Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14
11

ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2556

ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14

สารบัญ
บทความ
2

ศักยภาพดินที่เหมาะสมต่อการปลูกยาง
จัง...
บทบรรณาธิการ
	
ภัยมืดยังคงมีอยู่ในสวนยาง โดยเฉพาะสวนที่มีการ
ปลู ก แทนด้ ว ยยางพารา เจ้ า ของสวนได้ ผ ลประโยชน์
รายได้ประจ...
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité

Consultez-les par la suite

1 sur 52 Publicité

วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556

Télécharger pour lire hors ligne

Publicité
Publicité

Plus De Contenu Connexe

Similaire à วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556 (6)

Plus par สุพัชชา อักษรพันธ์ (14)

Publicité

Plus récents (20)

วารสารยางพารา ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2556

  1. 1. ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14
  2. 2. 11 ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 สารบัญ บทความ 2 ศักยภาพดินที่เหมาะสมต่อการปลูกยาง จังหวัดสุรินทร์ และศรีสะเกษ 11 ประสิทธิภาพสารเคมีต่อการควบคุม โรครากขาวของยางพารา 20 หนอนกัดกินเปลือกยางพาราและการควบคุมจำกัด 23 การจัดการสวนยางแบบมีส่วนร่วมภาคตะวันออก (จังหวัดฉะเชิงเทราและชลบุรี) 33 การพัฒนายางตีนตะขาบเครื่องเกี่ยวนวด 42 สรุปสถานการณ์ราคายางพาราในไตรมาสที่ 2 และแนวโน้มในไตรมาสที่ 3 ของปี พ.ศ. 2556 ประจำฉบับ ข่าวสถาบันวิจัยยาง 47 ย้ายข้าราชการ.... ภาพปก : ความเสียหายของต้นยางที่เกิดจากโรครากขาว
  3. 3. บทบรรณาธิการ ภัยมืดยังคงมีอยู่ในสวนยาง โดยเฉพาะสวนที่มีการ ปลู ก แทนด้ ว ยยางพารา เจ้ า ของสวนได้ ผ ลประโยชน์ รายได้ประจำจากการเก็บผลผลิตยางพารา ในทางตรง กันข้ามก็มีการสะสมของโรคศัตรูยางมากขึ้น เจ้าของสวน ยางควรหมั่นสังเกตว่าต้นยางมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร บ้างที่ผิดปกติ เช่น ต้นยางบางต้นมีน้ำยางไหลมากล้น เพิ่มขึ้นมากผิดธรรมดา อาจเป็นการให้ผลผลิตมากครั้ง สุ ด ท้ า ยของต้ น ก็ ไ ด้ ควรสั ง เกตว่ า ต้ น ยางมี ลั ก ษณะใบ ปลายยอดสูงสุดมีอาการเหลือง อาจเกิดเฉพาะต้นหรือ กลุ่มของต้นยาง ที่โคนต้นยาง รากยางมีลักษณะที่เป็น สาเหตุของโรครากหรือไม่ เช่น โรครากขาว เคยมีรายงาน ของประเทศศรี ลั ง กาว่ า มี ก ารระบาดมากถึ ง ร้ อ ยละ 20 ทำให้ ต้ อ งเปลี่ ย นเป็ น ปลู ก พื ช ชนิ ด อื่ น ทั้ ง นี้ สาเหตุ เ กิ ด จากสวนยางที่ ป ลู ก แทนด้ ว ยยางพาราไม่ ท ำลายต้ น ตอ ยางเก่ า ให้ ห มดสิ้ น ไปก่ อ นปลู ก ยางพารารุ่ น ใหม่ ทำให้ รากของต้นตอยางเก่ายังมีชีวิตอยู่และอ่อนแอเป็นแหล่ง สะสมของโรครากขาว และถ่ายทอดได้โดยตรงจากรากที่ กำลังเป็นโรคสู่รากยางต้นใหม่เมื่อรากมาสัมผัสกัน ถ้า ไม่ ท ำการป้ อ งกั น รั ก ษาก็ จ ะแพร่ ร ะบาดมากขึ้ น ไปสู่ ต้ น ข้ า งเคี ย งที่ อ ยู่ ติ ด กั น ทำให้ สู ญ เสี ย รายได้ แ ละกำลั ง ใจ ของเกษตรกร สำหรั บ แมลงหนอนกั ด กิ น เปลื อ กยาง ที่นำมาแสดงไว้ บ้างครั้งอาจพบว่ามีแมลงเหล่านี้เกิดขึ้น โดยเฉพาะสวนยางพาราในเขตปลูกยางใหม่ที่มีฤดูแล้ง ยาวนาน การใส่ปุ๋ยบำรุงต้นยางพาราเป็นภารกิจที่จำเป็น เพราะการเก็บเกี่ยวนำผลผลิตออกมาจากพื้นที่ ก็คือการ นำเอาแร่ธาตุและความอุดมสมบูรณ์ของดินออกไป ทำให้ ต้นยางพารามีแร่ธาตุอาหารไม่เพียงพอหรือไม่สมดุลกับ ความต้องการของต้นยางพารา ดังนั้น จึงจำเป็นต้องใส่ปุ๋ย เพิ่มเติมตามคำแนะนำการบำรุงรักษาต้นยาง ในเนื้อหา ฉบั บ นี้ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า การใส่ ปุ๋ ย บำรุ ง ต้ น ยางตามคำ แนะนำส่ ว นมาก ทำให้ ไ ด้ ผ ลผลิ ต มากกว่ า วิ ธี ก ารของ เกษตร แต่ ก็ มี เ กษตรการบางรายที่ ข ยั น เป็ น พิ เ ศษและ เข้าใจดี อาจได้ผลผลิตมากกว่าเล็กน้อย ในขณะที่ราคา ยางอยู่ในระดับปานกลางและอาจต่ำลง เพราะปริมาณผล ผลิตยางมีมากกว่าความต้องการซื้อยางของต่างประเทศ เพราะเศรษฐกิจของโลกชะลอตัว ดังนั้น จึงควรหาหนทาง ที่ จ ะใช้ ย างในประเทศให้ ม ากขึ้ น และเป็ น การแสดงให้ ลูกค้าต่างประเทศเห็นหรือทำตาม ทำให้ขายยางที่มีอยู่ ได้มากขึ้น ทำให้ราคายางท้องถิ่นมีราคาดีขึ้น ในฉบับนี้ ได้ แ สดงไว้ ตั ว อย่ า งหนึ่ ง จะได้ รั บ ความสนใจจากผู้ ประกอบการหรือไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ต่อไป ซึ่งควร มีงานวิจัยเพิ่มขึ้น หรือมีงานวิจัยแล้วว่าสามารถใช้ยาง ในประเทศมากขึ้ น หรื อ เพิ่ ม มู ล ค่ า สิ น ค้ า ยางธรรมชาติ ควรได้ ท ดสอบใช้ ใ ห้ เ ห็ น ชั ด เจน อั น จะนำมาซึ่ ง เป็ น ผลดีต่อเกษตรกร ผู้เกี่ยวข้องและประโยชน์ส่วนรวม อารักษ์ จันทุมา บรรณาธิการ เจ้าของ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร บรรณาธิการบริหาร นายสุวิทย์ ชัยเกียรติยศ รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสถาบันวิจัยยาง บรรณาธิการ นายอารักษ์ จันทุมา ผู้ช่วยบรรณาธิการ พิเชฏฐ์ พร้อมมูล กองบรรณาธิ ก าร เอนก กุณาละสิริ, พรรษา อดุลยธรรม, ดร.นภาวรรณ เลขะวิพัฒณ์, ดร.พเยาว์ ร่มรื่นสุขารมย์, ดร.กฤษดา สังข์สิงห์ ผู้จัดการสื่อสิ่งพิมพ์ ไพรัตน์ ทรงพานิช ผู้จัดการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สมจิตต์ ศิขรินมาศ ผู้ช่วย ผู้จัดการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จักรพงศ์ อมรทรัพย์ ผู้จัดการระบบฐานข้อมูล พิเชฏฐ์ พร้อมมูล ผู้จัดการสนทนาภาษายาง วราวุธ ชูธรรมธัช
  4. 4. 2 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ศักยภาพดินที่เหมาะสมต่อการปลูกยาง จังหวัดสุรินทร์และศรีสะเกษ สุทัศน์ สุรวาณิช สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 4 อุบลราชธานี กรมวิชาการเกษตร ปั จ จุ บั น พบว่ า เกษตรกรในพื้ น ที่ ภ าคตะวั น ออก เฉี ย งเหนื อ ตอนล่ า ง ได้ เ ปลี่ ย นอาชี พ จากทำไร่ มั น สำปะหลั ง และอ้ อ ยเดิ ม หั น มาปลู ก ยางพาราแทนกั น มากขึ้ น โดยมี จ ำนวนมากได้ ป ลู ก ยางในพื้ น ที่ ไ ม่ เหมาะสม ประสบปัญหาทั้งการเจริญเติบโตหรือผลผลิต พื้ น ที่ เ หล่ า นี้ อ าจจะทำไร่ มั น สำปะหลั ง หรื อ อ้ อ ยดี ก ว่ า และด้ ว ยข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ อ าชี พ ทำสวนยางพารานั้ น เป็ น การเกษตรที่ต้องลงทุนในระยะเริ่มแรกค่อนข้างสูง กว่า จะเห็นผลค่อนข้างช้า ดังนั้น จึงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างเสี่ยง อย่างยิ่งสำหรับเกษตรมือใหม่ที่หลายรายที่หันมาปลูก ยางตามกระแส โดยลื ม คำนึ ง ถึ ง ว่ า ยางพาราก็ เ ป็ น พื ช ธรรมดาเหมื อ นเช่ น พื ช อื่ น ๆ ทั่ ว ไป ที่ ก็ ต้ อ งการ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมด้วยเช่นกัน ดังนั้น ขั้นตอน การเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการปลูกพืช จึงเป็นขั้นตอน เริ่มแรกที่จำเป็นอย่างยิ่งในการตัดสินใจทำการเกษตร โดยเกษตรกรไม่จำเป็นต้องไปเสี่ยงลองผิดลองถูกเอง เป็ น หน้ า ที่ ข องภาครั ฐ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จะต้ อ งเป็ น ผู้ ใ ห้ ค ำ แนะนำทางวิชาการในการพิจารณาตัดสินใจเลือกพื้นที่ ปลูก จะต้องกำหนดเขตแนะนำการปลูกพืชที่เหมาะสม ตลอดจนเขตห้ า มปลู ก พื ช แก่ เ กษตรกรให้ ชั ด เจน แต่ ปัจจุบันในพื้นที่นี้ยังขาดข้อมูลดังกล่าว ในฐานะนั ก วิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จึ ง ได้ วิ เ คราะห์ ศักยภาพที่ดินสำหรับการปลูกยางในเขตจังหวัดสุรินทร์ และศรีสะเกษก่อน และจะทยอยวิเคราะห์จังหวัดอื่นๆ ต่อไป โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ จัดทำเป็นแผนที่กำหนดเขตศักยภาพที่ดินที่เหมาะสมต่อ การปลู ก ยาง ที่ ส ามารถใช้ เ ป็ น แผนที่ น ำทาง (Guide Map) เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้น สำหรับระดับผู้บริหารใน การวางแผน หรือสำหรับใช้ในการตัดสินใจของเกษตรกร ในเขตจังหวัดดังกล่าว ที่จะทำให้สามารถเลือกปลูกยาง ได้ ต รงตามศั ก ยภาพที่ ดิ น ของตน และเหมาะสมกั บ สภาพความพร้อมของตนได้ต่อไป วิธีการศึกษา ใชัวิธีการประเมินศักยภาพที่ดินเพื่อการผลิตพืช ด้วยโมเดล (Model) ที่เรียกว่า “การประเมินศักยภาพ ที่ดินด้วยหลายปัจจัยในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Multi-factor land evaluation in Geographic Information System- GIS)” (ภาพที่ 1) ที่พัฒนาโดย Sutat (2006) โดยวิ ธี ก ารนี้ ไ ด้ มี ก ารนำวิ ธี ค ำนวณให้ น้ ำ หนั ก ปั จ จั ย ที่ จ ำเป็ น ต่ อ การผลิ ต พื ช แบบเอเอชพี (AHP : Analytical Hierarchical Processing) และ วิธีการเปรียบเทียบแบบแพไวส์ (Pairwise Comparison Method) มาประยุกต์ใช้ เพื่อคำนวณหาน้ำหนักของแต่ ละปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตยาง โดยชั้นความเหมาะสม ของการปลูกยางที่ได้จากวิธีการนี้ จะถูกจำแนกโดย วิธี การลีเนียคอมบิเนชั่น (Linear Combination) ผลของ การจำแนกจะถู ก ตรวจสอบความถู ก ต้ อ ง ด้ ว ยข้ อ มู ล การตรวจสอบภาคสนามจริง (Ground Truth) อาศัย เครื่ อ งมื อ หาตำแหน่ ง พิ กั ด ด้ ว ยดาวเที ย ม (Global Positioning System - GPS) ซึ่งมีตัวชี้วัด 2 ตัว ได้แก่ ผลผลิ ต ยาง และสมบั ติ ดิ น (Soil Properties) ณ ตำแหน่ ง พิ กั ด ที่ ป ลู ก จริ ง บนชั้ น ความเหมาะสมต่ า งๆ กัน เพื่อคำนวณหาค่าความถูกต้องของการวิเคราะห์
  5. 5. 3 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 รวม (Overall Accuracy) ค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ แ คมป้ า (Kappa Coefficient) ต่อไป ซึ่งค่าความถูกต้องของ การวิเคราะห์รวม ค่าสัมประสิทธิ์แคมป้าที่ได้ยิ่งสูง ยิ่ง หมายความว่าความถูกต้องของการวิเคราะห์ยิ่งมีความ ถูกต้องน่าเชื่อถือ อุปกรณ์ และข้อมูลที่ใช้ 1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับการวิเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) 2. เครื่องหาตำแหน่งพิกัดด้วยดาวเทียม (Global Positioning System - GPS) 3. ข้อมูลการสำรวจดินรายจังหวัดของกรมพัฒนา ที่ดิน 4. แผนที่อุตุนิยมวิทยาคาบ 30 ปี ของกรมอุตุนิยม วิทยา 5. ฐานข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ของกรม ส่งเสริมคูณภาพสิ่งแวดล้อม 6. ปัจจัยการผลิต ยาง ของสถาบันวิจัยยาง อาศัยข้อมูลปัจจัยการผลิตที่พืชต้องการ (Crop Requirement) ที่จำเป็นต่อการผลิตยาง นำมาสรุป โดย แบ่งเป็นชั้นความเหมาะสมและระดับขีดจำกัดสำหรับ การผลิตยาง ตามรูปแบบขององค์การอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ (FAO, 2001) ได้ตาม ตาราง 1 เพื่อ นำไปใช้ในขั้นตอนการวิเคราะห์แยกชั้นศักยภาพพื้นที่ ต่อไป ข้อมูลพื้นที่ศึกษา ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดสุรินทร์ ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 8,124 ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ ประมาณ 5,077,535 ไร่คิดเป็นร้อยละ 4.8 ของพื้นที่ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือทั้งหมด ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป ภาพที่ 1 วิธีการประเมินศักยภาพที่ดินด้วยหลายปัจจัยในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ที่มา : Sutat (2006)
  6. 6. 4 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ตารางที่ 1 ปัจจัยที่จำเป็นและระดับขีดจำกัดที่มีผลต่อการผลิตยาง ปัจจัยที่จำเป็น ระดับขีดจำกัด R1 R2 1. ช่วงระยะการเจริญ (เดือน) >11 10-11 2. ความลาดชัน (เปอร์เซนต์) 0-20 20-35 3. การระบายน้ำของดิน ดี ปานกลาง 4. ระดับน้ำใต้ดิน (เซนติเมตร) >100 >50-100 5. เนื้อดิน ร่วนเหนียว เหนียว ร่วนทราย ร่วน ปนทรายร่วมเหนียว ปนทราย ปนทราย ละเอียด 6. ความลึกหน้าดิน (เซนติเมตร) >150 100-150 7. อินทรียวัตถุ (เปอร์เซนต์) >1.2 0.8-1.2 (ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร) ผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี) > 300 >200-300 N 7-10 >35 เลว 20-50 ทราย เหนียว 50-100 <0.8 < 200 ที่มา : Sys (1992), Somyot (1992), สุทัศน์ และคณะ (2542) หมายเหตุ R1:พื้นที่เหมาะสม R2: พื้นที่เหมาะสมปานกลาง N : พื้นที่ไม่แนะนำให้ปลูก มี ลั ก ษณะดั ง นี้ คื อ บริ เ วณซึ่ ง ติ ด ต่ อ กั บ ราชอาณาจั ก ร กัมพูชา มีป่าทึบและภูเขาสลับซับซ้อน ถัดจากบริเวณ ภูเขา จะเป็นที่ราบสูงลุ่มๆ ดอนๆ ลักษณะลูกคลื่นลอน ลาด บริเวณตอนกลางของจังหวัด จะเป็นที่ราบลุ่มเป็น ส่วนใหญ่ มีที่ราบสูงอยู่บางตอน ด้านเหนือของจังหวัด เป็ น ที่ ร าบลุ่ ม แม่ น้ ำ ไหลผ่ า น จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ตั้ ง อยู่ ใ น บริเวณที่ราบสูงมีลักษณะพื้นที่ดังนี้ 1) ทางตอนใต้ ข องจั ง หวั ด เป็ น พื้ น ที่ ร าบสู ง มี ภูเขาสลับซับซ้อนหลายลูก มีป่าทึบสลับป่าเบญจพรรณ ตามบริ เ วณแนวเขตชายแดน (อำเภอบั ว เชด สั ง ขะ กาบเชิง และกิ่งอำเภอพนมดงรัก) ที่ติดต่อกับประเทศ กั ม พู ช าประชาธิ ป ไตย ต่ อ จากบริ เ วณภู เ ขาลงมาเป็ น ที่ราบสูง ลุ่มๆ ดอนๆ ลาดเท มีลักษณะเป็นลูกคลื่น ค่อยๆ ลาดเทไปทางตอนกลางและตอนเหนื อ ของจั ง หวั ด ทางตอนกลางของจังหวัด พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม แต่ มี พื้ น ที่ บ างส่ ว นเป็ น ที่ ด อน สลั บ ที่ ลุ่ ม ลอนลาดเช่ น เดียวกัน แต่ไม่มากเท่าทางตอนใต้ของจังหวัด (อำเภอ เมื อ งสุ ริ น ทร์ กิ่ ง เขวาสิ น ริ น ทร์ ศี ข รภู มิ สำโรงทาบ ลำดวน และกิ่งศรีณรงค์) 2) ทางตอนเหนือของจังหวัด พื้นที่ส่วนใหญ่เป็น ที่ราบ (อำเภอจอมพระ สนม) และที่ราบลุ่ม (อำเภอ ชุมพลบุรี ท่าตูม รัตบุรี และกิ่งโนนนารายณ์) โดยเฉพาะ อำเภอชุ ม พลบุ รี และท่ า ตู ม อยู่ ใ นที่ ร าบลุ่ ม แม่ น้ ำ มู ล ในเขตของทุ่งกุลาร้องไห้ ลักษณะภูมิอากาศ อยู่ในแถบของลมมรสุมเขต ร้ อ น ลั ก ษณะของลมฟ้ า อากาศ และปริ ม าณน้ ำ ฝน จะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของลมมรสุมเป็นสำคัญ ลมมรสุม ที่พัดผ่านคือ 1) ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดจากมหาสมุทร อินเดียเข้าสู่บริเวณภาคใต้ ภาคกลาง ภาคตะวันออก เฉี ย งเหนื อ ทำให้ เ กิ ด ฝนตก แต่ จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ไ ด้ รั บ
  7. 7. 5 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ปริ ม าณน้ ำฝนจากลมมรสุ ม ตะวั น ตกเฉี ยงใต้ ค่อนข้าง น้ อ ย เนื่ อ งจากมี เ ทื อ กเขาพนมดงรั ก กั้ น อยู่ ปริ ม าณ น้ำฝนส่วนใหญ่มาจากอิทธิพลของลมพายุในทะเลจีนใต้ 2) ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดจากแคว้น ไซบี เ รี ย และทางตอนเหนื อ ของประเทศจี น ทำให้ เ กิ ด ความหนาวเย็นและความแห้งแล้งโดยทั่วไป ฤดูกาล ในจังหวัดสุรินทร์ มี 3 ฤดู ในแต่ละฤดูจะ มีช่วงเวลาไม่คงที่แน่นอน ขึ้นอยู่กับปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติ และอิทธิพลของลมมรสุมเป็นหลัก แต่โดย ทั่ว ๆ ไป พอสรุปได้ดังนี้ 1) ฤดูร้อน อยู่ระหว่างช่วงเดือน กุมภาพันธ์ หรือ มีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนอบอ้าว และ ร้อนจัดมากในบางช่วง ส่งผลให้เกิดความแห้งแล้งโดย ทั่วไป 2) ฤดู ฝ น อยู่ ร ะหว่ า งเดื อ นพฤษภาคม หรื อ มิ ถุ น ายน ถึ ง เดื อ นตุ ล าคม ปริ ม าณน้ ำ ฝนไม่ แ น่ น อน บางปีมาก บางปีน้อย ขึ้นอยู่กับอิทธิพลของลมมรสุม และลมพายุดีเปรสชันในทะเลจีนใต้ 3) ฤดูหนาว อยู่ระหว่างช่วงเดือนตุลาคม หรือ พฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม ความหนาวเย็นในแต่ละ ปี ขึ้ น อยู่ กั บ อิ ท ธิ พ ลของลมมรสุ ม ตะวั น ออกเฉี ยงเหนือ และร่องความกดอากาศต่ำจากประเทศจีน ลั ก ษณะดิ น ลั ก ษณะของดิ น ในจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ เป็ น ดิ น ร่ ว นปนทราย มี บ างพื้ น ที่ เช่ น กิ่ ง อำเภอเขวา สินรินทร์ เป็นดินเหนียวปนทราย ฉะนั้น ดินในจังหวัด สุรินทร์จึงอุ้มน้ำได้น้อย พื้นที่ปลูกยางที่เปลี่ยนมาจากมันสำปะหลังและ อ้อย พื้นที่ปลูกยางในจังหวัดนี้ ส่วนใหญ่เปลี่ยนมาจาก มันสำปะหลังและอ้อย จากการสำรวจ โดยดาวเทียม Spot 5 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อมูลปี 2551 (สถาบันวิจัยยาง, 2553) จังหวัดสุรินทร์ มีเนื้อที่ปลูกยาง รวม 90,686 ไร่ โดยมีการปลูกมากสุดที่ อำเภอพนม ดงรัก และสังขะ เนื้อที่ 24,519 ไร่ และ 17,506 ไร่ ตามลำดับ ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดศรีสะเกษ ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศ ตั้ ง อยู่ ข อบแอ่ ง ที่ ร าบลุ่ ม โคราชด้านตะวันออก เป็นบริเวณที่มีผืนแผ่นดินกว้าง ขวาง อาจเรียกได้ว่า เป็นบริเวณลุ่มน้ำมูล-น้ำชีตอนล่าง ซึ่งอุดมไปด้วยลุ่มน้ำลำห้วยหลายสายไหลมาบรรจบใน เขตอีสานใต้ ลักษณะภูมิประเทศด้านใต้เป็นที่สูงแล้ว ค่อยๆ ลาดเอียงไปทางเหนือ ตอนกลางเป็นที่ลาดเอียง เล็กน้อย และที่ราบลอนลาด ส่วนเหนือเป็นที่ราบสูง ลักษณะอากาศ ตั้งอยู่ห่างไกลจากทะเลมาก และ อยู่ ใ นเขตร้ อ น ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากลมมรสุ ม ตะวั น ตก เฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้นั้น พัดเข้ามากลางเดือนพฤษภาคมถึง กลางเดื อ นตุ ล าคม ซึ่ ง เป็ น ช่ ว งฤดู ฝ น ลมนี้ จ ะพั ด เอา ความชุ่มชื้น และนำฝนมาตก เดือนที่มีฝนตกหนักคือ เดื อ นกั น ยายน นอกจากนี้ ยั ง อยู่ ใ นเส้ น ทางของพายุ ดี เ ปรสชั่ น ที่ ก่ อ ตั ว ขึ้ น ในทะเลจี น ใต้ สาเหตุ ที่ ท ำให้ ปริมาณน้ำฝนในจังหวัดศรีสะเกษ มีปริมาณไม่มาก เมื่อ เปรี ย บเที ย บกั บ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตอนบน เนื่องมาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ที่มีเทือกเขาพนมดงรัก ทางตอนใต้ขวางกั้นลมฝนหรือที่เรียกว่าลมมรสุมตะวัน ตกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นลักษณะเงาฝน (Rain Shadow) ส่วน ในช่ ว งกลางเดื อ นตุ ล าคม ลมมรสุ ม ตะวั น ออกเฉี ย ง เหนือจะพัดผ่านในช่วงเวลาปลายฤดูฝนต้นฤดูหนาวนี้ ลมพายุ ที่ ก่ อ ตั ว แถบทะเลจี น ใต้ จะไม่ เ บนทิ ศ ทางเข้ า สู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง เนื่องจากถูกกำบัง โดยเทือกเขา จึงมักเปลี่ยนเส้นทางสู่ภาคใต้ของประเทศ ไทย ฤดูหนาวจึงเริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลาง เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ โดยอากาศจะหนาวจั ด ระหว่ า ง เดื อ นมกราคม ส่ ว นฤดู ร้ อ นเริ่ ม ต้ น ตั้ ง แต่ ก ลางเดื อ น กุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม เดือนที่มีอ ากาศ ร้อนจัดที่สุด คือเดือนเมษายน ด้วยลักษณะภูมิประเทศ ดังกล่าวมาแล้ว จึงทำให้ภูมิภาคนี้มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ลักษณะดิน ดินจังหวัดศรีสะเกษมีแหล่งกำเนิด และลักษณะดิน กองสำรวจดิน กรมพัฒนาที่ดิน ได้แบ่ง ออกได้ 3 ประเภท ดังนี้ 1) ดินเกิดจากการที่พัฒนาและทับถมใหม่โดยน้ำ ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ำท่วมถึง ริมแม่น้ำ ลำห้วยต่างๆ จะ ประกอบด้วยดินหลายชนิดอยู่ปะปนกัน ลักษณะดินเป็น ลักษณะไม่แน่นอน มีตั้งแต่ดินร่วนปนทราย ดินร่วนปน ซิลท์ถึงดินเหนียวปนกรวด การระบายน้ำดีถึงเลวส่วน
  8. 8. 6 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างสูง ปลูกพืชให้ผลผลิต ค่อนข้าง มากใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชผัก พืชไร่ เช่น ยาสูบ ข้าวโพด หรือไม้ผล แต่มักมีปัญหาน้ำท่วมอยู่เสมอ มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 185,031 ไร่ หรื อ ประมาณร้ อ ยละ 3.35 ของเนื้อที่ทั้งหมด 2) ดินเกิดจากตะกอนที่ถูกพัดมาทับถมโดยลำน้ำ มานานแล้ว ได้แก่ บริเวณที่ราบต่ำ และเป็นลูกคลื่นลอน ตื้ น ถึ ง ลอนชั น (ลาดตะพั ด ลำน้ ำ ชั้ น สู ง ) ลั ก ษณะดิ น บริเวณที่มีทั้งที่นาและดินในที่ดอน สำหรับดินนาจะอยู่ ในระดั บ ลานตะพั ด ลำน้ ำ ชั้ น ต่ ำ ถึ ง บางส่ ว นของสวน ตะพั ด ลำน้ ำ ชั้ น กลาง ลั ก ษณะมี เ นื้ อ ดิ น ตั้ ง แต่ ดิ น ร่ ว น ปนทรายดินร่วนเหนียวถึงดินเหนียว ส่วนใหญ่เป็นดิน ลึกระบายน้ำค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ำ บางแหล่ ง มี ลั ก ษณะดิ น ลู ก รั ง ปนอยู่ มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 80.2 เปอร์เซนต์ของพื้นที่ทั้งจังหวัด 3) ดินเกิดจากการสลายตัวของหินอยู่กับที่ และ เกิ ด ตามที่ ร าบเขาจากวั ต ถุ ก ำเนิ ด พวกหิ น บาซอลท์ หิ น แอนดี ไ ซด์ พบบริ เ วณที่ ร าบเชิ ง เขาบริ เ วณที่ ถู ก กั ด เซาะ ดิ น ส่ ว นนี้ จ ะแพร่ ก ระจายอยู่ ด้ า นตะวั น ออก และด้านใต้ของจังหวัดตามแนวเขาพนมดงรัก ลักษณะ ดินเป็นดินพื้นที่ส่วนมากมักมีหินและกรวดปน บางแห่ง เป็นดินลึกปานกลางถึงลึกมาก ความลาดเทของพื้นที่ ตั้งแต่ 1-20 เปอร์เซนต์ สำหรับเชิงเขาเนื้อดินตั้งแต่ร่วน ปนทราย ดินร่วนเหนียวปนทราย ดินเหนียวปนทราย มี ก รวดปน ถึ ง ดิ น เหนี ย ว ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ค่อนข้าง ต่ำถึงค่อนข้างสูง พื้นที่ปลูกยางที่เปลี่ยนมาจากมันสำปะหลังและ อ้อย พื้นที่ปลูกยางในจังหวัดนี้ ส่วนใหญ่เปลี่ยนมาจาก มันสำปะหลังและอ้อย จากการสำรวจ โดยดาวเทียม Spot 5 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อมูลปี 2551 (สถาบันวิจัยยาง, 2553) จังหวัดศรีสะเกษ มีเนื้อที่ปลูก ยาง รวม 176,096 ไร่ โดยมีการปลูกมากสุดที่ อำเภอ กันทรลักษ์ และขุนหาญ เนื้อที่ 76,149 ไร่ และ 50,353 ไร่ ตามลำดับ ผลการดำเนินงาน ผลการวิ เ คราะห์ ป ระเมิ น ศั ก ยภาพที่ ดิ น ต่ อ การ ปลูกยางพารา ตามวิธีการประเมินศักยภาพที่ดินด้วย หลายปัจจัยในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ดังกล่าว ข้ า งต้ น ควบคู่ กั บ การออกสุ่ ม ตรวจสอบความถู ก ต้ อ ง ภาคสนาม แล้วจัดพิมพ์เป็นแผนที่ คำนวณพื้นที่ แยก ชั้ น ความเหมาะสมต่ อ การปลู ก ยางออกเป็ น 4 ชั้ น ได้แก่ 1) พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยาง (R1) : พื้นที่ ไม่ มี ข้ อ จำกั ด ในเรื่ อ งดิ น แต่ มี ข้ อ จำกั ด ในเรื่ อ งการ กระจายของฝน ปริ ม าณฝนที่ ค่ อ นข้ า งน้ อ ยกว่ า ที่ พื ช ต้ อ งการ จึ ง เที ย บได้ กั บ ชั้ น L2 ชั้ น ความเหมาะสม ปานกลางต่อการปลูกยางในระดับประเทศ 2) พื้ น ที่ เ หมาะสมปานกลางต่ อ การปลู ก ยาง (R2a) : เนื่องมาจากมีปัญหาเรื่อง การระบายน้ำของดิน หรือมีระดับน้ำใต้ดินค่อนข้างตื้น เพราะว่ามีชั้นดินอัด แน่นในระดับตื้น อันเนื่องมาจากการทำไร่ไถพรวนมา เป็นระยะเวลานานจนน้ำไม่สามารถไหลซึมผ่านได้ รวม ถึงพื้นที่ที่มักมีน้ำท่วมขังในฤดูฝนค่อนข้างนาน ฯลฯ จน ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาของระบบราก พื้นที่นี้เทียบ ได้กับพื้นที่พอที่จะปลูกยางได้ (L3) ของระดับประเทศ 3) พื้ น ที่ เ หมาะสมปานกลางต่ อ การปลู ก ยาง (R2b) : เนื่องมาจากมักมีเศษหิน กรวด หรือลูกรัง แต่ ไม่ อั ด แน่ น ในระดั บ ตื้ น ลึ ก จากผิ ว ดิ น ประมาณ 50 เซนติเมตรลงไป รวมถึงพื้นที่ที่มีชั้นหินแข็งในระดับลึก จากผิวดินประมาณ 1 เมตร ฯลฯ ที่ส่งผลกระทบต่อการ พั ฒ นาของระบบราก พื้ น ที่ นี้ เ ที ย บได้ กั บ พื้ น ที่ พ อที่ จ ะ ปลูกยางได้ (L3) ของระดับประเทศ 4) พื้นที่ไม่แนะนำให้ปลูกยาง (N) : เนื่องจากดิน มีปัญหาหลายด้าน เช่น เป็นที่ลุ่มน้ำขัง หน้าดินตื้นมาก มีเศษหินกรวดลูกรังปะปนในหน้าดินมากเกินไป ระดับ น้ำใต้ดินตื้นมาก ดินด่าง ดินเค็ม มีความลาดชันสูงเกิน 35 เปอร์เซนต์ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอนุรักษ์ ฯลฯ สรุปผลการจำแนกพื้นที่แต่ละจังหวัดได้ดังนี้ 1. จังหวัดสุรินทร์ (ภาพที่ 2) 1.1 พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยาง (R1) ส่วน ใหญ่ ก ระจั ด กระจายอยู่ บ ริ เ วณกิ่ ง อำเภอพนมดงรั ก กาบเชิง ปราสาท สังขะ บัวเชด กิ่ง ศรีณรงค์ ลำดวน จอมพระ และบางส่วนของ อำเภอเมือง ท่าตูม สนม รัตนบุรี และสำโรงทาบ รวมทั้งสิ้น 2,159,921ไร่ คาดว่า พื้นที่นี้มีศักยภาพในการให้ผลผลิตเฉลี่ย มากกว่า 250
  9. 9. 9 7 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ภาพที่ 2 แผนที่เขตศักยภาพที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา จังหวัดสุรินทร์
  10. 10. 8 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี 1.2 พื้นที่เหมาะสมปานกลางต่อการปลูกยาง (R2a) ส่วนใหญ่จะอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด กระจัด กระจายอยู่ บ ริ เ วณอำเภอสำโรงทาบ รั ต นบุ รี ท่ า ตู ม และชุ ม พลบุ รี รวมทั้ ง สิ้ น 86,640 ไร่ พื้ น ที่ เ ขตนี้คาด ว่าดินมีศักยภาพในการให้ผลผลิตเฉลี่ยน้อยกว่า 250 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี 1.3 พื้นที่เหมาะสมปานกลางต่อการปลูกยาง (R2b) พบกระจั ด กระจายอยู่ บ ริ เ วณอำเภอรั ต นบุ รี ท่ า ตู ม ชุ ม พลบุ รี สนม ศี ข รภู มิ เมื อ ง ปราสาท กิ่ ง พนมดงรั ก กาบเชิ ง และสั ง ขะ รวมทั้ ง สิ้ น 359,436 ไร่ พื้นที่เขตนี้คาดว่าดินมีศักยภาพในการให้ผลผลิต เฉลี่ยน้อยกว่า 250 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี 1.4 พื้นที่ไม่แนะนำให้ปลูกยาง (N) ส่วนใหญ่อยู่ ทางตอนกลาง และตอนเหนื อ ของจั ง หวั ด บริ เ วณ อำเภอเมือง สำโรงทาบ กิ่ง เขวาสินรินทร์ ศีขรภูมิ และ บางส่วนของ อำเภอลำดวน ปราสาท กิ่ง พนมดงรัก กาบเชิง สังขะ รัตนบุรี ท่าตูม และชุมพลบุรี 2. จังหวัดศรีสะเกษ (ภาพที่ 3) 2.1 พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยาง (R1) ส่วน ใหญ่ จ ะอยู่ ท างตอนใต้ แ ละซี ก ตะวั น ออกของจั ง หวั ด บริ เ วณอำเภอภู สิ ง ห์ ขุ น หาญ กั น ทรลั ก ษ์ ศรี รั ต นะ เบญจลักษ์ น้ำเกลี้ยง กันทรารมย์ ยางชุมน้อย ขุขันธ์ เมือง บึงบูรพ์ และปรางค์กู่ รวมทั้งสิ้น 1,016,662 ไร่ คาดว่ า พื้ น ที่ นี้ มี ศั ก ยภาพในการให้ ผ ลผลิ ต เฉลี่ ย มาก กว่า 250 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี 2.2 พื้นที่เหมาะสมปานกลางต่อการปลูกยาง (R2a) พบกระจั ด กระจายอยู่ บ ริ เ วณอำเภอขุ ขั น ธ์ ไพรบึง ปรางค์กู่ วังหิน อุทุมพรพิสัย บีงบูรพ์ ราษีไศล กั น ทรารมย์ เบญจลั ก ษ์ กั น ทรลั ก ษ์ และขุ น หาญ รวมทั้งสิ้น 536,092 ไร่ พื้นที่เขตนี้คาดว่าดินมีศักยภาพ ในการให้ ผ ลผลิ ต เฉลี่ ย น้ อ ยกว่ า 250 กิ โ ลกรั ม ต่ อ ไร่ ต่อปี 2.3 พื้นที่เหมาะสมปานกลางต่อการปลูกยาง (R2b) พบกระจัดกระจายอยู่ทางตอนล่างของจังหวัด บริเวณอำเภอศรีรัตนะ เบญจลักษ์ กันทรลักษ์ ขุนหาญ และภูสิงห์ รวมทั้งสิ้น 386,135 ไร่ พื้นที่เขตนี้คาดว่า ดิ น มี ศั ก ยภาพในการให้ ผ ลผลิ ต เฉลี่ ย น้ อ ยกว่ า 250 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี 2.4 พื้นที่ไม่แนะนำให้ปลูกยาง (N) พื้นที่ส่วน ใหญ่อยู่ทางตอนกลางจนถึงส่วนเหนือของจังหวัด บริเวณ อำเภอศรี รั ต นะ พยุ ห์ ไพรบึ ง เบญจลั ก ษ์ น้ ำ เกลี้ ย ง กันทรารมย์ ขุขันธ์ วังหิน ปรางค์กู่ เมือง อุทุมพรพิสัย บึงบูรพ์ ราษีไศล ยางชุมน้อย กิ่ง ศิลาลาด และบาง ส่วนของ ภูสิงห์ ขุนหาญ และกันทรลักษ์ สรุปศักยภาพพื้นที่ปลูกยางจังหวัดสุรินทร์ และศรีสะเกษ พื้นที่เหมาะสมต่อการปลูกยาง ไม่มีข้อจำกัดใน เรื่ อ งดิ น แต่ มี ข้ อ จำกั ด ในเรื่ อ งการกระจายของฝน ปริมาณฝน ที่ค่อนข้างน้อยกว่าที่พืชต้องการ จึงเทียบ ได้ กั บ ชั้ น ความเหมาะสมปานกลางต่ อ การปลู ก ยาง ในระดั บ ประเทศ มี พื้ น ที่ ร วมทั้ ง สองจั ง หวั ด เท่ า กั บ 3,176,583 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลางต่อการปลูกยาง พื้นที่มี ปัญหาเรื่องการระบายน้ำของดิน หรือมีระดับน้ำใต้ดิน ค่ อ นข้ า งตื้ น เพราะว่ า มี ชั้ น ดิ น อั ด แน่ น ในระดั บ ตื้ น อั น เนื่ อ งมาจากการทำไร่ ไ ถพรวนมาเป็ น ระยะเวลา นานจนน้ำไม่สามารถไหลซึมผ่านได้ รวมถึงพื้นที่ที่มัก มี น้ ำ ท่ ว มขั ง ในฤดู ฝ นค่ อ นข้ า งนาน ฯลฯ จนส่ ง ผล กระทบต่ อ การพั ฒ นาของระบบราก พื้ น ที่ นี้ เ ที ย บได้ กับพื้นที่พอที่จะปลูกยางได้ของระดับประเทศ มีพื้นที่ รวมทั้งสองจังหวัดเท่ากับ 1,325,289 ไร่ พื้นที่เหมาะสมปานกลางต่อการปลูกยาง พื้นที่ดิน มีเศษหิน กรวด หรือลูกรังปน แต่ไม่อัดแน่นในระดับตื้น ลึ ก จากผิ ว ดิ น ประมาณ 50 เซนติ เ มตรลงไป รวมถึ ง พื้ น ที่ ที่ มี ชั้ น หิ น แข็ ง ในระดั บ ลึ ก จากผิ ว ดิ น ประมาณ 1 เมตร ฯลฯ ที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาของระบบราก พื้ น ที่ นี้ เ ที ย บได้ กั บ พื้ น ที่ พ อที่ จ ะปลู ก ยางได้ ข องระดั บ ประเทศ มีพื้นที่รวมทั้งสองจังหวัดเท่ากับ 745,571 ไร่ พื้นที่ไม่แนะนำให้ปลูกยาง เนื่องจากดินมีปัญหา หลายด้าน เช่น เป็นที่ลุ่มน้ำขัง หน้าดินตื้นมาก มีเศษหิน กรวดลูกรังปะปนในหน้าดินมากเกินไป ระดับน้ำใต้ดิน ตื้ น มาก ดิ น ด่ า ง ดิ น เค็ ม มี ค วามลาดชั น สู ง เกิ น 35 เปอร์เซนต์ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอนุรักษ์
  11. 11. 9 11 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ภาพที่ 3 แผนที่เขตศักยภาพที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา จังหวัดศรีสะเกษ
  12. 12. 10 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 เอกสารอ้างอิง กรมพัฒนาที่ดิน. 2547. http://www.ldd.go.th/gisweb/ วันที่สืบค้น 27 สิงหาคม 2547 เวลา 23.14 น. กรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา. 2547. http://www.tmd.go.th/ weather_map.php วันที่สืบค้น 27 สิงหาคม 2547 เวลา 21.33 น. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. 2549. http://www. deqp.go.th/index.php?option=com_cont ent&view=category&id=26&Itemid=2&lang =th วั น ที่ สื บ ค้ น 12 พฤษภาคม 2549 เวลา 9.40 น. สถาบันวิจัยยาง. 2553. โครงการจัดทำฐานข้อมูลเชิง พื้ น ที่ ข องยางพาราปี 2550 โดยการสำรวจ ข้ อ มู ล ระยะไกลด้ ว ยดาวเที ย มและเทคโนโลยี ภู มิ ส ารสนเทศ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เอกสารเผยแพร่ รายงานฉบับเต็ม สถาบันวิจัย ยาง กรมวิชาการเกษตร 579 หน้า. สถาบันวิจัยยาง. 2545. ข้อมูลวิชาการยางพารา 2545. เอกสารเผยแพร่ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการ เกษตร. 147 หน้า. สุทัศน์ ด่านสกุลผล. 2542. การกำหนดเขตปลูกยางใน ภาคใต้ของประเทศไทย โดยอาศัยวิธีการประเมิน ศักยภาพที่ดิน ควบคู่กับการสำรวจข้อมูลระยะ ไกลและจั ด ระบบสารสนเทศทางภู มิ ศ าสตร์ . เอกสารเผยแพรสถาบั น วิ จั ย ยาง กรมวิ ช าการ เกษตร 242 หน้า. FAO. 2001. Rubber Commodity notes. Commodities and Trade Divition (ESC) Economic and Social Department (ES). Saaty, T.L. 1982. Multi Criteria Decision Making The Analytic Hierarchy Process. RWS Publication, Ellsowrth Avenue, USA. Somyot Sinthurahat. 1992. Elaboration of Land Evaluation Model of Rubber Cultivation in Peninsular Thailand. PhD Thesis, ITC, State University of Ghent, Belgium. 261 p. Sutat Dansagoonpon. 2006. Crop Substitution Modeling Using Remote Sensing and GIS. Asian Institute of Technology, Thailand. 154 p. Sys, C. 1992. Land Evaluation. Part I to III. Intern. Train. Center for Post-Graduate Soil Scientists (ITC), State University of Ghent, Belgium, 125 p.
  13. 13. 11 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ประสิทธิภาพสารเคมีต่อการควบคุม โรครากขาวยางพารา อารมณ์ โรจน์สุจิตร ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุราษฎร์ธานี สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 กรมวิชาการเกษตร พเยาว์ ร่มรื่นสุขารมย์ ศูนย์วิจัยยางฉะเชิงเทรา สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร อุไร จันทรประทิน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสงขลา สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร โรครากขาวของยางพารา เกิดจากเชื้อราชั้นสูง จำพวกเห็ ด (Basidiomycetes) มี ชื่ อ วิ ท ยาศาสตร์ Rigidoporus microporus หรื อ R. lignosus พบ แพร่ ร ะบาด และทำความเสี ย หายแก่ พื้ น ที่ ป ลู ก ยาง ทั่วไป สามารถพบต้นยางเป็นโรคได้ตั้งแต่ 1-2 ปีแรก ปลูก ทำให้ต้นที่เป็นโรคยืนต้นตายและเป็นแหล่งเชื้อ แพร่กระจายแก่ต้นข้างเคียงทั้งในแถวและระหว่างแถว ต่อไป ทำให้จำนวนต้นยางต่อไร่ลดลง สูญเสียรายได้ ทั้งจากผลผลิตน้ำยางและไม้ยาง นอกจากนี้ ยังต้องเสีย ค่ า ใช้ จ่ า ยเพิ่ ม เติ ม ในการควบคุ ม และป้ อ งกั น โรคอี ก ด้วย โรครากขาวในประเทศไทยมีแนวโน้มแพร่ขยาย และระบาดมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ปลูกยาง เดิ ม ซึ่ ง มี ก ารปลู ก ยางแทนรอบใหม่ จากการศึ ก ษา สวนยางพ้ น สงเคราะห์ อ ายุ 6-7 ปี ใ นปี 2548 ใน พื้ น ที่ จั ง หวั ด พั ง งา และสุ ร าษฎร์ ธ านี โดยนางสายใจ และคณะ(2549) พบสวนยางเป็นโรครากขาวถึงร้อยละ 55 และร้อยละ 27 ตามลำดับ ซึ่งหากปล่อยไว้จะทำ ให้ เ กิ ด ความสู ญ เสี ย มากขึ้ น ตามระยะเวลา จากการ สำรวจโรคทั่ ว ไปในพื้ น ที่ ป ลู ก ยางภาคใต้ ต อนบนปี 2543-2546 พบสวนยางเป็ น โรครากขาวกระจายอยู่ ทั่วไปร้อยละ 4.03 เปอร์เซ็นต์ และต่อมาในปี 25482550 พบสวนยางเป็นโรคมากขึ้นเป็นร้อยละ 12.2 ของ จำนวนสวนยางที่สำรวจทั้งหมด ปัญหาหลักของการระบาดโรค และความล้มเหลว ในการป้องกันกำจัดโรค คือการปล่อยปละในการปฏิบัติ ตามคำแนะนำในมาตรการการควบคุมโรคราก ซึ่งวิธี การป้องกันควบคุมโรครากในแปลงยางค่อนข้างยุ่งยาก และค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง จึงไม่ได้รับความเอาใจใส่จาก เกษตรกรเท่าที่ควร เริ่มตั้งแต่ 1) การเตรียมแปลงปลูก โดยการทำความสะอาดแปลงด้วยการขุดเอาตอไม้และ รากไม้ อ อกจากแปลงซึ่ ง ต้ อ งใช้ เ ครื่ อ งจั ก รกล แต่ เ ป็ น วิ ธี ก ารป้ อ งกั น โรคที่ ดี ที่ สุ ด หรื อ ให้ ป ล่ อ ยพื้ น ที่ ที่ เ คย เป็ น โรครากโดยไม่ ป ลู ก พื ช หรื อ ปลู ก พวกพื ช ไร่ ล้ ม ลุ ก ก่ อ นอย่ า งน้ อ ย 2 ปี เพื่ อ เป็ น การตั ด วงจรชี วิ ต ของ เชื้อโรคที่อาศัยอยู่ในแปลงปลูก 2) เมื่อต้นยางเป็นโรค แล้วเกษตรกรอาจไม่ทราบสาเหตุ และไม่ใส่ใจในการ กำจั ด และป้ อ งกั น โรค ทำให้ ต้ น ยางเป็ น โรคตายและ ลุกลามเพิ่มขึ้นเป็นพื้นที่กว้าง 3) ในกรณีต้นยางใหญ่ เมื่ อ ต้ น ยางเป็ น โรคแล้ ว การจั ด การค่ อ นข้ า งยุ่ ง ยาก ต้องกระทำโดยวิธีผสมผสาน คือ ทั้งด้านเขตกรรม ด้าน สารเคมี และการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด เกษตรกรจึงมัก ละเลยปล่อยให้โรคลุกลาม และจะเป็นปัญหาอย่างหนัก ในแปลงยางปลูกแทนรอบต่อไป 4) สารเคมีที่แนะนำ ไม่มีขายในแหล่งปลูกยาง การใช้ ส ารเคมี ใ นการควบคุ ม โรครากของยาง พารา ปัจจุบันถือว่าเป็นวิธีที่สะดวก ปฏิบัติได้ง่ า ย มี ประสิทธิภาพรวดเร็ว และให้ผลดีกว่าวิธีการอื่น แต่เนื่อง จากสารเคมี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพต่ อ โรครากและแนะนำ ให้ใช้ป้องกันกำจัดโรครากขาวในปัจจุบันมีขายในตลาด ท้ อ งถิ่ น น้ อ ยมาก และราคาแพงโดยเฉพาะในพื้ น ที่
  14. 14. 12 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ปลู ก ยางภาคใต้ พบว่ า บางพื้ น ที่ ไ ม่ มี ส ารเคมี เ หล่ า นี้ จำหน่ า ย จึ ง ทำให้ ไ ม่ มี ก ารจั ด การโรคของเกษตรกร การศึ ก ษานี้ จึ ง ได้ ศึ ก ษาศั ก ยภาพของสารเคมี ช นิ ด อื่ น ที่มีจำหน่ายในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาใช้ป้องกันกำจัด โรครากยางพาราสำหรับแนะนำเกษตรกรต่อไป การทดลองที่ 1 ประสิทธิภาพสารเคมีต่อ การป้องกันและความคุมโรครากขาว ภาคใต้ตอนบน 1.1 สำรวจทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เส้นใยเชื้อราโรครากขาวในห้องปฏิบัติการ ศึกษาสารเคมีใช้ป้องกันกำจัดโรคจากเชื้อราชนิด เดี ย วกั น กั บ สลากสารเคมี ที่ ส ถาบั น วิ จั ย ยาง (2551) แนะนำให้ ใ ช้ ป้ อ งกั น กำจั ด โรครากขาว และมี ข ายอยู่ ทั่วไปในร้านจำหน่ายสารเคมีในท้องถิ่น จำนวน 5 ชนิด คื อ ไอโปรไดโอน, วาลิ ด ามั ย ซิ น , คาร์ เ บนดาซิ ม , ฟอสฟอรัส แอซิด และอีทาบอกแซม เพื่อทดสอบการ ยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เชื้ อ ราโรครากขาวโดยวิ ธี poisoned food technique พบว่า สารเคมีเหล่านี้มีประสิทธิภาพ ยั บ ยั้ ง เชื้ อ ราโรครากขาวน้ อ ยมาก ยกเว้ น ฟอสฟอริ ก แอซิค ที่ความเข้มข้นต่ำสุด 1,000 ppm. สามารถยับยั้ง เชื้อราได้ 80% แต่อย่างไรก็ตาม ที่ความเข้มข้นมากขึ้น 10-50 เท่า (10,000-50,000 ppm.) ไม่สามารถยับยั้งเชื้อ ได้อย่างเด็ดขาด (ตารางที่ 1) ขณะที่สารเคมีเปรียบเทียบ ไซโปรโคนาโซล สามารถยับยั้งการเจริญเส้นใยเชื้อราได้ 100% ที่ระดับความเข้มข้นต่ำสุดเพียง 100 ppm. และ ไตรดี ม อร์ ฟ ซึ่ ง เป็ น สารที่ แ นะนำอี ก ชนิ ด หนึ่ ง สามารถ ยับ ยั้งการเจริญเส้นใยเชื้ อราได้ 100% ที่ระดับ ความ เข้มข้นต่ำสุด 5,000 ppm จากผลการทดลองข้างต้น สารเคมีที่หาได้ทั่วไป ในตลาดท้องถิ่น ไม่มีสารชนิดใดที่มีประสิทธิภาพ จึงได้ สำรวจและทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีกลุ่ม Triazole และกลุ่ ม Imidazole ซึ่ ง เชื้ อ ราชั้ น สู ง จะอ่ อ นแอต่ อ กลุ่ ม สารพวกนี้ (ธรรมศั ก ดิ์ , 2528) โดยคั ด เลื อ ก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ยั ง มิ ไ ด้ จั ด เป็ น สารเคมี แ นะนำและเป็ น สารเคมี ที่ แ นะนำแล้ ว มาทดสอบในห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร สารเคมี กลุ่มไตรอะโซล (Triazole) คือ โพรพิโคนาโซล + โพรคลอราช (propiconazole+prochloraz) เฮกซา โคนาโซล (hexaconozole) ไตรอะดิมิฟอน (triadimefon) เตตระโคนาโซล (tetraconazole) ไมโครบิวทานิล (microbuthanil) และ สารกลุ่ ม อิ มี ด าโซล (Imidazole) คือ โปรคลอราช (prochloraz) ซึ่งสารจำพวกนี้ ส่วนใหญ่แนะนำให้ใช้กับโรคของพืชไร่ ข้าว และไม้ผล บางชนิด เช่น โรคราน้ำค้างพืชตระกูลแตง โรคใบจุด จากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคแอนแทรกโนสของมะม่วง เป็นต้น โดยทดสอบประสิทธิภาพที่อัตราสารออกฤทธิ์ ตารางที่ 1 เปอร์เซ็นต์ยับยั้งการเจริญเชื้อรา R. lignosus บนอาหาร(PDA) ที่ผสมสารเคมีป้องกัน กำจัดเชื้อราชนิด และความเข้มข้นสารออกฤทธิ์ (ppm.) ต่างๆเปรียบเทียบ control หลังปลูกเชื้อ 5 และ 10 วัน สารเคมี cyproconazole iprodion phosphoric acid validamycin carbendazim tridemorph etaboxam %การยับยั้งหลังปลูกเชื้อ 5 วัน %การยับยั้งหลังปลูกเชื้อ 7 วัน 100 500 1,000 5,000 10,000 50,000 100 500 1,000 5,000 10,000 50,000 100 100 21.6 53.0 14.7 63.8 - 23.0 -27.3 -25.9 79.7 85.6 11.1 58.7 100 18.9 15.0 - 0.0 75.3 4.2 100 57.1 79.2 44.3 -12.8 100.0 63.6 100 100 100 67.2 59.0 80.3 82.6 78.9 100.0 79.5 80.6 81.8 1.0 25.0 68.3 100.0 100.0 100.0 67.3 71.3 75.5 100 60.0 71.7 22.7 0.0 83.1 54.7 100 100 65.2 62.9 81.9 88.9 46.4 83.0 0.0 2.2 92.1 100.0 61.0 63.0 100 100 53.2 87.9 83.6 98.9 84.1 87.3 27.7 63.7 100.0 100.0 68.2 70.0
  15. 15. 13 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 1, 10, 100 และ 1,000 ppm. เปรียบเทียบการเจริญ เชื้ อ ราในอาหาร PDA ที่ ไ ม่ ผ สมสารเคมี พบว่ า สารเคมีทุกชนิดมีประสิทธิภาพยับยั้งเชื้อราโรครากขาว ได้ ดี โดยสารเคมี propiconazole+prochloraz (ผลิตภัณฑ์ที่ 1), hexaconozole, และ microbuthanil มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยั บ ยั้ ง และกำจั ด เชื้ อ ราได้ ดี เ ที ย บเท่ า cyproconazole ซึ่งสามารถยับยั้งการเจริญเชื้อราโรค รากขาวได้ 100% ที่ความเข้มข้นเพียง 100 ppm.ใน ขณะที่ propiconazole+prochloraz (ผลิตภัณฑ์ที่ 2), triadimefon, tetraconazole, microbuthanil+ mancozeb และ prochloraz สามารถยั บ ยั้ ง การ เจริญเชื้อราโรครากขาวได้ 100% ที่สารออกฤทธิ์ 1,000 ppm. (ตารางที่ 2) สรุปได้ว่าสารเคมีในกลุ่ม Triazole และ กลุ่ ม Imidazole ทุ ก ชนิ ด มี ศั ก ยภาพเป็ น สาร ป้ อ งกั น กำจั ด โรครากขาวยางพาราจึ ง ได้ ท ดสอบสาร เคมีเหล่านี้ในสภาพแปลงต่อไป 1.2 ทดสอบประสิทธิภาพยับยั้งการเจริญเชื้อราโรค รากน้ ำ ตาล (P. noxius) และเชื้ อ ราโรครากแดง (G. pseudoferreum) ของสารเคมีกลุ่ม ไตรอะโซล (Triazole) และ อิมิดาโซล (Imidazole) ไซโปรโคนาโซล, โพรพิโคนาโซล, เฮกซาโคนาโซล, ไมโครบิวทานิล และโพรคลอราช สามารถกำจัดและ ยั บ ยั้ ง เชื้ อ รา โรครากสี น้ ำ ตาล และโรครากแดงได้ ดี และเชื้ อ ราทั้ ง 2 ชนิ ด นี้ อ่ อ นแอต่ อ สารเคมี ม ากกว่ า เชื้ อ ราโรครากขาว ใช้ ค วามเข้ ม ข้ น สารเคมี น้ อ ยกว่ า ก็สามารถยับยั้งเชื้อได้ 100 % ดังแสดงในตารางที่ 3 และตารางที่ 2 ควรแนะนำให้ ใ ช้ ส ารในปริ ม าณหรื อ ความเข้มข้นน้อยกว่าที่แนะนำให้ใช้กับโรครากขาวได้ ดั ง นั้ น ควรศึ ก ษาพั ฒ นาอั ต ราและวิ ธี ก ารใช้ ส ารเคมี เหล่านี้ต่อไป เพื่อให้ใช้สารเคมีในปริมาณที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และลดค่าใช้จ่าย 1.3 ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของสารเคมี กั บ ต้ น ยาง เป็นโรครากขาวในแปลงทดลอง ไ ด้ ท ด ส อ บ ส า ร เ ค มี ไ ต ร อ ะ ดิ มิ ฟ อ น แ ล ะ โพรคลอราช ที่อัตราความเข้มข้นของสารออกฤทธิ์ 2,000 และ 5,000 ppm. ซึ่งเป็น 2 และ 5 เท่าของอัตราต่ำสุดที่มี ตารางที่ 2 เปอร์เซ็นต์ยับยั้งการเจริญของเชื้อรา R. microporus บนอาหาร(PDA) ที่ผสมสารเคมี ที่ระดับความเข้มข้น (ppm.) ต่างๆ เปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุมที่ไม่ใช้สารเคมี หลังปลูกเชื้อ 5 และ 7 วัน สารเคมี/ความเข้มข้น(ppm.) cyproconazole (10%w/v SL) propiconazole+prochloraz (9%+49% w/v EC)* propiconazole+prochloraz (9%+49% w/v EC)* hexaconozole (5%w/vSC) hexaconozole (5%w/vSC) triadimefon (20% w/v EC) tetraconazole (2.5%%w/vSC) microbuthanil+mancozeb (2.25+60%WP)** microbuthanil (12.5% w/v EC) prochloraz (45% w/v EC) %การยับยั้งหลังปลูกเชื้อ 5 วัน %การยับยั้งหลังปลูกเชื้อ 7 วัน 1 10 100 1,000 1 10 100 1,000 63.5 68.2 61.5 40.5 64.4 23.1 41.9 26.9 60.3 -3.5 84.3 87.2 77.1 79.4 86.8 57.7 74.2 70.6 85.0 26.8 100 100 89.5 100 100 84.3 90.1 100 100 79.4 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 56.2 59.7 53.7 37.0 58.0 9.1 32.2 7.8 60.4 -3.3 86.4 87.8 71.0 74.2 85.4 45.0 69.2 62.5 82.4 11.1 100 100 89.8 100 100 79.7 89.4 89.6 100 74.3 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 หมายเหตุ * ปริมาณสารคิดจากสารออกฤทธิ์ propiconazole ** ปริมาณสารคิดจากสารออกฤทธิ์ microbuthanil(ผลิตภัณฑ์เป็นผง)
  16. 16. 14 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ตารางที่ 3 เปอร์เซ็นต์การยับยั้งการเจริญของเชื้อรา P. noxius และ G. pseudoferreum บนอาหาร PDA ที่ผสมสารเคมีที่ระดับความเข้มข้น (ppm.) ต่างๆ เปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม ที่ไม่ใช้สารเคมี สารเคมี/ความเข้มข้น(ppm.) cyproconazole propiconazole+prochloraz (9%+49% w/v EC)* hexaconozole (5%w/vSC) microbuthanil+mancozeb (2.25+60%WP)** microbuthanil (12.5% w/v EC) prochloraz(45% w/v EC) P. noxius (7 วัน) G. pseudoferrium (14 วัน) 1 10 100 1,000 1 10 100 1,000 56.7 100 76.2 13.6 -3.2 -7.1 100 100 100 55.3 39.0 4.3 100 100 100 100 100 82.4 100 100 100 100 100 100 66.5 82.0 50.4 -43.6 3.2 -11.4 100 100 100 45.0 100 4.0 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 หมายเหตุ * ปริมาณสารคิดจากสารออกฤทธิ์ propiconazole ** ปริมาณสารคิดจากสารออกฤทธิ์ microbuthanil ประสิ ท ธิ ภ าพ 100% ในห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร และ ไซโปร โคนาโซล อัตรา 500 ppm. ซึ่งเป็นความเข้มข้น 5 เท่า ของอัตราต่ำสุดที่มีประสิทธิภาพ 100% ในห้องปฏิบัติ การ เปรี ย บเที ย บกั บ ไม่ ใ ช้ ส าร และไซโปรโคนาโซล อัตรา 1,000 ppm. ตามคำแนะนำ(สถาบันวิจัยยาง, 2552) ทดสอบกั บ ต้ น ยางในแปลงปลู ก หลั ง ใช้ ส าร 1 ปี แสดงในตารางที่ 4 ดังนี้ กรรมวิ ธี ไ ม่ ใ ช้ ส ารเคมี พบว่ า ต้ น ยางทั้ ง ที่ เ ป็ น โรครุ น แรงและติ ด เชื้ อ เล็ ก น้ อ ยก่ อ นการทดลองแสดง อาการของโรคอย่ า งรุ น แรง และยื น ต้ น ตายทั้ ง หมด นอกจากนี้ ยั ง พบโรคลุ ก ลามสู่ ต้ น ยางปกติ ทำให้ ต้ น ยางแสดงอาการรุนแรงและมีต้นยางตายเพิ่มขึ้น โดย รวมมีต้นยางที่เป็นโรครุนแรงและตายทั้งหมด 10 ต้น จาก 12 ต้น หรือคิดเป็นร้อยละ 84.3 และต้นยางที่ตาย และแสดงอาการรุ น แรงทุ ก ต้ น มี ด อกเห็ ด ของเชื้ อ รา สาเหตุเจริญแสดงว่ายังมีเชื้อราสาเหตุ ในขณะที่การใช้ สารเคมีสามารถรักษาต้นยางที่เป็นโรคและป้องกันการ แพร่ลุกลามโรคสู่ต้นยางปกติได้ดี โดย ไซโปรโคนาโซล ที่ ค วามเข้ ม ข้ น 500 ppm. มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพดี ที่ สุ ด สามารถรั ก ษาโรค และยั บ ยั้ ง เชื้ อ ราในต้ น ที่ เ ป็ น โรค รุ น แรงและติ ด เชื้ อ เล็ ก น้ อ ยได้ ทำให้ ต้ น ยางสามารถ เจริ ญ เติ บ โตต่ อ ไปได้ ทั้ ง หมดและสามารถป้ อ งกันการ แพร่ลุกลามโรคสู่ต้นยางปกติได้ 100% รากไม้และโคน ต้นที่เป็นอาการรุนแรงจะผุและย่อยสลายไป พบว่า ต้น ยางสามารถงอกรากใหม่ได้โดยเจริญออกมาจากเนื้อเยื่อ โคนต้นที่เป็นรอยต่อของส่วนที่ผุและเนื้อเยื่อปกติขึ้นมา ทดแทน ส่วนที่ความเข้มข้น 1,000 ppm. สามารถรักษา ต้นยางที่เป็นโรครุนแรงมากได้ 50% รักษาต้นที่เป็นโรค รุนแรงปานกลางและรุนแรงเล็กน้อยได้ รวมถึงสามารถ ป้องกันการแพร่ลุกลามโรคสู่ต้นยางปกติได้ดี แต่อย่างไร ก็ ต าม ถึ ง แม้ ไ ม่ ส ามารถฟื้ น ฟู ต้ น ยางที่ แ สดงอาการ รุนแรงได้ แต่สารเคมีสามารถกำจัดเชื้อราที่อยู่ในเนื้อไม้ ได้ โดยสังเกตได้จากการไม่มีดอกเห็ดเชื้อราเจริญออก จากโคนต้ น เหมื อ นกั บ กรรมวิ ธี ค วบคุ ม เนื่ อ งจากสาร ไซโปรโคนาโซล มีราคาจำหน่ายค่อนข้างแพง ที่ผ่านมา สถาบันวิจัยยางแนะนำให้ใช้สารเคมี อัตรา 500-1,000 ppm.สารออกฤทธิ์ หรือสารเคมี(10SL) 5-10 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 1 ลิตร ดังนั้น จึงแนะนำให้ใช้สารเคมี เฉพาะ 5 มิ ล ลิ ลิ ต รต่ อ น้ ำ 1 ลิ ต ร อั ต ราเดี ย ว จะประหยั ด ราย จ่ายได้ถึง 50 % ไตรอะดิ มิ ฟ อน 2,000 และ 5,000 ppm. มี ประสิทธิภาพรักษา กำจัดเชื้อรา และป้องกันการแพร่ ลุ ก ลามของโรคได้ ดี เ ช่ น กั น โดยสามารถรั ก ษาต้ น ที่ เป็ น โรครุ น แรงมากได้ 90% และรั ก ษาต้ น ที่ เ ป็ น โรค
  17. 17. 15 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ตารางที่ 4 ผลการใช้สารเคมีกับยางพาราเป็นโรครากขาวหลังการใช้สารเคมีครั้งแรก 12 เดือน (ตรวจสอบเดือนพฤศจิกายน 2553) 4 12 ( 2553) 1 1 2 3 1 2 3 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 D Y N D Y N D Y N 3 - 1 - - - - - - 1 2 1 - - - - - - - - - - 4 - - - - - - - 4 + prochloraz 5,000ppm. 4 - - - - - - - - - 1 3 - - - - - 1 1 - - 1 1 - - 1 3 - - - + 75% prochloraz. 2,000ppm. 3 1 - - - - - - - 1 1 2 - - - - - - - 2 1 1 - - - - 4 - - - + 91.6% triadimefon 5,000ppm. 4 - - - - - - - - 2 - 2 - - - - - - 3 - - - 1 - - 1 3 - - - 90% triadimefon 2,000ppm. 4 - - - - - - - - 3 - 1 - - - - - - 2 1 - 1 - - - - 4 - - - cyproconazole 1,000 ppm 3 1 - - - - - - - - - - 2 - - 2 cyproconazole 500 ppm. 4 - - - - - - - - 1 3 - - :D= / 2= 4= / , 6= 8= , - - - 4 - - - - - 4 - - - 4 - - 4 - - 4 - - - - 2 - 2 - 1 3 - - 4 - - - 4 - - - - - 4 - - - - - 4 - - - 4 - - 4 1 - 3 - - 4 - - 4 - - - 4 - - - - - 4 - - - - - 4 - - - 4 - - 4 1 - 3 - - 4 - - 4 - - 3 1 - - - - 4 - - 90% - 4 - - - 4 - - 4 1 - 3 - - 4 - - 4 4 - - - - - - - - 4 - - - - + 83.3% - 2 2 - - - - - 4 - - - - - 3 1 - - 4 - - 4 2 - 2 - 1 3 - - 4 - 1 3 - - - - - - - - - - 3 1 - - - + 3 1 - - - - - - 3 1 - - 100% - 4 - - 1 3 - - 4 - - 4 - - 4 - - 4 Y= N= >50-100%/ 1= >20% ( / , - - 1 3 - - - - - 3 1 - 1 3 - - 4 1 - - 2 - - - 1 4 - - 2 2 - 1 1 2 83% , รุ น แรงปานกลาง-รุ น แรงเล็ ก น้ อ ยได้ รวมถึ ง ป้ อ งกั น การแพร่ลุกลามโรคสู่ต้นยางปกติได้ดี ดังนั้น สารออก 100%/ / ) 3= 5= 7= >60% ( <50%/ , , ) ( ) , , ฤทธิ์ 2,000 ppm. จึงเป็นอัตราที่มีประสิทธิภาพ ควร พัฒนาวิธีใช้แนะนำเกษตรกรต่อไป ซึ่ง Hoong และ
  18. 18. 16 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 คณะ (1991) รายงานว่า ไตรอะดิมิฟอน 15-20 กรัม รั ก ษาต้ น ยางที่ เ ป็ น โรครากขาวระดั บ ค่ อ นข้ า งรุ น แรง ได้ สารเคมี ช นิ ด นี้ ค่ อ นข้ า งมี ก ลิ่ น แต่ ห าซื้ อ ได้ ง่ า ย ราคาถูก จึงเหมาะเป็นสารแนะนำเกษตรกร โพรคลอราช 2,000 ppm. มีประสิทธิภาพรักษา และกำจัดโรคได้ดี ความเข้มข้น 5,000 ppm. สามารถ รั ก ษาอาการต้ น ที่ แ สดงอาการรุ น แรงเล็ ก น้ อ ยและ ป้ อ งกั น การแพร่ ลุ ก ลามได้ ดี แต่ ยั ง มี เ ชื้ อ ราที่ มี ชี วิ ต หลงเหลื อ อยู่ จากการพบดอกเห็ ด เจริ ญ ออกมาจาก ส่วนโคนต้นยาง นอกจากนี้ ยังพบว่ามีรากเจริญออก มาจากเนื้ อ เยื่ อ โคนต้ น ที่ เ ป็ น รอยต่ อ ของส่ ว นที่ ผุ แ ละ เนื้ อ เยื่ อ ปกติ เ ช่ น เดี ย วกั น เนื่ อ งจากสารเคมี ช นิ ด นี้ ค่ อ นข้ า งหาซื้ อ ได้ ง่ า ย ราคาถู ก จึ ง เหมาะแก่ ก ารเป็ น สารแนะนำให้ เ กษตรกร แต่ ต้ อ งพั ฒ นาอั ต ราและ วิธีการใช้ที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นต่อไป ข้อสังเกตที่พบว่าสารเคมีทั้ง 3 ชนิด มีประสิทธิ ภาพในการป้ อ งกั น กำจั ด โรครากขาวได้ ดี โดยเฉพาะ ไซโปรโคนาโซล และไตรอะดิ มิ ฟ อน สามารถรั ก ษา และป้องกันกำจัดโรคได้ดีมาก ต้นยางที่เป็นโรครุนแรง ก็ ยั ง สามารถเจริ ญ ต่ อ ไปได้ ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากมี ร ากงอก ใหม่ ขึ้ น มาทดแทนอย่ า งหนาแน่ น บริ เ วณที่ เ ป็ น รอย ต่ อ ของส่ ว นที่ ผุ ซึ่ ง เดิ ม เป็ น ส่ ว นที่ เ ป็ น โรคและเนื้ อ เยื่ อ ปกติ ซึ่ ง รากใหม่ นี้ จ ะมี ผ ลทำให้ ต้ น ยางที่ พุ่ ม ใบ เหลื อ งร่ ว งกลั บ มี ใ บใหม่ ที่ ไ ม่ แ สดงอาการใบเหลื อ ง แต่อย่างไรก็ตาม ต้นยางเหล่านี้ยังมีใบน้อยอยู่ ซึ่งหาก เวลาผ่ า นไป และรากใหม่ ข ยายและโตขึ้ น ต้ น ยาง เหล่านี้สามารถฟื้นตัวและเจริญได้เป็นปกติ คั ด เลื อ กสารเคมี ที่ มี ข ายอยู่ ทั่ ว ไปในตลาดท้ อ งถิ่ น มา ศึ ก ษาทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารอี ก 2 ชนิด คือ benomyl 50% WP และ metalexyl 25% WP เปรี ย บเที ย บกั บ cyproconazole 10%SL และ tridemorph 75% EC ทดสอบสารเคมี 5 อัตราความ เข้มข้นของสารเคมี คือ 1, 3, 5, 7 และ 10% โดยคิด เป็ น ความเข้ ม ข้ น ของสารออกฤทธิ์ ดั ง แสดงในตาราง ที่ 5 ผลทดสอบ เฮกซาโคนาโซล, โพรพิ โ คนาโซล และไตรดี ม อร์ ฟ ทุ ก อั ต ราสามารถยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เชื้ อ ราได้ 100% เช่ น เดี ย วกั บ ไซโปรโคนาโซล จาก การทดสอบสารเคมี ใ นพื้ น ที่ ภ าคใต้ ต อนบนที่ ร ายงาน ข้างต้น พบว่า สารเคมีออกฤทธิ์เพียง 100-1,000 ppm. สามารยับยั้งเชื้อได้ 100% ซึ่งการทดลองนี้ใช้สารเคมี ที่มีความเข้มข้นสารออกฤทธิ์สูงมากจึงสามารถยับยั้ง ได้ 100% ทุกอัตรา ส่วนสารเคมีชนิดอื่นเช่น เบโนมิล (benomyl) สามารถยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เส้ น ใยเชื้ อ ราได้ 100% ที่สารออกฤทธิ์สูงถึง 25,000 ppm. และเมตา แลกซิล(metalexyl) ที่อัตราสารออกฤทธิ์สูงสุด 25,000 ppm. สามารถยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เชื้ อ ราได้ เ พี ย ง 85% เท่ า นั้ น ดั ง นั้ น สารเนโนมิ ล และเมตาแลกซิ ล จึ ง ไม่ เหมาะในการป้ อ งกั น กำจั ด โรคราก เนื่ อ งจากต้ อ งใช้ สารที่ มี ค วามเข้ ม ข้ น สารออกฤทธิ์ สู ง มาก และต้ อ งใช้ สารเคมีในปริมาณมาก ไม่คุ้มค่าใช้จ่าย การทดลองที่ 2 ประสิทธิภาพสารเคมีใน ท้องถิ่นต่อการป้องกันและควบคุมโรค รากขาวในภาคใต้ตอนล่าง 3.1 สำรวจทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เส้นใยเชื้อราในห้องปฏิบัติการ การสำรวจชนิ ด สารเคมี ป้ อ งกั น กำจั ด เชื้ อ ราที่ มี จำหน่ า ยในร้ า นค้ า ภาคตะวั น ออก 4 จั ง หวั ด ได้ แ ก่ จังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด จำนวน 38 ร้าน พบว่ า มี 21 ร้ า นค้ า ที่ มี ส ารเคมี ป้ อ งกั น กำจั ด เชื้ อ ราที่ แนะนำป้องกันกำจัดโรครากขาวจำหน่าย ได้แก่ สาร cyproconazole, propiconazole, difenoconazole, hexaconazole เมื่ อ คั ด เลื อ กสารเคมี ที่ มี จ ำหน่ า ยใน ภาคตะวั น ออก จำนวน 6 ชนิ ด ได้ แ ก่ prochloraz, 2.1 สำรวจทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เส้นใยเชื้อราในห้องปฏิบัติการ สำรวจสารเคมีในตลาดท้องถิ่น จ.สงขลา และ พัทลุง สามารถหาซื้อสารเคมีในตลาดท้องถิ่นได้ สำรวจ สารเคมีในตลาดท้องถิ่น จ.สงขลา และพัทลุง 4 ชนิด พบมี ส ารเคมี ที่ แ นะนำ 2 ชนิ ด คื อ hexaconazole 5%SC และ propiconazole 25% W/V.EC จึ ง ได้ การทดลองที่ 3 ประสิทธิภาพสารเคมีใน ท้องถิ่นต่อการป้องกันและความคุมโรค รากขาวในเขตปลูก ยางภาคตะวันออก
  19. 19. 17 ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ 14 กรกฎาคม-กันยายน 2556 ตารางที่ 5 การเจริญเชื้อ R. lignosus บนอาหารผสมสารเคมีที่ 1, 3, 5, 7 และ 10% ยับยั้งการเจริญเชื้อรา วัlignosus ญหลังเลี้ยงเชื้อ 7 วัน 1, 3, 5, 7ยับยั้ง10% ญเชื้อราของฤทธิ์ และ% การเจริ 5 R. ดการเจริ สารตกค้าง(ศูนย์วิจัยยางสงขลา) 7 % ( ) (%) Benomyl ( ) Metalexyl ( ) hexaconazole ( ) propiconazole ( ) cyproconazole ( ) Tridemorph ( ) 1 3 5 7 10 1 3 5 7 10 1 3 5 7 10 1 3 5 7 10 1 3 5 7 10 1 3 5 7 10 difenoconazole, cyproconazole, triflumizole, carbendazim และ procymidone มาทดสอบ ประสิทธิภาพยับยั้งการเจริญเชื้อราโรครากขาวในห้อง (ppm.) 5,000 15,000 25,000 35,000 50,000 2,500 7,500 12,500 17,500 25,000 5,000 15,000 25,000 35,000 50,000 2,500 7,500 12,500 17,500 25,000 1,000 3,000 5,000 7,000 10,000 7,500 22,500 37,500 52,500 75,000 % 77.5 90.6 100 100 100 68.8 68.2 81.7 75.7 84.7 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 (% 34.1 22.7 41.2 49.2 64.7 77.3 73.2 79.2 81.5 91.2 90.7 89 93.1 74.5 87 86.1 100 100 100 100 100 100 100 ) ปฏิบัติการ โดยวิธี poisoned food technique พบว่า สารเคมี ที่ ส ามารถยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โตเส้ น ใยได้ ดี ที่สุดคือ cyproconazole รองลงมา difenoconazole,

×