SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
เรื่อง
ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีการสื่อสาร
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีการสื่อสาร
• จากการเรียนที่ผ่านมาเราได้เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศมาแล้ว และได้รู้ว่าเทคโนโลยี
สารสนเทศ คือเทคโนโลยีที่ใช้จัดการกับข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารเหล่านั้น
สามารถถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบ และสามารส่งไปยังที่ต่าง ๆ ได้ตามต้องการอย่างรวดเร็วทันใจ
อีกทั้งผู้ต้องการใช้สารสนเทศยังสามารถสืบค้นหาข้อมูลและข่าวสารที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
เช่นกัน นอกจากนั้นนักเรียนยังได้เรียนรู้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเกิดจากการ
• รวมเทคโนโลยีสองอย่างเข้าด้วยกัน อย่างแรกคือเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และอย่างที่สองคือ
เทคโนโลยีการสื่อสาร คาว่า เทคโนโลยีในที่นี้หมายถึง ความรู้และวิธีการนาความรู้ไปใช้ สวน
ผลผลิตของเทคโนโลยีซึ่งทาให้เกิดการทางานที่เราต้องการนั้น เราเรียกว่า ระบบระบบ
สารสนเทศ ประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์กับการสื่อสาร
• ระบบสารสนเทศที่ประกอบด้วยฝ่ายส่งข้อมูลและฝ่ายรับข้อมูล แต่ละฝ่ายประกอบด้วยระบบ
คอมพิวเตอร์กับระบบสื่อสาร และระบบสื่อสารของทั้งสองฝ่ายเชื่อมต่อถึงกันโดยสิ่งที่เรียกว่า
ช่องทางการสื่อสาร (Communication Channel) ซึ่งอาจเป็นสายโทรศัพท์ใยแก้วนา
แสง หรือคลื่นวิทยุก็ได้ในทางปฏิบัติ ระบบสารสนเทศอาจมีขนาดใหญ่กว่านี้ และอาจ
ประกอบด้วยฝ่ายส่งและฝ่ายรับอย่างละหลายร้อยหลายพันรายก็ได้ ตามตัวอย่างสมมุติฝ่ายส่ง
ข้อมูลต้องการส่งข้อมูลที่มีอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของฝ่ายตนไปให้แก่ฝ่ายรับ ฝ่ายส่งข้อมูลต้อง
จัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบพร้อมส่ง และใช้โปรแกรมพิเศษ ไปควบคุมระบบสื่อสารให้ส่ง
ข้อมูลไปตามช่องทางการสื่อสาร ซึ่งในกรณีนี้ต่อสายตรงอยู่กับฝ่ายรับข้อมูลก็จะไปถึงฝ่ายรับ
ข้อมูลโดยตรง ระบบสื่อสารของฝ่ายรับข้อมูล เมื่อรับข้อมูลแล้วก็จะส่งต่อให้กับระบบ
คอมพิวเตอร์ของฝ่ายต้นข้อมูลก็จะปรากฏที่ระบบคอมพิวเตอร์นั้น
• กรณีของระบบใหญ่ซึ่งมีผู้ส่งและผู้รับจานวนมากราย ต้องมีวิธีการหาเส้นทางระหว่างผู้ส่งและ
ผู้รับเพื่อให้ข้อมูลไปถึงผู้รับรายที่ต้องการ อีกประการหนึ่ง ผู้ใช้แต่ละรายมักจะเป็นทั้งผู้ส่งและ
ผู้รับ ยกตัวอย่างเช่น กรณีนักเรียนใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องเรียนสืบค้นข้อมูลทาง
อินเทอร์เน็ต โดยไปที่เว็บไซต์ของบริษัทคือ http://www.tipvarin.co.th
คอมพิวเตอร์ของนักเรียนจะทาหน้าที่เป็นผู้ส่งก่อน คือ สั่งข้อมูลร้องขอว่าต้องการข้อมูลจาก
เว็บไซต์นี้ ต่อมาคอมพิวเตอร์ของนักเรียนก็จะทาหน้าที่เป็นผู้รับข้อมูลที่ได้จากเว็บไซต์นั้น เพื่อ
มาแสดงที่จอภาพ เป็นต้น
เรื่อง
ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์คืออะไรอุปกรณ์ที่อยู่ภายในคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่อยู่ภายนอก
คอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
คือ เครื่องมือชนิดหนึ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาจากอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์
สามารถอ่านและเก็บข้อมูลพร้อมแสดงผลได้ประมวลผลและทางานที่เราสั่งการอีก
ทั้งยังตอบสนองการกระทาของผู้ใช้ได้และมีความสามารถในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์
ไฟฟ้ าบางชนิดเพื่อสั่งให้อุปกรณ์ไฟฟ้ าเหล่านั้นทางานได้ตามต้องการความหมายของ
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์คืออะไรคอมพิวเตอร์ (computer)เป็นอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ที่ทางานอัตโนมัติตามคาสั่งที่ป้ อนไว้ล่วงหน้าและถูกนามาประยุกต์ใช้
ประโยชน์ในการคานวณและการทางานที่ใช้ความคิดแบบตรรกะได้กว้างขวางแทบ
ทุกด้านปัจจุบันคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสารพัดประโยชน์สามารถนามาใช้ในการ
ทางานหลายด้านอย่างมีประสิทธิภาพสูง เนื่องจากมีหน่วยความจาสูงคานวณและ
ประมวลผลได้อย่างรวดเร็วมีวิธีการบันทึกและการประมวลผลหลายรูปแบบ
• ข้อดีของคอมพิวเตอร์ยังมีอีกคือ
** เป็นเครื่องจักรที่ทางานได้ทั้งวันอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
** สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้สามารถ
ทางานร่วมกันและ
• ส่งข้อมูลถึงกันได้อย่างรวดเร็ว
** การพัฒนาคอมพิวเตอร์เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดย
เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้นยิ่งกลับทาให้การใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นเรื่อง
ง่ายต่อผู้ใช้มากยิ่งขึ้นทุกที
• คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจึงเป็นอุปกรณ์ที่จาเป็นสาหรับการทางานเป็นเครื่องมือ
ประจาบ้านซึ่งใช้ในการทาการบ้าน ทางานวิจัยติดต่อสื่อสารเก็บข้อมูลแม้กระทั่งใช้
เพื่อความบันเทิงในครอบครัว
1. ซีพียู
• 2. เมนบอร์ด
• 3. แรม
• 4. ฮาร์ดดิสก์
• 5. การ์ดแสดงผล
• 6. การ์ดเสียง
• 7. เครื่องขับแผ่นบันทึกข้อมูล
• 8. เครื่องขับแผ่นซีดี
• 9. การ์ดแลน
• 10. โมเด็ม
•
• 1. ซีพียู คือหน่วยประมวลผลกลางเปรียบเสมือนสมองกลของคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่
คานวณคาสั่งต่างๆและสั่งให้แสดงผลลัพธ์ออกมา
• 2. เมนบอร์ด คือ แผงควบคุมระบบอิเล็กทรอนิกส์หลักของคอมพิวเตอร์เป็นที่ใช้ต่อ
เข้ากับอุปกรณ์ตัวอื่นๆ เช่น ซีพียู การ์ดจอ แรม
• 3. แรม คือ หน่วยความจาชั่วคราวสาหรับส่งข้อมูลให้ CPU คานวณ
• 4. ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์มีหน้าที่เก็บข้อมูลต่างๆ มีความจุและขนาดที่แตกต่างกัน
• 5. การ์ดแสดงผล คือ การ์ดที่ใช้ต่่อเข้ากับจอคอมพิวเตอร์เพื่อทาให้คอมพิวเตอร์
สามารถแสดงผลได้
• 6. การ์ดเสียง คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ควบคุมเรื่องเสียงซึ่งจะให้เสียงออกมาทาง
ลาโพง
• 7. เครื่องขับแผ่นบันทึกข้อมูล คือ เครื่องที่ใช้ในการอ่านและเขียนข้อมูลลงแผ่นฟล็อป
ปี้ดิสก์
• 8. เครื่องขับแผ่นซีดี คือ เครื่องที่ใช้ในการอ่านและเขียนข้อมูลลงในแผ่นซีดีอาจเป็น
งานเอกสาร รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว
• 9. การ์ดแลน คือ การ์ดที่สาหรับต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆตัวให้สามารถ
ติดต่อกันได้เรียกว่า ระบบ
• 1. กล่องใส่อุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพวเตอร์
• 2. จอภาพ
• 3. เมาส์
• 4. แป้ นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด
• 1. กล่องใส่อุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพวเตอร์
• Case ( เคส ) เป็นกล่องใส่ส่วนประกอบภายในต่างๆ เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น
เมนบอร์ด แรม ซีพียู การ์ดเสียง ฮาร์ดิสก์ เป็นต้น
• 2. จอภาพ
• จอภาพ เป็นอุปกรณ์ใช้แสดงผลการทางานให้เรามองเห็นข้อความ รูปภาพนิ่งหรือ
ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
• 3. เมาส์
• เมาส์ เป็นอุปกรณ์ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังตาแหน่ง
ต่างๆ บนจอภาพ ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้
• 4. แป้ นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด
• แป้ นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่จาเป็นในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ซึ่งจะรับ
ข้อมูลจากการกดแป้ นพิมพ์แล้งเปลี่ยนเป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์
• 1. เครื่องสแกนเนอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านภาพเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
• 2. เครื่องพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้พิมพ์ข้อมูลต่างๆ สามารถพิมพ์ได้ทั้งตัวอักษรและรูปภาพ
•
• 3. ลาโพง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงเสียงต่างๆ เหมาะสาหรับคอมพิวเตอร์ที่ต้องความบันเทิง
•
• 4.กล้องดิจิตอล เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ถ่ายภาพแบบไม่มีฟิล์ม เพราะเป็นการใช้หน่วยความจา
ภายในสาหรับจัดเก็บเป็นภาพ
•
• 5. แฟลชไดร์ เป็นหน่วยความจาที่มีความจุสูงแต่มีขนาดเล็ก สามารถพกพาข้อมูลไปได้ทุกที่
เพียงต่อเข้ากับพอร์ต USB ของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือโน้ตบุ๊กและใช้งานได้ทันที
•
• 6. เครื่องสารองไฟ ( UPS) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่สารองไฟไว้ใช้กรณีที่ไฟฟ้ าดับ และจะช่วย
กรองกระแสไฟฟ้ าในกรณีมีกระแสไฟฟ้ าเกินหรือขาด
•
• 7.ไมโครโฟน เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลในรูปแบบเสียง โดยจะแปลงสัญญาณเสียงเป็นดิจิตอลแล้ว
ส่งไปยังคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในปัจจุบัน เรียกว่า พีซี (PC) เป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานส่วนบุคคลแต่โดยรวมนั้นคอมพิวเตอร์ยังแบ่งออกได้เป็นหลาย
ประเภทตามขนาดประสิทธิภาพในการทางานประเภทต่างๆ
• คอมพิวเตอร์ที่เราควรรู้จักมีดังนี้
1. คอมพิวเตอร์ส่วนตัวหรือส่วนบุคคล ( Personal Computer) เพอร์ซันแนล
คอมพิวเตอร์
หรือเรียกย่อๆว่า พีซี หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนตัวตามบ้านหรือสานักงาน
ทั่วไปซึ่งมักจะมีโครงสร้างเป็นมาตรฐานใกล้เคียงกัน ใช้โปรแกรมร่วมกันได้หมด
2. คอมพิวเตอร์สมุดพก ( Notebook) เป็นเครื่องที่มีความสามารถในระดับ
เดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ( PC) แต่ออกแบบมาให้มีขนาดเล็กน้าหนัก
เบาพอที่จะนาติดตัวไปไหนๆได้ด้วยสะดวกและมักจะใช้พลังงานไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่
ได้ทาให้สามารถใช้งานได้ทุกสถานที่ไม่ว่าบนรถ เรือ เครื่องบิน
3.คอมพิวเตอร์แบบพกพา/คอมพิวเตอร์มือถือ เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่พกพาใส่
กระเป๋ าได้ เช่นที่เรียกกันว่า PDA หรือผู้ช่วยส่วนตัวแบบดิจิตตอลสามารถเป็น
คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้ บันทึกรายชื่อ นัดหมายต่างๆ
เรื่อง
การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในองค์กร
• เรื่อง การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในองค์กร
ปัจจุบันมีการกล่าวถึงวิธีการรื้อปรับระบบองค์กรใหม่ ในรูปแบบที่เรียกว่า
Business reinvention กล่าวคือ การปรับปรุงและสร้างองค์กรใหม่ โดย
นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในองค์กร สารสนเทศเป็นสิ่งที่มีความสาคัญยิ่ง
เราแบ่งระดับสารสนเทศออกเป็น 4 ระดับคือ ระดับส่วนบุคคล ระดับกลุ่มหรือแผนก
ระดับองค์กรและระดับระหว่างองค์กร โดยทุกระดับจะเกี่ยวข้องกับทรัพยากรที่
จาเป็นต้องนามาใช้เพื่อประกอบกัน และให้ได้ประโยชน์จากสารสนเทศ ประกอบด้วย
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสาร ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ชั้นตอน
การปฏิบัติงาน ได้แก่ กฎระเบียบต่าง ๆ และตัวบุคลากรเอง
ศูนย์สารสนเทศขององค์กร คือหน่วยงานที่จะบริหารและจัดการทรัพยากร
สารสนเทศ ที่ต้องลงทุนทั้ง 5 องค์ประกอบนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ศูนย์
สารสนเทศขององค์กรตามแนวความคิดใหม่ จึงต้องประสานกับธรรมชาติของการ
ทางานขององค์กรที่มีบุคลากรเป็นแกนนา เพราะบุคลากรทุกคนย่อมเป็นผู้ใช้
สารสนเทศ และยังต้องมองเลยไปเป็นระดับกลุ่ม ระดับองค์กร และระดับระหว่าง
องค์กร การทางานในทุกระดับจะต้องประสานการใช้ประโยชน์ให้เกิดกับองค์กรได้
สูงสุด
ลักษณะและจุดมุ่งหมายของศูนย์สารสนเทศคอมพิวเตอร์
มีการพัฒนาการมาจากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีราคาแพง โดยการ
ใช้ประโยชน์จึงเริ่มจากการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันในอดีต มีศูนย์
คอมพิวเตอร์กลาง ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาพีซี แนวคิดจึงเริ่มจากการ
พัฒนาให้ระบบใช้งานส่วนตัว และต่อมาพัฒนาเป็นเครือข่ายที่ทางาน
ร่วมกัน ดังนี้ลักษณะของการใช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีลักษณะตาม
สภาพของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยี โดยเฉพาะ
ระบบคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล ระบบเครือข่าย รูปแบบการ
ใช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบดังนี้
การใช้แบบเครื่องหลัก (Host base) ในยุคที่เครื่องคอมพิวเตอร์มีราคา
แพง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นเมนเฟรม ซึ่งมีการจัดการฐานข้อมูลอยู่
ส่วนกลางและแบ่งการใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์หลักเป็นเครื่องที่รวมทรัพยากร
ทั้งหมดไว้ที่ศูนย์กลาง ผู้ใช้เพียงแต่ต่อสายออนไลน์ และใช้กาลังการคานวณทั้งหมด
จากเครื่องหลัก สถานีปลายทางจึงเป็นเพียงแค่เทอร์มินัลเท่านั้นการใช้งานแบบ
เครื่องหลัก เพื่อเป็นการสนับสนุนข้อมูลข่าวสารขององค์กร
การใช้งานแบบเครื่องเดี่ยว (Stand alone) เมื่อมีการพัฒนาพีซีให้เป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล จึงมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สนับสนุนพีซีให้ช่วยงานระดับ
บุคคล ดังนั้นการประยุกต์ใช้งานระดับบุคคลจึงเป็นที่นิยมแพร่หลาย ปัจจุบันมี
ซอฟต์แวร์พื้นฐานที่เรียกว่าโปรแกรมสาเร็จรูปให้ใช้งานได้มาก เช่น ใช้ช่วยในการ
พิมพ์เอกสารหรือเรียกว่า เวิร์ดโปรเซสเซอร์ ใช้คานวณบนตารางที่เรียกว่า สเปรตซีต
ใช้ในการเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลขนาดเล็ก ใช้เพื่อนาเสนผลงาน
• เครื่องพีซีทาให้เกิดระบบการจัดการข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลระบบแลนและ
ไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์ เมื่อพีซีมีขีดความสามารถสูงขึ้น ประกอบกับเทคโนโลยีได้
พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เชื่อมโยงเข้าถึงกัน และใช้งานร่วมกัน ระบบ
แลนที่ใช้จึงเริ่มจากการสนับสนุนงานระดับกลุ่ม ระดับแผนกที่มีการทางานร่วมกัน ใช้
ทรัพยากรบางอย่างร่วมกัน เช่น ใช้ไฟล์ใช้ข้อมูล ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์
ตลอดจนเครื่องพิมพ์ร่วมกัน สภาพการทางานบนเลนส่วนหนึ่งมีลักษณะการทางาน
แบบ ไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์ กล่าวคือมีสถานีบริการกลางที่ให้บริการร่วมกันทั้งกลุ่ม
โดยผู้ใช้จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีของตนเองเชื่อมโยงกับเครือข่ายแลน เครื่อง
คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เรียกว่า ไคลแอนด์ ส่วนสถานีบริการกลางเรียกว่า เซิร์ฟเวอร์
เช่น ถ้ามีระบบฐานข้อมูลกลางที่ให้บริการกลางร่วมกันก็เรียกว่า ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์
ผู้ใช้สามารถใช้เครื่องไคลแอนต์เรียกค้นข้อมูลข่าวสารจากเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได ้้
รูปแบบการทางานแบบนี้จึงเป็นการลดขนาดของเซิร์ฟเวอร์ลงจากโฮสเบส เพราะ
สถานีย่อยคือไคลแอนต์สามารถช่วยดาเนินการบางอย่างเองได้ และการทางานใน
ระดับไคลแอนต์ที่สาคัญคือ มีส่วนช่วยในการติดต่อกับผู้ใช้ที่จะแสดงผลแบบ
กราฟฟิก
เครือข่ายแลนสนับสนุนการทางานเป็นกลุ่ม
การเชื่อมต่อแลนเป็นอินทราเน็ต เมื่อนาเวอร์กกรุ๊ปหรือเครือข่ายแลนย่อย ๆ
หลายเครือข่ายต่อเชื่อมกันเป็นเครือข่ายขององค์กร มีเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูล
ข่าวสารหลักที่เรียกว่าแบคโบน (backbone) เครือข่ายนี้จึงเป็นเครือข่ายที่
สนับสนุนการทางานขององค์กร ซึ่งอาจเรียกว่าเอ็นเตอร์ไพรสเน็ตเวอร์กหรือ
อินทราเน็ต ในระดับองค์กรจึงมีการบริหารจัดการเครือข่ายขององค์กร มีหน่วยงาน
ดูแลเครือข่ายกลาง และดูแลทรัพยากรที่สนับสนุนการใช้งานในองค์กร ลักษณะการ
เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานอาจข้ามออกไปยังหน่วยงานที่อยู่ห่างไกล โดยเชื่อมต่อ
ด้วยเครือข่ายสาธารณะแบบแวน (wan) สภาพการทางานภายในองค์กรยังมี
ลักษณะการใช้ทรัพยากรร่วมกันมีสถานีบริการที่เรียกว่าเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้ใช้พีซีที่ต่ออยู่
บนเครือข่ายเชื่อมโยงเรียกใช้บริการเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ภายในองค์กรอาจมีฐานข้อมูล
เก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์กลางหรืออาจจะมีหลายเซิร์ฟเวอร์กระจายกันอยู่ก็ได้ ลักษณะการ
ใช้งานบนเครือข่ายจึงสนับสนุนการทางานตั้งแต่งานในระดับบุคคลที่ใช้พีซีของ
ตนเองเป็นหลัก เชื่อมต่อใช้งานร่วมกันเป็นเครือข่ายในแผนก ในกลุ่มงานของตน ใช้
สถานทีบริการเซิร์ฟเวอร์ในแผนกของตน และยังเชื่อมโยงกับองค์กรใช้งานใน
ลักษณะร่วมกับส่วนกลางขององค์กร ดังนั้นทุกคนในองค์กรที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายจึง
สามารถเลือกใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ข้อมูลข่าวสารทั้งของกลุ่มและขององค์กรได้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กรต้องเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของแต่ละแผนก
เข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูลร่วมกัน นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทรัพยากร
ฮาร์ดแวร์ร่วมกันได้อีกด้วย
ในเชิงเทคนิคนั้นระบบสารสนเทศระดับองค์กรจะมีระบบคอมพิวเตอร์ที่ดูแล
แฟ้ มข้อมูลที่ใช้งานร่วมกันไว้ในไฟล์เซิร์ฟเวอร์ มีการใช้เครือข่ายแลนเชื่อมโยง
เครื่องมือพื้นฐาน อีกประการหนึ่งของระบบข้อมูลข่าวสาร คือระบบจัดการฐานข้อมูล
ซึ่งเป็นโปรแกรมที่สาคัญในการช่วยดูแลระบบข้อมูลและการประยุกต์ใช้งานด้านต่าง
ๆ การใช้เครือข่ายเพื่อสนับสนุนการทางานในองค์กร การเชื่อมโยงระหว่างองค์กร
การบริหารและการจัดการระบบสารสนเทศสมัยใหม่ ยังเน้นให้เกิดการทางานแบบ
ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Business) และมีการค้าขายแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ดังนั้นจึงจาเป็นต้องเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างองค์กรเพื่อให้เกิดการทางานร่วมกัน
และการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน การเชื่อมโยงระหว่างกันในปัจจุบัน
เน้นการใช้เส้นทางร่วมแบบสาธารณะ เช่น ใช้อินเทอร์เน็ต ลักษณะการเชื่อมโยงออก
สู่ภายนอก จึงมีลักษณะที่ต้องการสร้างวงจรเฉพาะการเชื่อมโยงระหว่างองค์กร หรือ
การวิ่งผ่านเส้นทางสาธารณะร่วมกัน
การเชื่อมโยงระหว่างองค์กรอินเทอร์เน็ต
จึงเป็นเครือข่ายสากลที่เชื่อมโยงเครือข่ายย่อยขององค์กรจานวนมหาศาลเข้าด้วยกัน
ทาให้ทุกองค์กรที่เชื่อมโยงเข้าถึงอินเทอร์เน็ตติดต่อถึงกันได้ และหากถ้ามีองค์กรใดสร้าง
เครือข่ายและเชื่อมโยงต่อออกไปภายนอก โดยเน้นการทางานในขอบเขตจากัด เช่น
ให้บริการลูกค้าติดต่อเข้ามาได้ และไม่สามารถออกไปนอกเครือข่ายอย่างอิสระเหมือน
อินเทอร์เน็ต เราก็เรียกว่า เอ็กซ์ทราเน็ต ศูนย์สารสนเทศกับองค์กรในองค์กรมีการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศหลายระดับ ดังนั้นการจัดประเภทของศูนย์สารสนเทศจึงต้องเน้นให้
สนับสนุนการทางานทุกระดับ ศูนย์สารสนเทศจึงมีลักษณะที่แบ่งตามประเภทการใช้งาน
ดังนี้
ศูนย์สารสนเทศสนับสนุนการทางานระดับกลุ่ม จากการใช้งานในระดับเวอร์กกรุ๊ป ที่
มีการจัดการเซิร์ฟเวอร์ของตนเองภายในแผนกหรือกลุ่มจึงต้องรับผิดชอบงานทางด้าน
สารสนเทศของตนเอง เช่น งานแผนกบุคคล ต้องดูแลฐานข้อมูลพนักงานทั้งหมด ดูแลการ
ดาเนินงานเพื่อการทางานการเงินเดือน แผนกขายก็ต้องดูแลฐานข้อมูลลูกค้า ฐานข้อมูล
สินค้าคงคลังของตนเอง การกระจายศูนย์สารสนเทศลงไป ในระดับกลุ่มทาให้มีความ
สะดวกในการปฏิบัติงาน สามารถดาเนินงานด้วยความคล่องตัว แต่มีปัญหาในเรื่องความ
ซ้าซ้อนของข้อมูลระหว่างกลุ่ม และยุ่งยากในเรื่องการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
ข่าวสาร
ศูนย์สารสนเทศส่วนกลาง สืบเนื่องจากองค์กรมีการสร้างเครือข่ายหรือมีระบบข้อมูล
ข่าวสารร่วม ดังนี้ศูนย์สารนิเทศส่วนกลางจึงมีความจาเป็นที่จะทาให้ระบบการใช้
ข้อมูล ข่าวสาร ในลักษณะการใช้งานร่วมกัน ทาให้สะดวกขึ้น และยังบริหารเครือข่าย
หรือช่วยในเรื่องการติดต่อสื่อสารระหว่างองค์กร ความสาเร็จอยู่ที่การจัดการ
โครงสร้างในองค์กร
รูปแบบการบริหารสารสนเทศในองค์กรจึงเป็นได้ ทั้งแบบรวมศูนย์เหมือนในอดีต แต่
ในสภาพปัจจุบันความต้องการใช้สารสนเทศมีความหลากหลาย และมีความ
แตกต่างกันมาก ตั้งแต่ระดับส่วนตัวจนถึงระดับระหว่างองค์กร ดังนั้นความสาเร็จ
ขององค์กรจึงอยู่ที่ การบริหารและการจัดการโครงสร้างสารสนเทศ ให้เหมาะสมกับ
สภาพการทางานขององค์กร ซึ่งสามารถแยกกระจายตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับกลุ่ม
ระดับองค์กร และระหว่างองค์กร การเลือกสภาพที่เหมาะสมต่อการใช้งานจึงเป็น
เรื่องที่สาคัญ
เรื่อง
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
• คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
• 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่
เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Main
board) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์
แป้ นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะ
ไม่สามารถทางานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนามาต่อเชื่อมเพื่อทางานร่วมกันเป็นระบบที่
เรียกว่า "ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)" ที่มีโครงสร้างของระบบจะ
ทางานตามโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น
• 2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสั่งที่ควบคุมให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบ
ออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือ
ชุดคาสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานตามต้องการได้ โดยโปรแกรมหรือชุดคาสั่งนั้นจะเขียนจาก
ภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming
Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือ
นักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์แบบต่าง ๆ ขึ้นมา
• ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
• 1) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่จัดการและ
ควบคุม ทรัพยากรต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอานวยความสะดวกด้านเครื่องมือ
สาหรับการทางานพื้นฐานต่าง ๆ ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทางานจะ
เป็นไปตามชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น ตลอดจนควบคุมการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์
• 2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้าง
หรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น งานด้าน
การจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ
ตามแต่ผู้ใช้ต้องการ
• 3. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานามาให้
คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผลคานวณ หรือกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มา
เป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติ
ส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทางาน ซึ่งอาจนามาจาแนกเป็นรายงาน
ต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ ไฟฟ้ าของ
บ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สาหรับคานวณเป็นปริมาณไฟฟ้ า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิดเป็น
เงิน ที่จะต้องชาระให้กับการไฟฟ้ าฯ
• 4. บุคคลากร (People ware) คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสาคัญมาก
เพราะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ
จัดเตรียมโปรแกรมดาเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่สามารถทาด้วยตัวเองได้ ถ้า
หากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากนัก เราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่
สาคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
• - เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator)
• - บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System)
• - ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing
Manager)
• - ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user)
• 5. กระบวนการทางาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการ
ทางานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทางานกับ
คอมพิวเตอร์จาเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทางาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้
เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทาคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้างอิงได้
นอกจากนั้นเมื่อการใช้มาตรฐาน ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานย่อยๆ
ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา ตลอดจนการบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ก็
จะง่ายขึ้นเพราะทุกหน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน

Contenu connexe

Tendances

2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)phatrinn555
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นPhicha Pintharong
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)Supaksorn Tatongjai
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมnawapornsattasan
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technologyNittaya Intarat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPassawit Mongkolnut
 

Tendances (19)

2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
 
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เอกสารการบรรยาย เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-8 (Group1)
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมหน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
หน่วยที่ 2-องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอม
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Chepter1
Chepter1Chepter1
Chepter1
 

En vedette

ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟFern Monwalee
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3Kwanchai Buaksuntear
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3krookay2012
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวTutor Ferry
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรN'Fern White-Choc
 

En vedette (9)

Graph
GraphGraph
Graph
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
 

Similaire à เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ.Jpg

เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnatsuda_naey
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1JorJames Satawat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1JorJames Satawat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1JorJames Satawat
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Kanjanaporn Thompat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanjanaporn Thompat
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิมYIMMIE89
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมruth12874
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanjanaporn Thompat
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น2
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น2คอมพิวเตอร์เบื้องต้น2
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น2tnkieta
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารpornchitafaii
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
(ใบงานที่2)
(ใบงานที่2)(ใบงานที่2)
(ใบงานที่2)NIng Bussara
 

Similaire à เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ.Jpg (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
งานยิม
งานยิมงานยิม
งานยิม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
งานคอมนะ
งานคอมนะงานคอมนะ
งานคอมนะ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น2
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น2คอมพิวเตอร์เบื้องต้น2
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น2
 
ฟิต
ฟิตฟิต
ฟิต
 
Lession1
Lession1Lession1
Lession1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
(ใบงานที่2)
(ใบงานที่2)(ใบงานที่2)
(ใบงานที่2)
 

เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ.Jpg

  • 2. เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีการสื่อสาร • จากการเรียนที่ผ่านมาเราได้เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศมาแล้ว และได้รู้ว่าเทคโนโลยี สารสนเทศ คือเทคโนโลยีที่ใช้จัดการกับข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารเหล่านั้น สามารถถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบ และสามารส่งไปยังที่ต่าง ๆ ได้ตามต้องการอย่างรวดเร็วทันใจ อีกทั้งผู้ต้องการใช้สารสนเทศยังสามารถสืบค้นหาข้อมูลและข่าวสารที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว เช่นกัน นอกจากนั้นนักเรียนยังได้เรียนรู้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเกิดจากการ • รวมเทคโนโลยีสองอย่างเข้าด้วยกัน อย่างแรกคือเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และอย่างที่สองคือ เทคโนโลยีการสื่อสาร คาว่า เทคโนโลยีในที่นี้หมายถึง ความรู้และวิธีการนาความรู้ไปใช้ สวน ผลผลิตของเทคโนโลยีซึ่งทาให้เกิดการทางานที่เราต้องการนั้น เราเรียกว่า ระบบระบบ สารสนเทศ ประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์กับการสื่อสาร
  • 3. • ระบบสารสนเทศที่ประกอบด้วยฝ่ายส่งข้อมูลและฝ่ายรับข้อมูล แต่ละฝ่ายประกอบด้วยระบบ คอมพิวเตอร์กับระบบสื่อสาร และระบบสื่อสารของทั้งสองฝ่ายเชื่อมต่อถึงกันโดยสิ่งที่เรียกว่า ช่องทางการสื่อสาร (Communication Channel) ซึ่งอาจเป็นสายโทรศัพท์ใยแก้วนา แสง หรือคลื่นวิทยุก็ได้ในทางปฏิบัติ ระบบสารสนเทศอาจมีขนาดใหญ่กว่านี้ และอาจ ประกอบด้วยฝ่ายส่งและฝ่ายรับอย่างละหลายร้อยหลายพันรายก็ได้ ตามตัวอย่างสมมุติฝ่ายส่ง ข้อมูลต้องการส่งข้อมูลที่มีอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของฝ่ายตนไปให้แก่ฝ่ายรับ ฝ่ายส่งข้อมูลต้อง จัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบพร้อมส่ง และใช้โปรแกรมพิเศษ ไปควบคุมระบบสื่อสารให้ส่ง ข้อมูลไปตามช่องทางการสื่อสาร ซึ่งในกรณีนี้ต่อสายตรงอยู่กับฝ่ายรับข้อมูลก็จะไปถึงฝ่ายรับ ข้อมูลโดยตรง ระบบสื่อสารของฝ่ายรับข้อมูล เมื่อรับข้อมูลแล้วก็จะส่งต่อให้กับระบบ คอมพิวเตอร์ของฝ่ายต้นข้อมูลก็จะปรากฏที่ระบบคอมพิวเตอร์นั้น
  • 4. • กรณีของระบบใหญ่ซึ่งมีผู้ส่งและผู้รับจานวนมากราย ต้องมีวิธีการหาเส้นทางระหว่างผู้ส่งและ ผู้รับเพื่อให้ข้อมูลไปถึงผู้รับรายที่ต้องการ อีกประการหนึ่ง ผู้ใช้แต่ละรายมักจะเป็นทั้งผู้ส่งและ ผู้รับ ยกตัวอย่างเช่น กรณีนักเรียนใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องเรียนสืบค้นข้อมูลทาง อินเทอร์เน็ต โดยไปที่เว็บไซต์ของบริษัทคือ http://www.tipvarin.co.th คอมพิวเตอร์ของนักเรียนจะทาหน้าที่เป็นผู้ส่งก่อน คือ สั่งข้อมูลร้องขอว่าต้องการข้อมูลจาก เว็บไซต์นี้ ต่อมาคอมพิวเตอร์ของนักเรียนก็จะทาหน้าที่เป็นผู้รับข้อมูลที่ได้จากเว็บไซต์นั้น เพื่อ มาแสดงที่จอภาพ เป็นต้น
  • 6. เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์คืออะไรอุปกรณ์ที่อยู่ภายในคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่อยู่ภายนอก คอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องมือชนิดหนึ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาจากอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ สามารถอ่านและเก็บข้อมูลพร้อมแสดงผลได้ประมวลผลและทางานที่เราสั่งการอีก ทั้งยังตอบสนองการกระทาของผู้ใช้ได้และมีความสามารถในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ ไฟฟ้ าบางชนิดเพื่อสั่งให้อุปกรณ์ไฟฟ้ าเหล่านั้นทางานได้ตามต้องการความหมายของ คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์คืออะไรคอมพิวเตอร์ (computer)เป็นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่ทางานอัตโนมัติตามคาสั่งที่ป้ อนไว้ล่วงหน้าและถูกนามาประยุกต์ใช้ ประโยชน์ในการคานวณและการทางานที่ใช้ความคิดแบบตรรกะได้กว้างขวางแทบ ทุกด้านปัจจุบันคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสารพัดประโยชน์สามารถนามาใช้ในการ ทางานหลายด้านอย่างมีประสิทธิภาพสูง เนื่องจากมีหน่วยความจาสูงคานวณและ ประมวลผลได้อย่างรวดเร็วมีวิธีการบันทึกและการประมวลผลหลายรูปแบบ
  • 7. • ข้อดีของคอมพิวเตอร์ยังมีอีกคือ ** เป็นเครื่องจักรที่ทางานได้ทั้งวันอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย ** สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้สามารถ ทางานร่วมกันและ • ส่งข้อมูลถึงกันได้อย่างรวดเร็ว ** การพัฒนาคอมพิวเตอร์เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดย เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้นยิ่งกลับทาให้การใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นเรื่อง ง่ายต่อผู้ใช้มากยิ่งขึ้นทุกที
  • 8. • คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจึงเป็นอุปกรณ์ที่จาเป็นสาหรับการทางานเป็นเครื่องมือ ประจาบ้านซึ่งใช้ในการทาการบ้าน ทางานวิจัยติดต่อสื่อสารเก็บข้อมูลแม้กระทั่งใช้ เพื่อความบันเทิงในครอบครัว 1. ซีพียู • 2. เมนบอร์ด • 3. แรม • 4. ฮาร์ดดิสก์ • 5. การ์ดแสดงผล • 6. การ์ดเสียง • 7. เครื่องขับแผ่นบันทึกข้อมูล • 8. เครื่องขับแผ่นซีดี • 9. การ์ดแลน • 10. โมเด็ม •
  • 9. • 1. ซีพียู คือหน่วยประมวลผลกลางเปรียบเสมือนสมองกลของคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่ คานวณคาสั่งต่างๆและสั่งให้แสดงผลลัพธ์ออกมา • 2. เมนบอร์ด คือ แผงควบคุมระบบอิเล็กทรอนิกส์หลักของคอมพิวเตอร์เป็นที่ใช้ต่อ เข้ากับอุปกรณ์ตัวอื่นๆ เช่น ซีพียู การ์ดจอ แรม • 3. แรม คือ หน่วยความจาชั่วคราวสาหรับส่งข้อมูลให้ CPU คานวณ • 4. ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์มีหน้าที่เก็บข้อมูลต่างๆ มีความจุและขนาดที่แตกต่างกัน • 5. การ์ดแสดงผล คือ การ์ดที่ใช้ต่่อเข้ากับจอคอมพิวเตอร์เพื่อทาให้คอมพิวเตอร์ สามารถแสดงผลได้ • 6. การ์ดเสียง คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ควบคุมเรื่องเสียงซึ่งจะให้เสียงออกมาทาง ลาโพง • 7. เครื่องขับแผ่นบันทึกข้อมูล คือ เครื่องที่ใช้ในการอ่านและเขียนข้อมูลลงแผ่นฟล็อป ปี้ดิสก์ • 8. เครื่องขับแผ่นซีดี คือ เครื่องที่ใช้ในการอ่านและเขียนข้อมูลลงในแผ่นซีดีอาจเป็น งานเอกสาร รูปภาพ หรือภาพเคลื่อนไหว • 9. การ์ดแลน คือ การ์ดที่สาหรับต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆตัวให้สามารถ ติดต่อกันได้เรียกว่า ระบบ
  • 10. • 1. กล่องใส่อุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพวเตอร์ • 2. จอภาพ • 3. เมาส์ • 4. แป้ นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด • 1. กล่องใส่อุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพวเตอร์ • Case ( เคส ) เป็นกล่องใส่ส่วนประกอบภายในต่างๆ เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น เมนบอร์ด แรม ซีพียู การ์ดเสียง ฮาร์ดิสก์ เป็นต้น • 2. จอภาพ • จอภาพ เป็นอุปกรณ์ใช้แสดงผลการทางานให้เรามองเห็นข้อความ รูปภาพนิ่งหรือ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น • 3. เมาส์ • เมาส์ เป็นอุปกรณ์ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังตาแหน่ง ต่างๆ บนจอภาพ ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้ • 4. แป้ นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด • แป้ นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่จาเป็นในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ซึ่งจะรับ ข้อมูลจากการกดแป้ นพิมพ์แล้งเปลี่ยนเป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์
  • 11. • 1. เครื่องสแกนเนอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านภาพเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ • 2. เครื่องพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้พิมพ์ข้อมูลต่างๆ สามารถพิมพ์ได้ทั้งตัวอักษรและรูปภาพ • • 3. ลาโพง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงเสียงต่างๆ เหมาะสาหรับคอมพิวเตอร์ที่ต้องความบันเทิง • • 4.กล้องดิจิตอล เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ถ่ายภาพแบบไม่มีฟิล์ม เพราะเป็นการใช้หน่วยความจา ภายในสาหรับจัดเก็บเป็นภาพ • • 5. แฟลชไดร์ เป็นหน่วยความจาที่มีความจุสูงแต่มีขนาดเล็ก สามารถพกพาข้อมูลไปได้ทุกที่ เพียงต่อเข้ากับพอร์ต USB ของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือโน้ตบุ๊กและใช้งานได้ทันที • • 6. เครื่องสารองไฟ ( UPS) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่สารองไฟไว้ใช้กรณีที่ไฟฟ้ าดับ และจะช่วย กรองกระแสไฟฟ้ าในกรณีมีกระแสไฟฟ้ าเกินหรือขาด • • 7.ไมโครโฟน เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลในรูปแบบเสียง โดยจะแปลงสัญญาณเสียงเป็นดิจิตอลแล้ว ส่งไปยังคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในปัจจุบัน เรียกว่า พีซี (PC) เป็น เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานส่วนบุคคลแต่โดยรวมนั้นคอมพิวเตอร์ยังแบ่งออกได้เป็นหลาย ประเภทตามขนาดประสิทธิภาพในการทางานประเภทต่างๆ
  • 12. • คอมพิวเตอร์ที่เราควรรู้จักมีดังนี้ 1. คอมพิวเตอร์ส่วนตัวหรือส่วนบุคคล ( Personal Computer) เพอร์ซันแนล คอมพิวเตอร์ หรือเรียกย่อๆว่า พีซี หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนตัวตามบ้านหรือสานักงาน ทั่วไปซึ่งมักจะมีโครงสร้างเป็นมาตรฐานใกล้เคียงกัน ใช้โปรแกรมร่วมกันได้หมด 2. คอมพิวเตอร์สมุดพก ( Notebook) เป็นเครื่องที่มีความสามารถในระดับ เดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ( PC) แต่ออกแบบมาให้มีขนาดเล็กน้าหนัก เบาพอที่จะนาติดตัวไปไหนๆได้ด้วยสะดวกและมักจะใช้พลังงานไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ได้ทาให้สามารถใช้งานได้ทุกสถานที่ไม่ว่าบนรถ เรือ เครื่องบิน 3.คอมพิวเตอร์แบบพกพา/คอมพิวเตอร์มือถือ เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่พกพาใส่ กระเป๋ าได้ เช่นที่เรียกกันว่า PDA หรือผู้ช่วยส่วนตัวแบบดิจิตตอลสามารถเป็น คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้ บันทึกรายชื่อ นัดหมายต่างๆ
  • 14. • เรื่อง การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในองค์กร ปัจจุบันมีการกล่าวถึงวิธีการรื้อปรับระบบองค์กรใหม่ ในรูปแบบที่เรียกว่า Business reinvention กล่าวคือ การปรับปรุงและสร้างองค์กรใหม่ โดย นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในองค์กร สารสนเทศเป็นสิ่งที่มีความสาคัญยิ่ง เราแบ่งระดับสารสนเทศออกเป็น 4 ระดับคือ ระดับส่วนบุคคล ระดับกลุ่มหรือแผนก ระดับองค์กรและระดับระหว่างองค์กร โดยทุกระดับจะเกี่ยวข้องกับทรัพยากรที่ จาเป็นต้องนามาใช้เพื่อประกอบกัน และให้ได้ประโยชน์จากสารสนเทศ ประกอบด้วย อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสาร ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ชั้นตอน การปฏิบัติงาน ได้แก่ กฎระเบียบต่าง ๆ และตัวบุคลากรเอง ศูนย์สารสนเทศขององค์กร คือหน่วยงานที่จะบริหารและจัดการทรัพยากร สารสนเทศ ที่ต้องลงทุนทั้ง 5 องค์ประกอบนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ศูนย์ สารสนเทศขององค์กรตามแนวความคิดใหม่ จึงต้องประสานกับธรรมชาติของการ ทางานขององค์กรที่มีบุคลากรเป็นแกนนา เพราะบุคลากรทุกคนย่อมเป็นผู้ใช้ สารสนเทศ และยังต้องมองเลยไปเป็นระดับกลุ่ม ระดับองค์กร และระดับระหว่าง องค์กร การทางานในทุกระดับจะต้องประสานการใช้ประโยชน์ให้เกิดกับองค์กรได้ สูงสุด
  • 15. ลักษณะและจุดมุ่งหมายของศูนย์สารสนเทศคอมพิวเตอร์ มีการพัฒนาการมาจากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีราคาแพง โดยการ ใช้ประโยชน์จึงเริ่มจากการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันในอดีต มีศูนย์ คอมพิวเตอร์กลาง ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาพีซี แนวคิดจึงเริ่มจากการ พัฒนาให้ระบบใช้งานส่วนตัว และต่อมาพัฒนาเป็นเครือข่ายที่ทางาน ร่วมกัน ดังนี้ลักษณะของการใช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีลักษณะตาม สภาพของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยี โดยเฉพาะ ระบบคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล ระบบเครือข่าย รูปแบบการ ใช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบดังนี้
  • 16. การใช้แบบเครื่องหลัก (Host base) ในยุคที่เครื่องคอมพิวเตอร์มีราคา แพง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นเมนเฟรม ซึ่งมีการจัดการฐานข้อมูลอยู่ ส่วนกลางและแบ่งการใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์หลักเป็นเครื่องที่รวมทรัพยากร ทั้งหมดไว้ที่ศูนย์กลาง ผู้ใช้เพียงแต่ต่อสายออนไลน์ และใช้กาลังการคานวณทั้งหมด จากเครื่องหลัก สถานีปลายทางจึงเป็นเพียงแค่เทอร์มินัลเท่านั้นการใช้งานแบบ เครื่องหลัก เพื่อเป็นการสนับสนุนข้อมูลข่าวสารขององค์กร การใช้งานแบบเครื่องเดี่ยว (Stand alone) เมื่อมีการพัฒนาพีซีให้เป็น เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล จึงมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สนับสนุนพีซีให้ช่วยงานระดับ บุคคล ดังนั้นการประยุกต์ใช้งานระดับบุคคลจึงเป็นที่นิยมแพร่หลาย ปัจจุบันมี ซอฟต์แวร์พื้นฐานที่เรียกว่าโปรแกรมสาเร็จรูปให้ใช้งานได้มาก เช่น ใช้ช่วยในการ พิมพ์เอกสารหรือเรียกว่า เวิร์ดโปรเซสเซอร์ ใช้คานวณบนตารางที่เรียกว่า สเปรตซีต ใช้ในการเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลขนาดเล็ก ใช้เพื่อนาเสนผลงาน
  • 17. • เครื่องพีซีทาให้เกิดระบบการจัดการข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลระบบแลนและ ไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์ เมื่อพีซีมีขีดความสามารถสูงขึ้น ประกอบกับเทคโนโลยีได้ พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เชื่อมโยงเข้าถึงกัน และใช้งานร่วมกัน ระบบ แลนที่ใช้จึงเริ่มจากการสนับสนุนงานระดับกลุ่ม ระดับแผนกที่มีการทางานร่วมกัน ใช้ ทรัพยากรบางอย่างร่วมกัน เช่น ใช้ไฟล์ใช้ข้อมูล ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ ตลอดจนเครื่องพิมพ์ร่วมกัน สภาพการทางานบนเลนส่วนหนึ่งมีลักษณะการทางาน แบบ ไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์ กล่าวคือมีสถานีบริการกลางที่ให้บริการร่วมกันทั้งกลุ่ม โดยผู้ใช้จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีของตนเองเชื่อมโยงกับเครือข่ายแลน เครื่อง คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เรียกว่า ไคลแอนด์ ส่วนสถานีบริการกลางเรียกว่า เซิร์ฟเวอร์ เช่น ถ้ามีระบบฐานข้อมูลกลางที่ให้บริการกลางร่วมกันก็เรียกว่า ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้สามารถใช้เครื่องไคลแอนต์เรียกค้นข้อมูลข่าวสารจากเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได ้้ รูปแบบการทางานแบบนี้จึงเป็นการลดขนาดของเซิร์ฟเวอร์ลงจากโฮสเบส เพราะ สถานีย่อยคือไคลแอนต์สามารถช่วยดาเนินการบางอย่างเองได้ และการทางานใน ระดับไคลแอนต์ที่สาคัญคือ มีส่วนช่วยในการติดต่อกับผู้ใช้ที่จะแสดงผลแบบ กราฟฟิก
  • 18. เครือข่ายแลนสนับสนุนการทางานเป็นกลุ่ม การเชื่อมต่อแลนเป็นอินทราเน็ต เมื่อนาเวอร์กกรุ๊ปหรือเครือข่ายแลนย่อย ๆ หลายเครือข่ายต่อเชื่อมกันเป็นเครือข่ายขององค์กร มีเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูล ข่าวสารหลักที่เรียกว่าแบคโบน (backbone) เครือข่ายนี้จึงเป็นเครือข่ายที่ สนับสนุนการทางานขององค์กร ซึ่งอาจเรียกว่าเอ็นเตอร์ไพรสเน็ตเวอร์กหรือ อินทราเน็ต ในระดับองค์กรจึงมีการบริหารจัดการเครือข่ายขององค์กร มีหน่วยงาน ดูแลเครือข่ายกลาง และดูแลทรัพยากรที่สนับสนุนการใช้งานในองค์กร ลักษณะการ เชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานอาจข้ามออกไปยังหน่วยงานที่อยู่ห่างไกล โดยเชื่อมต่อ ด้วยเครือข่ายสาธารณะแบบแวน (wan) สภาพการทางานภายในองค์กรยังมี ลักษณะการใช้ทรัพยากรร่วมกันมีสถานีบริการที่เรียกว่าเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้ใช้พีซีที่ต่ออยู่ บนเครือข่ายเชื่อมโยงเรียกใช้บริการเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ภายในองค์กรอาจมีฐานข้อมูล เก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์กลางหรืออาจจะมีหลายเซิร์ฟเวอร์กระจายกันอยู่ก็ได้ ลักษณะการ ใช้งานบนเครือข่ายจึงสนับสนุนการทางานตั้งแต่งานในระดับบุคคลที่ใช้พีซีของ ตนเองเป็นหลัก เชื่อมต่อใช้งานร่วมกันเป็นเครือข่ายในแผนก ในกลุ่มงานของตน ใช้ สถานทีบริการเซิร์ฟเวอร์ในแผนกของตน และยังเชื่อมโยงกับองค์กรใช้งานใน ลักษณะร่วมกับส่วนกลางขององค์กร ดังนั้นทุกคนในองค์กรที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายจึง สามารถเลือกใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ข้อมูลข่าวสารทั้งของกลุ่มและขององค์กรได้
  • 19. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กรต้องเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของแต่ละแผนก เข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูลร่วมกัน นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทรัพยากร ฮาร์ดแวร์ร่วมกันได้อีกด้วย ในเชิงเทคนิคนั้นระบบสารสนเทศระดับองค์กรจะมีระบบคอมพิวเตอร์ที่ดูแล แฟ้ มข้อมูลที่ใช้งานร่วมกันไว้ในไฟล์เซิร์ฟเวอร์ มีการใช้เครือข่ายแลนเชื่อมโยง เครื่องมือพื้นฐาน อีกประการหนึ่งของระบบข้อมูลข่าวสาร คือระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งเป็นโปรแกรมที่สาคัญในการช่วยดูแลระบบข้อมูลและการประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ การใช้เครือข่ายเพื่อสนับสนุนการทางานในองค์กร การเชื่อมโยงระหว่างองค์กร การบริหารและการจัดการระบบสารสนเทศสมัยใหม่ ยังเน้นให้เกิดการทางานแบบ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Business) และมีการค้าขายแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างองค์กรเพื่อให้เกิดการทางานร่วมกัน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน การเชื่อมโยงระหว่างกันในปัจจุบัน เน้นการใช้เส้นทางร่วมแบบสาธารณะ เช่น ใช้อินเทอร์เน็ต ลักษณะการเชื่อมโยงออก สู่ภายนอก จึงมีลักษณะที่ต้องการสร้างวงจรเฉพาะการเชื่อมโยงระหว่างองค์กร หรือ การวิ่งผ่านเส้นทางสาธารณะร่วมกัน
  • 20. การเชื่อมโยงระหว่างองค์กรอินเทอร์เน็ต จึงเป็นเครือข่ายสากลที่เชื่อมโยงเครือข่ายย่อยขององค์กรจานวนมหาศาลเข้าด้วยกัน ทาให้ทุกองค์กรที่เชื่อมโยงเข้าถึงอินเทอร์เน็ตติดต่อถึงกันได้ และหากถ้ามีองค์กรใดสร้าง เครือข่ายและเชื่อมโยงต่อออกไปภายนอก โดยเน้นการทางานในขอบเขตจากัด เช่น ให้บริการลูกค้าติดต่อเข้ามาได้ และไม่สามารถออกไปนอกเครือข่ายอย่างอิสระเหมือน อินเทอร์เน็ต เราก็เรียกว่า เอ็กซ์ทราเน็ต ศูนย์สารสนเทศกับองค์กรในองค์กรมีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศหลายระดับ ดังนั้นการจัดประเภทของศูนย์สารสนเทศจึงต้องเน้นให้ สนับสนุนการทางานทุกระดับ ศูนย์สารสนเทศจึงมีลักษณะที่แบ่งตามประเภทการใช้งาน ดังนี้ ศูนย์สารสนเทศสนับสนุนการทางานระดับกลุ่ม จากการใช้งานในระดับเวอร์กกรุ๊ป ที่ มีการจัดการเซิร์ฟเวอร์ของตนเองภายในแผนกหรือกลุ่มจึงต้องรับผิดชอบงานทางด้าน สารสนเทศของตนเอง เช่น งานแผนกบุคคล ต้องดูแลฐานข้อมูลพนักงานทั้งหมด ดูแลการ ดาเนินงานเพื่อการทางานการเงินเดือน แผนกขายก็ต้องดูแลฐานข้อมูลลูกค้า ฐานข้อมูล สินค้าคงคลังของตนเอง การกระจายศูนย์สารสนเทศลงไป ในระดับกลุ่มทาให้มีความ สะดวกในการปฏิบัติงาน สามารถดาเนินงานด้วยความคล่องตัว แต่มีปัญหาในเรื่องความ ซ้าซ้อนของข้อมูลระหว่างกลุ่ม และยุ่งยากในเรื่องการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ข่าวสาร
  • 21. ศูนย์สารสนเทศส่วนกลาง สืบเนื่องจากองค์กรมีการสร้างเครือข่ายหรือมีระบบข้อมูล ข่าวสารร่วม ดังนี้ศูนย์สารนิเทศส่วนกลางจึงมีความจาเป็นที่จะทาให้ระบบการใช้ ข้อมูล ข่าวสาร ในลักษณะการใช้งานร่วมกัน ทาให้สะดวกขึ้น และยังบริหารเครือข่าย หรือช่วยในเรื่องการติดต่อสื่อสารระหว่างองค์กร ความสาเร็จอยู่ที่การจัดการ โครงสร้างในองค์กร รูปแบบการบริหารสารสนเทศในองค์กรจึงเป็นได้ ทั้งแบบรวมศูนย์เหมือนในอดีต แต่ ในสภาพปัจจุบันความต้องการใช้สารสนเทศมีความหลากหลาย และมีความ แตกต่างกันมาก ตั้งแต่ระดับส่วนตัวจนถึงระดับระหว่างองค์กร ดังนั้นความสาเร็จ ขององค์กรจึงอยู่ที่ การบริหารและการจัดการโครงสร้างสารสนเทศ ให้เหมาะสมกับ สภาพการทางานขององค์กร ซึ่งสามารถแยกกระจายตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับกลุ่ม ระดับองค์กร และระหว่างองค์กร การเลือกสภาพที่เหมาะสมต่อการใช้งานจึงเป็น เรื่องที่สาคัญ
  • 23. • คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ • 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่ เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Main board) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้ นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะ ไม่สามารถทางานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนามาต่อเชื่อมเพื่อทางานร่วมกันเป็นระบบที่ เรียกว่า "ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)" ที่มีโครงสร้างของระบบจะ ทางานตามโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น • 2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสั่งที่ควบคุมให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบ ออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือ ชุดคาสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางานตามต้องการได้ โดยโปรแกรมหรือชุดคาสั่งนั้นจะเขียนจาก ภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือ นักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์แบบต่าง ๆ ขึ้นมา
  • 24. • ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ • 1) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่จัดการและ ควบคุม ทรัพยากรต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอานวยความสะดวกด้านเครื่องมือ สาหรับการทางานพื้นฐานต่าง ๆ ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทางานจะ เป็นไปตามชุดคาสั่งที่เขียนขึ้น ตลอดจนควบคุมการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ • 2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้าง หรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น งานด้าน การจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ ตามแต่ผู้ใช้ต้องการ • 3. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานามาให้ คอมพิวเตอร์ทาการประมวลผลคานวณ หรือกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มา เป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติ ส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทางาน ซึ่งอาจนามาจาแนกเป็นรายงาน ต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ ไฟฟ้ าของ บ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สาหรับคานวณเป็นปริมาณไฟฟ้ า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิดเป็น เงิน ที่จะต้องชาระให้กับการไฟฟ้ าฯ
  • 25. • 4. บุคคลากร (People ware) คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสาคัญมาก เพราะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรมดาเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่สามารถทาด้วยตัวเองได้ ถ้า หากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากนัก เราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่ สาคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้ • - เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator) • - บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System) • - ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager) • - ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user) • 5. กระบวนการทางาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการ ทางานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทางานกับ คอมพิวเตอร์จาเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทางาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้ เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทาคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้างอิงได้ นอกจากนั้นเมื่อการใช้มาตรฐาน ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานย่อยๆ ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา ตลอดจนการบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ก็ จะง่ายขึ้นเพราะทุกหน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน