) พ.ศ.๒๓๙๖
ลักษณะคาประพันธ์ :
- คานาขึนต้ นด้ วยกาพย์ ยานี ๑๑
        ้
- ตอนลักษณะทับ ๘ ประการ ใช้ คาประพันธ์ ประเภทร่ าย
ตำรำแพทย์ศำสตร์สงเครำะห์
                     พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.๕
            ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมขึ้น เนื่องจากเห็นว่า
            แพทย์ แ ผนโบราณและต ารายาพื้ น บ้ า นเป็ น สมบั ติ ท าง
            วัฒนธรรมที่มีค่า และที่สืบทอดกันมานั้นมีผิดบ้าง สูญหาย
            บ้าง จึงรวบรวมไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา โดยเขียนลงสมุด
            ไทยด้วยอักษรไทยเส้นหรดาล


          ปรากฏฉบั บ สมบู ร ณ์ เ มื่ อ พระยาพิ ศ ณุ ป ระสาทเวช
(คง ถาวรเวช) อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญของราชแพทยาลัยได้เริ่มจัดพิมพ์
เพื่ออนุรักษ์ตาราแพทย์แพทย์ไทยไว้ให้คนรุ่นหลัง
แพทย์ ศาสตร์ สงเคราะห์ : ภูมปัญญาทางการแพทย์ และ
                             ิ
                       มรดกทางวรรณกรรมของชาติ
                                เป็ น หนั ง สื อ ที่ ก ระทรวง-
                          ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ไ ด้ จั ด ท า แ ล ะ
                          จั ด พิ ม พ์ เพื่ อ น้ อ มเกล้ า น้ อ ม-
                          กระหม่ อ มถวายเป็ นพระราช-
                          สั ก การะแด่ พ ระบาทสมเด็ จ -
                          พระเจ้ า อยู่ หั ว เนื่ อ งในมหา-
                          มงคลสมั ย ที่ ท รงเจริ ญ พระ-
                          ชนมพรรษาครบ ๖ รอบ
แพทย์ ศาสตร์ สงเคราะห์ : ภูมปัญญาทางการแพทย์และ
                            ิ
          มรดกทางวรรณกรรมของชาติ
      โดยได้ รวบรวมคัมภีร์แพทย์ ครัง ร.ศ.๑๒๖ และ ร.ศ.
                                   ้
 ๑๒๘ ซึ่ ง ได้ ตรวจสอบรั บ รองโดยคณะแพทย์ ห ลวง
 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวและ
                                               ั
 สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ-
 กรมพระยาดารงราชานุภาพ
 จานวน ๑๔ คัมภีร์ เผยแพร่แก่ประชาชนทัวไป ่
 ได้ แก่
๑. คัมภีรฉนทศาสตร์ จรรยาของแพทย์,บทสังเคราะห์เนื้อหาจากคัมภีร์อื่นๆ
         ์ั
๒. พระคัมภีรปฐมจินดาร์ การปฏิสนธิแห่งทารก ครรภรักษา การคลอด โรคเด็ก วิธี
            ์
รักษา และยาต่างๆ
๓. พระคัมภีรธาตุวภงค์ กล่าวถึงกองธาตุพิการตามฤดู และสมุนไพรที่ใช้รักษา
              ์ ิ ั
๔. พระคัมภีรสรรพคุณ (ว่าด้วยสรรพคุณของสมุนไพรชนิดต่างๆ)
               ์
๕. พระคัมภีรสมุฏฐานวินจฉัย ว่าด้วยความรู้ในการวินิจฉัยโรคและการรักษา
                   ์   ิ
สุขภาพ
๖. พระคัมภีรวรโยคสาร คุณลักษณะของแพทย์ ลักษณะผู้ปวย การรักษาโรค
            ์                                         ่
คุณค่าของยาและอาหาร
๗. พระคัมภีรมหาโชตรัต ว่าด้วยโรคของสตรี และวิธีการรักษา
                 ์
๘. พระคัมภีรชวดาร ว่าด้วยโรคลมและโรคเลือด และสมุนไพรที่ใช้รักษา
              ์
๙. พระคัมภีรโรคนิทาน ว่าด้วยสาเหตุของโรค และสมุนไพรที่ใช้รักษา
            ์
๑๐. พระคัมภีรธาตุววรณ์ ว่าด้วยลักษณะธาตุพิการ และสมุนไพรที่ใช้
                ์ ิ
รักษา
๑๑. พระภัมภีรธาตุบรรจบ ว่าด้วยเรื่องอุจจาระที่เป็นสาเหตุของโรคฯ
                 ์
๑๒. พระคัมภีร์มจฉาปักขันทิกา กล่าวถึงโรคองบุรุษ สตรี ฯ
                      ุ
๑๓. พระคัมภีรตกกะศิลา กล่าวถึงบรรดาไข้พิษทั้งปวงฯ โรคระบาดฯ
                   ์ ั
๑๔. พระคัมภีรไกษย กล่าวถึงโรคกระษัย ๒๖ ประการฯ ที่ทาให้ร่างกาย
                    ์
ไม่แข็งแรง และสมุนไพรที่ใช้รักษา (๕/๔)
เรื่องย่ อ
•        แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ตอน คัมภีรฉนทศาสตร์ เริมต้น
                                                  ์ ั          ่
  เปิ ด เรื่อ งด้ว ยบทไหว้ค รูซ่ึง เรีย บเรีย งโดย พระยาวิ ช ยาธิบ ดี
  (กล่อม) ผูวาราชการเมืองจันทบุรี
               ้่
•        ต่ อ จากนั ้ น กล่ า วถึ ง ความส าคั ญ ของแพทย์ แ ละ
  คุณสมบัติที่พึงมี โดยทัวไปทีทกมีความประมาท ความอวด-ดี
                                ่ ่ ั
  ความริษยา ความโลภ ความเห็นแก่ตว ความหลงตัว และความ
                                             ั
  ไม่เสมอภาคในการให้รกษาคนรวยกับคนจน ซึ่งแต่งเป็ นกาพย์
                              ั
  ยานี ๑๑
•           ต่อจากนันจะเป็ นเนื้อหาซึงอาจแบ่งเป็ น ๑๙ ตอน คือ
                     ้                 ่
เรื่องย่ อ
๑.   ว่าด้วยลักษณะทับ ๘ ประการ
๒.   คัมภีรตกกะศิลา
           ์ ั
๓.   สมมุตฐานกาเนิดไข้
            ิ
๔.   ลักษณะอาการไข้ทเี่ ข้าเพศเป็ นโทษ ๔ อย่าง
๕.   ลักษณะน้ านมดีและชัว ่
๖.   ชีพจร ให้ระวังในการระบายยา
๗.   ลักษณะรัตนธาตุทง ๕
                      ั้
เรื่องย่ อ
           ่
๘. ลักษณะปวง ๘ ประการ
๙. ตารายาแก้สนนิบาตสองคลองและอหิวาตกโรค
              ั
๑๐. ลักษณะสมุฏฐาน
๑๑. ลักษณะอติสาร
๑๒. ลักษณะมรณะญาณสูตร
๑๓. โรคภัยต่างๆแห่งกุมาร ลักษณะซางต่างๆ
๑๔. ลักษณะกาเนิดซาง
เรื่องย่ อ
    ๑๕. ลักษณะรูปทารก
    ๑๖. ลักษณะซางตัง
                   ้
    ๑๗. ลักษณะตานโจร
    ๑๘. ลักษณะธาตุทง ๔
                     ั้
    ๑๙. ตอนลงท้าย
ตอนทีนำมำเรียนในบทนี้ จะกล่ำวถึงควำมสำคัญของแพทย์
     ่
               และคุณสมบัติของแพทย์
คัมภีรฉนทศำสตร์
            ์ ั
   เป็ นส่วนหนึงของ ตำรำแพทย์ศำสตร์สงเครำะห์
               ่
บทไหว้ครู ไหว้พระรัตนตรัย
            ไหว้เทพเจ้ำของพรำหมณ์
            ไหว้หมอชีวกโกมำรภัจจ์ (แพทย์หลวงของพระเจ้ำพิมพิสำร)
            ไหว้ครูแพทย์โดยทัวไป
                             ่
ควำมสำคัญของแพทย์
                            ควำมรูแพทย์
                                  ้
คุณสมบัติทีแพทย์พึงมี
           ่                จรรยำบรรณแพทย์
                        วิธีสงเกตไข้และยำรักษำ
                             ั
โรคและกำรรักษำ          กำเนิดโรคภัย              ลักษณะแพทย์ทีดี
                                                               ่
คำเตือนแพทย์ให้ศึกษำคัมภีรฉนทศำสตร์
                          ์ ั
                                                 คำอวยพรของคนแต่ง
ควำมสำคัญของคัมภีรฉนทศำสตร์
                         ์ ั

     จะกล่าวคัมภีรฉัน-
                    ์    ทศาสตรบรรพ์ที่ครูสอน
  เสมอดวงทินกร           แลดวงจันทร์กระจ่างตา
  ส่องสัตว์ให้สว่าง      กระจ่างแจ้งในมรรคา



 เปรียบคัมภีรฉนทศำสตร์โบรำณทีครูพรำสอนกันมำกับ
             ์ ั               ่    ่
ดวงอำทิตย์และดวงจันทร์ทีช่วยนำทำงแก่สตว์โลก
                        ่             ั
ควำมสำคัญของแพทย์
  อนึ่งจะกล่าวสอน      กำยนครมีมากหลาย
ประเทียบเปรียบในกาย ทุกหญิงชายในโลกา
                ร่ำงกำย = เมือง



      เปรียบแพทย์คือทหำร อันชำนำญรูลำเนำ
                                      ้
ข้ำศึกมำอย่ำใจเบำ          ห้อมล้อมรอบทุกทิศำ
                   แพทย์ = ทหำร
   ให้ดำรงกระษัตริยไว้ คือดวงใจให้เร่งยำ
                     ์
อนึงห้ำมอย่ำโกรธำ
    ่                      ข้ำศึกมำจะอันตรำย
ควำมสำคัญของแพทย์
     ปิ ตตํ คือ วังหน้ำ เร่งรักษาเขม้ นหมาย
  อาหารอยู่ในกาย          คือเสบียงเลี้ ยงโยธา
            น้ ำดี = วังหน้ำ, อำหำร = เสบียง


   ดวงจิตคือกระษัตริย ์ ผ่านสมบัติอนโอฬาร์
                                     ั
ข้ำศึกคือโรคา           เกิดเข่นฆ่าในกายเรา
    หัวใจ = พระมหำกษัตริย,์ โรคภัย = ข้ำศึก
              ถ้ าตายไม่ทราบสาเหตุ มาหาเจ๊ นะ...
                        เจ๊ ผ่าให้ คะ ฟรี !
                                    ่
คุณสมบัติของแพทย์

 แพทย์ตองมีควำมรู ้ และจรรณยำแพทย์
       ้
                                                   แพทย์ใดจะหนีทุกข์
    เป็ นแพทย์ไม่รูใน คัมภีรไสย์ท่ำนบรรจง
                   ้        ์                 ไปสู่สุขนิพพำนดล
รูแต่ยำมำอ่ำองค์
  ้                   รักษำไข้ไม่เข็ดขำม      พิริยสติตน
    ไม่รูคมภีรเวช
         ้ ั ์        ห่อนเห็นเหตุซึ่งโรคทำ   ประพฤติได้จึ่งเป็ นกำร
แพทย์เอ๋ยอย่ำงมคลำ จักขุมืด บ เห็นหน               ศีลแปดแลศีลห้ำ
                                              เร่งรักษำสมำทำน
                                              ทรงไว้เป็ นนิจกำล
                                              ทั้งไตรรัตน์สรณำ
แพทย์ตองมีควำมรูท้ งทำงตำรำ
           ้         ้ ั
และทำงธรรมโดยรักษำศีลแปด และศีลห้ำ
     และยึดหลักไตรรัตน์ (๕/๒)
บทวิเคราะห์
# รูปแบบการแต่ง
# กลวิธีการแต่ง
# คุณค่าด้านวรรณศิลป์
    - คุณค่าด้านภาษา
# คุณค่าด้านสังคม
บทวิเคราะห์
รูปแบบการแต่ง
     คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เป็ นชื่อตาราหนึ่ง ที่รวบรวมความรู้ หลากหลาย
 จากตาราเรื่ องอื่นๆ ในชุดแพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์ เอาไว้ เนือหาแบ่ง ้
 ออกเป็ นตอนๆ ๑๙ ตอน
     ผู้แ ต่ง เลื อ กใช้ ค าประพัน ธ์ ใ นการน าเสนอเนื อ หาได้ เ หมาะสม
                                                       ้
 โดยเฉพาะในบทนา หรื อตอนเปิ ดเรื่ อง ผู้แต่งใช้ คาประพันธ์ ประเภท
 กาพย์ยานี ๑๑ เริ่มต้ นด้ วยบทไหว้ ครู
แผนผัง กาพย์ยานี ๑๑




ฉันทลักษณ์คาประพันธ์ที่ใช้ขึ้นต้นคานา (บทไหว้ครู)
บทวิเคราะห์
• รูปแบบการแต่ง
      และต่อด้ วยเนือหาที่สอนจรรยาบรรณแพทย์ กับข้ อ
                       ้
  ควรปฏิ บั ติ ส าหรั บ แพทย์ ส่ ว นเนื อ บทตอนที่ ว่ า ด้ วย
                                        ้
  ลักษณะทับ ๘ ประการ ผู้แต่งใช้ คาประพันธ์ ประเภทร่ าย
  อธิบายให้ ความรู้เกี่ยวกับโรคและการรักษาโรคของแพทย์
  แผนไทย
แผนผัง ร่ายสุภาพ




คาประพันธ์ประเภทร่าย อธิบายให้ความรูเกียวกับโรค
                                    ้ ่
      และการรักษาโรคของแพทย์แผนไทย
บทวิเคราะห์
• กลวิธีการแต่ง
        คัมภีร์ฉนทศาสตร์ จดเป็ นหนังสือที่เป็ นตารามีเนื ้อหาเฉพาะ
                   ั           ั
  ด้ าน การนาเสนอใช้ โวหารอธิบายเป็ นส่วนใหญ่
        แต่เ มื่ อ จะกล่า วถึ ง เรื่ อ งที่ เ ป็ นนามธรรม ผู้เ ขี ย นเลื อ กใช้
  อุ ป มาโวหาร หรื อ บทเปรี ย บเที ย บ ซึ่ ง ช่ ว ยให้ ผู้ อ่ า นเข้ าใจ
  ความหมายได้ ง่าย และทาให้ เห็นภาพจากบทประพันธ์ ชัดเจน
  มากขึ ้น ตัวอย่างเช่น
ตัวอย่ างบทประพันธ์ แบบอปมา
                               ุ
   ...จะกล่าวคัมภีร์ฉัน       ศาสตร์บรรพ์ที่ครูสอน
 เสมอดวงทินกร                 แลดวงจันทร์สว่างตา



      เมื่อกล่าวถึงตาราฉันทศาสตร์ เล่มนี้ที่คนรุ่ นก่อนได้
สอนมานั้น ก็เปรี ยบเหมือนดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์
ที่ส่งแสงสว่างให้กบผูประสบโรคได้หายไข้
                     ั ้
บทวิเคราะห์
• คุณค่าด้านวรรณศิลป์
      ๑. การใช้ ถ้อยคาในการอธิบาย
      กวีเลือกใช้ คาสันๆ คาน้ อย กินความมาก อ่านเข้ าใจง่าย
                      ้
  เช่น
     ...บางหมอก็กล่าวคา     มุสาซากระหน่าความ
  ยกตนว่าตนงาม              ประเสริฐยิ่งในการยา
        บางหมอก็เกียจกัน    ทีอันแพทย์รักษา
  บ้างกล่าวเปนมารยา         เขาเจ็บน้อยว่ามากครัน
บทวิเคราะห์
• คุณค่าด้านวรรณศิลป์
       ๒. การใช้ อุปมาโวหาร
      กวี ใ ช้ ถ้ อยค าในการเปรี ย บเที ย บเพื่ อ ให้ ผู้ อ่ า นเข้ าใจ
  ความหมาย และเห็นภาพได้ ชดเจนยิ่งขึ ้น ดังตัวอย่าง
                               ั
        ...อุทธัจจังอย่าอุทธัจ     เห็นถนัดในโรคา
     ให้ตังตนดังพระยา              ไกรสรราชเข้านาวี

 สอนให้แพทย์ทาตนเหมือนพญาราชสี ห์ที่เข้าตะครุ บเหยือ คือ
                                                      ่
   เมื่อแพทย์เห็นโรคแล้วให้รีบรักษา อย่ามัวประมาทฟุ้ งซ่าน
บทวิเคราะห์
• คุณค่าด้านวรรณศิลป์
      ๓. การใช้ สานวนไทย
         กวี ใ ช้ ส านวนไทยมาประกอบการอธิ บ าย ช่ ว ยให้ เ ข้ า ใจ
  เนื ้อความได้ ชดเจนยิ่งขึ ้น ดังตัวอย่าง...
                     ั
               เรียนรู้คัมภีร์ไสย    สุขุมไว้อย่างแพร่งพราย
    ควรกล่าวจึงขยาย                  อย่ายื่นแก้วให้วานร
บทวิเคราะห์
• คุณค่าด้านภาษา
      ๑. ให้ ความรู้ ด้านอักษรศาสตร์
      ๒. ศัพท์ ทางการแพทย์ แผนโบราณ เช่ น...
      - ธาตุพิการ คือ ธาตุทง้ั ๔ ที่ทาให้ ร่างกายผิดปกติ
      - กาเดา คือ ไข้ กาเดา
      - ปวดมวน คือ อาการปั่ นป่ วนในท้ อง
บทวิเคราะห์
• คุณค่าด้านสังคม
      ๑. ให้ ความรู้ ด้านจรรยาบรรณแพทย์
      สามารถนาไปปรับใช้ ได้ กบทุกวิชาชีพ
                             ั
      - รักษาศีล
      - รักษาไม่ หาย (โทษตนเอง)
      - ต้ องตังใจในการทางาน (ทุกอาชีพ)
               ้
บทวิเคราะห์
• คุณค่าด้านสังคม
      ๒. ให้ ความรู้ ด้านแพทย์ แผนไทย
      - แพทย์ทางเลือก
      - คุณสมบัติของพืช สมุนไพร
      - ชาวชนบทห่างไกลความเจริ ญ
      - ท้ องถิ่น
ค้ นประวัติของแพทย์
(สมัยโบราณ สมัยปัจจุบน) ทีตนเองชอบ
                     ั ่
- หมอเบิร์ด - หมอชีวกโกมารภัจจ์                 เหตุผล :
- หมอเจี๊ยบ - หมอพร            แนวคิดการดาเนินชีวต : ิ
- หมอก้ อง - สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขต
               อุดมศักดิ์
- หมอโอ๊ ค
- หมออภิชาติ
- หมอพรทิพย์
ภาระงาน            ส่ งภายในวันที.่ ...
๑.   ศีล ๕ และศีล ๘ คืออะไร สำคัญอย่ำงไร/ประโยชน์
๒.   อำชีพหมอ มีควำมสำคัญอย่ำงไร (ตำมทัศนะคติของตนเอง)
๓.   กำรเปิดคลินิก ดีหรือไม่อย่ำงไร
๔.   สมุนไพรไทย ๑ ชนิด (ลักษณะ, สรรพคุณ, พื้นทีปลูก,)
                                               ่
๕.   โรคที่มักเจอในวัย ๑๕ ถึง ๒๕ ปี (วัยรุ่น)
๖.   โรคของบุรุษ ๓ โรค
๗.   โรคของสตรี ๓ โรค
                       thai_lordfc@hotmail.com
1 sur 32

Recommandé

ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1] par
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]นิตยา ทองดียิ่ง
140.8K vues180 diapositives
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 par
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
125.1K vues34 diapositives
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี par
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
807K vues27 diapositives
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4 par
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
69.4K vues3 diapositives
อิเหนา par
อิเหนาอิเหนา
อิเหนาWarodom Techasrisutee
139.6K vues22 diapositives
The criticism of art par
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of artBoonlert Alasat
80.3K vues21 diapositives

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง... par
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
14.4K vues27 diapositives
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34) par
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)อัมพร ศรีพิทักษ์
33K vues30 diapositives
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์ par
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
107.5K vues1 diapositive
ร่ายสุภาพ par
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
44.5K vues44 diapositives
ภูมิศาสตร์ par
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
76.7K vues112 diapositives
นิราศนรินทร์คำโคลง par
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
24.4K vues43 diapositives

Tendances(20)

แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง... par Decha Sirigulwiriya
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
Decha Sirigulwiriya14.4K vues
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์ par niralai
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai107.5K vues
ร่ายสุภาพ par khorntee
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee44.5K vues
ภูมิศาสตร์ par koorimkhong
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
koorimkhong76.7K vues
นิราศนรินทร์คำโคลง par Surapong Klamboot
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
Surapong Klamboot24.4K vues
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ par Surapong Klamboot
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot112K vues
แบบทดสอบมัทนะพาธา par krudow14
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
krudow1494.1K vues
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓ par kruthai40
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40136.7K vues
กระดาษเส้น par Tik Msr
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
Tik Msr144.7K vues
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf par Mind Candle Ka
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
Mind Candle Ka31.5K vues
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1 par Sivagon Soontong
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
Sivagon Soontong92.2K vues
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี par Sivagon Soontong
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong91K vues
กัณฑ์มัทรี2๕๗ par Milky' __
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
Milky' __63.5K vues
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ par Napadon Yingyongsakul
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
Napadon Yingyongsakul138.8K vues

En vedette

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท par
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทVisanu Khumoun
25K vues10 diapositives
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทยศาสตร์ par
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทยศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทยศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทยศาสตร์Bieezii Sirinchanoke
4.1K vues8 diapositives
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง par
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
13.8K vues17 diapositives
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ par
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ทัศนะ แก้วช่วย
74.6K vues18 diapositives
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555 par
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555นิตยา ทองดียิ่ง
9.7K vues19 diapositives

En vedette(9)

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท par Visanu Khumoun
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
Visanu Khumoun25K vues
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทยศาสตร์ par Bieezii Sirinchanoke
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทยศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทยศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทยศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง par Kat Suksrikong
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
Kat Suksrikong13.8K vues

Similaire à คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ par
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Jirakit Meroso
2.1K vues7 diapositives
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊ค par
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊คคัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊ค
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊คMooFlook Indy
4.3K vues8 diapositives
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว par
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวdawnythipsuda
1.1K vues11 diapositives
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว par
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวdawnythipsuda
7.3K vues11 diapositives
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1 par
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1Natthaphong Messi
8K vues11 diapositives
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน par
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สินSorasak Tongon
378 vues12 diapositives

Similaire à คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1](20)

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ par Jirakit Meroso
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
Jirakit Meroso2.1K vues
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊ค par MooFlook Indy
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊คคัมภีร์ฉันทศาสตร์  น้องฟลุ๊ค
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ น้องฟลุ๊ค
MooFlook Indy4.3K vues
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว par dawnythipsuda
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
dawnythipsuda1.1K vues
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว par dawnythipsuda
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
dawnythipsuda7.3K vues
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1 par Natthaphong Messi
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เลขที่ 7 ม.5 1
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน par Sorasak Tongon
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
Sorasak Tongon378 vues
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน par Sorasak Tongon
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
Sorasak Tongon787 vues
วิเคราะห์คำประพันธ์ par kwanboonpaitoon
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์
kwanboonpaitoon31.8K vues
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ par jupjiptogether
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
jupjiptogether16.5K vues
งานนำเสนอ1 par dashasak03
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
dashasak03947 vues
ปอ สรศักดิ์ ทองอ่อน คับ par Sorasak Tongon
ปอ สรศักดิ์  ทองอ่อน คับปอ สรศักดิ์  ทองอ่อน คับ
ปอ สรศักดิ์ ทองอ่อน คับ
Sorasak Tongon1.6K vues
นาย มนตรี นวลสม par A'waken B'Benz
นาย มนตรี  นวลสมนาย มนตรี  นวลสม
นาย มนตรี นวลสม
A'waken B'Benz4K vues
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ศศิศา par MooFlook Indy
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  ศศิศาคัมภีร์ฉันทศาสตร์  ศศิศา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ศศิศา
MooFlook Indy653 vues

Plus de นิตยา ทองดียิ่ง

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา par
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา นิตยา ทองดียิ่ง
4.6K vues90 diapositives
Pptลิลิตตะเลงพ่าย par
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายนิตยา ทองดียิ่ง
14.5K vues125 diapositives
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1] par
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]นิตยา ทองดียิ่ง
58.2K vues30 diapositives
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1] par
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
20.5K vues12 diapositives
๒. วิเคราะห์โคลง[1] par
๒. วิเคราะห์โคลง[1]๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]นิตยา ทองดียิ่ง
20.3K vues29 diapositives
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว par
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
1K vues34 diapositives

Plus de นิตยา ทองดียิ่ง(15)

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]

  • 2. คัมภีร์ฉนทศาสตร์ ั แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ผู้แต่ ง: พระยาพิศณุประสาทเวช (คง ถาวรเวช) พ.ศ.๒๓๙๖ ลักษณะคาประพันธ์ : - คานาขึนต้ นด้ วยกาพย์ ยานี ๑๑ ้ - ตอนลักษณะทับ ๘ ประการ ใช้ คาประพันธ์ ประเภทร่ าย
  • 3. ตำรำแพทย์ศำสตร์สงเครำะห์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมขึ้น เนื่องจากเห็นว่า แพทย์ แ ผนโบราณและต ารายาพื้ น บ้ า นเป็ น สมบั ติ ท าง วัฒนธรรมที่มีค่า และที่สืบทอดกันมานั้นมีผิดบ้าง สูญหาย บ้าง จึงรวบรวมไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา โดยเขียนลงสมุด ไทยด้วยอักษรไทยเส้นหรดาล ปรากฏฉบั บ สมบู ร ณ์ เ มื่ อ พระยาพิ ศ ณุ ป ระสาทเวช (คง ถาวรเวช) อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญของราชแพทยาลัยได้เริ่มจัดพิมพ์ เพื่ออนุรักษ์ตาราแพทย์แพทย์ไทยไว้ให้คนรุ่นหลัง
  • 4. แพทย์ ศาสตร์ สงเคราะห์ : ภูมปัญญาทางการแพทย์ และ ิ มรดกทางวรรณกรรมของชาติ เป็ น หนั ง สื อ ที่ ก ระทรวง- ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ไ ด้ จั ด ท า แ ล ะ จั ด พิ ม พ์ เพื่ อ น้ อ มเกล้ า น้ อ ม- กระหม่ อ มถวายเป็ นพระราช- สั ก การะแด่ พ ระบาทสมเด็ จ - พระเจ้ า อยู่ หั ว เนื่ อ งในมหา- มงคลสมั ย ที่ ท รงเจริ ญ พระ- ชนมพรรษาครบ ๖ รอบ
  • 5. แพทย์ ศาสตร์ สงเคราะห์ : ภูมปัญญาทางการแพทย์และ ิ มรดกทางวรรณกรรมของชาติ โดยได้ รวบรวมคัมภีร์แพทย์ ครัง ร.ศ.๑๒๖ และ ร.ศ. ้ ๑๒๘ ซึ่ ง ได้ ตรวจสอบรั บ รองโดยคณะแพทย์ ห ลวง ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวและ ั สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ- กรมพระยาดารงราชานุภาพ จานวน ๑๔ คัมภีร์ เผยแพร่แก่ประชาชนทัวไป ่ ได้ แก่
  • 6. ๑. คัมภีรฉนทศาสตร์ จรรยาของแพทย์,บทสังเคราะห์เนื้อหาจากคัมภีร์อื่นๆ ์ั ๒. พระคัมภีรปฐมจินดาร์ การปฏิสนธิแห่งทารก ครรภรักษา การคลอด โรคเด็ก วิธี ์ รักษา และยาต่างๆ ๓. พระคัมภีรธาตุวภงค์ กล่าวถึงกองธาตุพิการตามฤดู และสมุนไพรที่ใช้รักษา ์ ิ ั ๔. พระคัมภีรสรรพคุณ (ว่าด้วยสรรพคุณของสมุนไพรชนิดต่างๆ) ์ ๕. พระคัมภีรสมุฏฐานวินจฉัย ว่าด้วยความรู้ในการวินิจฉัยโรคและการรักษา ์ ิ สุขภาพ ๖. พระคัมภีรวรโยคสาร คุณลักษณะของแพทย์ ลักษณะผู้ปวย การรักษาโรค ์ ่ คุณค่าของยาและอาหาร ๗. พระคัมภีรมหาโชตรัต ว่าด้วยโรคของสตรี และวิธีการรักษา ์
  • 7. ๘. พระคัมภีรชวดาร ว่าด้วยโรคลมและโรคเลือด และสมุนไพรที่ใช้รักษา ์ ๙. พระคัมภีรโรคนิทาน ว่าด้วยสาเหตุของโรค และสมุนไพรที่ใช้รักษา ์ ๑๐. พระคัมภีรธาตุววรณ์ ว่าด้วยลักษณะธาตุพิการ และสมุนไพรที่ใช้ ์ ิ รักษา ๑๑. พระภัมภีรธาตุบรรจบ ว่าด้วยเรื่องอุจจาระที่เป็นสาเหตุของโรคฯ ์ ๑๒. พระคัมภีร์มจฉาปักขันทิกา กล่าวถึงโรคองบุรุษ สตรี ฯ ุ ๑๓. พระคัมภีรตกกะศิลา กล่าวถึงบรรดาไข้พิษทั้งปวงฯ โรคระบาดฯ ์ ั ๑๔. พระคัมภีรไกษย กล่าวถึงโรคกระษัย ๒๖ ประการฯ ที่ทาให้ร่างกาย ์ ไม่แข็งแรง และสมุนไพรที่ใช้รักษา (๕/๔)
  • 8. เรื่องย่ อ • แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ตอน คัมภีรฉนทศาสตร์ เริมต้น ์ ั ่ เปิ ด เรื่อ งด้ว ยบทไหว้ค รูซ่ึง เรีย บเรีย งโดย พระยาวิ ช ยาธิบ ดี (กล่อม) ผูวาราชการเมืองจันทบุรี ้่ • ต่ อ จากนั ้ น กล่ า วถึ ง ความส าคั ญ ของแพทย์ แ ละ คุณสมบัติที่พึงมี โดยทัวไปทีทกมีความประมาท ความอวด-ดี ่ ่ ั ความริษยา ความโลภ ความเห็นแก่ตว ความหลงตัว และความ ั ไม่เสมอภาคในการให้รกษาคนรวยกับคนจน ซึ่งแต่งเป็ นกาพย์ ั ยานี ๑๑ • ต่อจากนันจะเป็ นเนื้อหาซึงอาจแบ่งเป็ น ๑๙ ตอน คือ ้ ่
  • 9. เรื่องย่ อ ๑. ว่าด้วยลักษณะทับ ๘ ประการ ๒. คัมภีรตกกะศิลา ์ ั ๓. สมมุตฐานกาเนิดไข้ ิ ๔. ลักษณะอาการไข้ทเี่ ข้าเพศเป็ นโทษ ๔ อย่าง ๕. ลักษณะน้ านมดีและชัว ่ ๖. ชีพจร ให้ระวังในการระบายยา ๗. ลักษณะรัตนธาตุทง ๕ ั้
  • 10. เรื่องย่ อ ่ ๘. ลักษณะปวง ๘ ประการ ๙. ตารายาแก้สนนิบาตสองคลองและอหิวาตกโรค ั ๑๐. ลักษณะสมุฏฐาน ๑๑. ลักษณะอติสาร ๑๒. ลักษณะมรณะญาณสูตร ๑๓. โรคภัยต่างๆแห่งกุมาร ลักษณะซางต่างๆ ๑๔. ลักษณะกาเนิดซาง
  • 11. เรื่องย่ อ ๑๕. ลักษณะรูปทารก ๑๖. ลักษณะซางตัง ้ ๑๗. ลักษณะตานโจร ๑๘. ลักษณะธาตุทง ๔ ั้ ๑๙. ตอนลงท้าย ตอนทีนำมำเรียนในบทนี้ จะกล่ำวถึงควำมสำคัญของแพทย์ ่ และคุณสมบัติของแพทย์
  • 12. คัมภีรฉนทศำสตร์ ์ ั เป็ นส่วนหนึงของ ตำรำแพทย์ศำสตร์สงเครำะห์ ่ บทไหว้ครู ไหว้พระรัตนตรัย ไหว้เทพเจ้ำของพรำหมณ์ ไหว้หมอชีวกโกมำรภัจจ์ (แพทย์หลวงของพระเจ้ำพิมพิสำร) ไหว้ครูแพทย์โดยทัวไป ่ ควำมสำคัญของแพทย์ ควำมรูแพทย์ ้ คุณสมบัติทีแพทย์พึงมี ่ จรรยำบรรณแพทย์ วิธีสงเกตไข้และยำรักษำ ั โรคและกำรรักษำ กำเนิดโรคภัย ลักษณะแพทย์ทีดี ่ คำเตือนแพทย์ให้ศึกษำคัมภีรฉนทศำสตร์ ์ ั คำอวยพรของคนแต่ง
  • 13. ควำมสำคัญของคัมภีรฉนทศำสตร์ ์ ั จะกล่าวคัมภีรฉัน- ์ ทศาสตรบรรพ์ที่ครูสอน เสมอดวงทินกร แลดวงจันทร์กระจ่างตา ส่องสัตว์ให้สว่าง กระจ่างแจ้งในมรรคา เปรียบคัมภีรฉนทศำสตร์โบรำณทีครูพรำสอนกันมำกับ ์ ั ่ ่ ดวงอำทิตย์และดวงจันทร์ทีช่วยนำทำงแก่สตว์โลก ่ ั
  • 14. ควำมสำคัญของแพทย์ อนึ่งจะกล่าวสอน กำยนครมีมากหลาย ประเทียบเปรียบในกาย ทุกหญิงชายในโลกา ร่ำงกำย = เมือง เปรียบแพทย์คือทหำร อันชำนำญรูลำเนำ ้ ข้ำศึกมำอย่ำใจเบำ ห้อมล้อมรอบทุกทิศำ แพทย์ = ทหำร ให้ดำรงกระษัตริยไว้ คือดวงใจให้เร่งยำ ์ อนึงห้ำมอย่ำโกรธำ ่ ข้ำศึกมำจะอันตรำย
  • 15. ควำมสำคัญของแพทย์ ปิ ตตํ คือ วังหน้ำ เร่งรักษาเขม้ นหมาย อาหารอยู่ในกาย คือเสบียงเลี้ ยงโยธา น้ ำดี = วังหน้ำ, อำหำร = เสบียง ดวงจิตคือกระษัตริย ์ ผ่านสมบัติอนโอฬาร์ ั ข้ำศึกคือโรคา เกิดเข่นฆ่าในกายเรา หัวใจ = พระมหำกษัตริย,์ โรคภัย = ข้ำศึก ถ้ าตายไม่ทราบสาเหตุ มาหาเจ๊ นะ... เจ๊ ผ่าให้ คะ ฟรี ! ่
  • 16. คุณสมบัติของแพทย์ แพทย์ตองมีควำมรู ้ และจรรณยำแพทย์ ้ แพทย์ใดจะหนีทุกข์ เป็ นแพทย์ไม่รูใน คัมภีรไสย์ท่ำนบรรจง ้ ์ ไปสู่สุขนิพพำนดล รูแต่ยำมำอ่ำองค์ ้ รักษำไข้ไม่เข็ดขำม พิริยสติตน ไม่รูคมภีรเวช ้ ั ์ ห่อนเห็นเหตุซึ่งโรคทำ ประพฤติได้จึ่งเป็ นกำร แพทย์เอ๋ยอย่ำงมคลำ จักขุมืด บ เห็นหน ศีลแปดแลศีลห้ำ เร่งรักษำสมำทำน ทรงไว้เป็ นนิจกำล ทั้งไตรรัตน์สรณำ
  • 17. แพทย์ตองมีควำมรูท้ งทำงตำรำ ้ ้ ั และทำงธรรมโดยรักษำศีลแปด และศีลห้ำ และยึดหลักไตรรัตน์ (๕/๒)
  • 18. บทวิเคราะห์ # รูปแบบการแต่ง # กลวิธีการแต่ง # คุณค่าด้านวรรณศิลป์ - คุณค่าด้านภาษา # คุณค่าด้านสังคม
  • 19. บทวิเคราะห์ รูปแบบการแต่ง คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เป็ นชื่อตาราหนึ่ง ที่รวบรวมความรู้ หลากหลาย จากตาราเรื่ องอื่นๆ ในชุดแพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์ เอาไว้ เนือหาแบ่ง ้ ออกเป็ นตอนๆ ๑๙ ตอน ผู้แ ต่ง เลื อ กใช้ ค าประพัน ธ์ ใ นการน าเสนอเนื อ หาได้ เ หมาะสม ้ โดยเฉพาะในบทนา หรื อตอนเปิ ดเรื่ อง ผู้แต่งใช้ คาประพันธ์ ประเภท กาพย์ยานี ๑๑ เริ่มต้ นด้ วยบทไหว้ ครู
  • 21. บทวิเคราะห์ • รูปแบบการแต่ง และต่อด้ วยเนือหาที่สอนจรรยาบรรณแพทย์ กับข้ อ ้ ควรปฏิ บั ติ ส าหรั บ แพทย์ ส่ ว นเนื อ บทตอนที่ ว่ า ด้ วย ้ ลักษณะทับ ๘ ประการ ผู้แต่งใช้ คาประพันธ์ ประเภทร่ าย อธิบายให้ ความรู้เกี่ยวกับโรคและการรักษาโรคของแพทย์ แผนไทย
  • 23. บทวิเคราะห์ • กลวิธีการแต่ง คัมภีร์ฉนทศาสตร์ จดเป็ นหนังสือที่เป็ นตารามีเนื ้อหาเฉพาะ ั ั ด้ าน การนาเสนอใช้ โวหารอธิบายเป็ นส่วนใหญ่ แต่เ มื่ อ จะกล่า วถึ ง เรื่ อ งที่ เ ป็ นนามธรรม ผู้เ ขี ย นเลื อ กใช้ อุ ป มาโวหาร หรื อ บทเปรี ย บเที ย บ ซึ่ ง ช่ ว ยให้ ผู้ อ่ า นเข้ าใจ ความหมายได้ ง่าย และทาให้ เห็นภาพจากบทประพันธ์ ชัดเจน มากขึ ้น ตัวอย่างเช่น
  • 24. ตัวอย่ างบทประพันธ์ แบบอปมา ุ ...จะกล่าวคัมภีร์ฉัน ศาสตร์บรรพ์ที่ครูสอน เสมอดวงทินกร แลดวงจันทร์สว่างตา เมื่อกล่าวถึงตาราฉันทศาสตร์ เล่มนี้ที่คนรุ่ นก่อนได้ สอนมานั้น ก็เปรี ยบเหมือนดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ ที่ส่งแสงสว่างให้กบผูประสบโรคได้หายไข้ ั ้
  • 25. บทวิเคราะห์ • คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ๑. การใช้ ถ้อยคาในการอธิบาย กวีเลือกใช้ คาสันๆ คาน้ อย กินความมาก อ่านเข้ าใจง่าย ้ เช่น ...บางหมอก็กล่าวคา มุสาซากระหน่าความ ยกตนว่าตนงาม ประเสริฐยิ่งในการยา บางหมอก็เกียจกัน ทีอันแพทย์รักษา บ้างกล่าวเปนมารยา เขาเจ็บน้อยว่ามากครัน
  • 26. บทวิเคราะห์ • คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ๒. การใช้ อุปมาโวหาร กวี ใ ช้ ถ้ อยค าในการเปรี ย บเที ย บเพื่ อ ให้ ผู้ อ่ า นเข้ าใจ ความหมาย และเห็นภาพได้ ชดเจนยิ่งขึ ้น ดังตัวอย่าง ั ...อุทธัจจังอย่าอุทธัจ เห็นถนัดในโรคา ให้ตังตนดังพระยา ไกรสรราชเข้านาวี สอนให้แพทย์ทาตนเหมือนพญาราชสี ห์ที่เข้าตะครุ บเหยือ คือ ่ เมื่อแพทย์เห็นโรคแล้วให้รีบรักษา อย่ามัวประมาทฟุ้ งซ่าน
  • 27. บทวิเคราะห์ • คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ๓. การใช้ สานวนไทย กวี ใ ช้ ส านวนไทยมาประกอบการอธิ บ าย ช่ ว ยให้ เ ข้ า ใจ เนื ้อความได้ ชดเจนยิ่งขึ ้น ดังตัวอย่าง... ั เรียนรู้คัมภีร์ไสย สุขุมไว้อย่างแพร่งพราย ควรกล่าวจึงขยาย อย่ายื่นแก้วให้วานร
  • 28. บทวิเคราะห์ • คุณค่าด้านภาษา ๑. ให้ ความรู้ ด้านอักษรศาสตร์ ๒. ศัพท์ ทางการแพทย์ แผนโบราณ เช่ น... - ธาตุพิการ คือ ธาตุทง้ั ๔ ที่ทาให้ ร่างกายผิดปกติ - กาเดา คือ ไข้ กาเดา - ปวดมวน คือ อาการปั่ นป่ วนในท้ อง
  • 29. บทวิเคราะห์ • คุณค่าด้านสังคม ๑. ให้ ความรู้ ด้านจรรยาบรรณแพทย์ สามารถนาไปปรับใช้ ได้ กบทุกวิชาชีพ ั - รักษาศีล - รักษาไม่ หาย (โทษตนเอง) - ต้ องตังใจในการทางาน (ทุกอาชีพ) ้
  • 30. บทวิเคราะห์ • คุณค่าด้านสังคม ๒. ให้ ความรู้ ด้านแพทย์ แผนไทย - แพทย์ทางเลือก - คุณสมบัติของพืช สมุนไพร - ชาวชนบทห่างไกลความเจริ ญ - ท้ องถิ่น
  • 31. ค้ นประวัติของแพทย์ (สมัยโบราณ สมัยปัจจุบน) ทีตนเองชอบ ั ่ - หมอเบิร์ด - หมอชีวกโกมารภัจจ์ เหตุผล : - หมอเจี๊ยบ - หมอพร แนวคิดการดาเนินชีวต : ิ - หมอก้ อง - สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขต อุดมศักดิ์ - หมอโอ๊ ค - หมออภิชาติ - หมอพรทิพย์
  • 32. ภาระงาน ส่ งภายในวันที.่ ... ๑. ศีล ๕ และศีล ๘ คืออะไร สำคัญอย่ำงไร/ประโยชน์ ๒. อำชีพหมอ มีควำมสำคัญอย่ำงไร (ตำมทัศนะคติของตนเอง) ๓. กำรเปิดคลินิก ดีหรือไม่อย่ำงไร ๔. สมุนไพรไทย ๑ ชนิด (ลักษณะ, สรรพคุณ, พื้นทีปลูก,) ่ ๕. โรคที่มักเจอในวัย ๑๕ ถึง ๒๕ ปี (วัยรุ่น) ๖. โรคของบุรุษ ๓ โรค ๗. โรคของสตรี ๓ โรค thai_lordfc@hotmail.com