SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
รายงาน เรื่อง..ฟุตซอล
รายวิชาพลศึกษา (พ31201)
จัดทาโดย
นางสาวปพิชญา ต๊ะวิไชย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เลขที่ 20
เสนอ
คุณครูนิยมศิลป์ สุนทร
โรงเรียนท่าวังผาพิทยาคม
อาเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน
ก
คานา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาพลศึกษา
(พ31201) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โดยมีจุดประสงค์
เพื่อการศึกษาความรู้ที่ได้จากเรื่องฟุตซอล
ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้จากแหล่งก
ารเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในหนังสือ
และสื่อต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกีฬาฟุตซอล เช่น
ประวัติความเป็นมา กฎกติกา อุปกรณ์ต่างๆ
เทคนิคการเล่น
รวมไปถึงเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องอีกด้วย
ผู้จัดทาได้เลือก
หัวข้อนี้ในการทารายงาน
เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ
เพราะมีการเล่นฟุตซอลกันอย่างแพร่หลายในป
ระเทศไทย ผู้จัดทาขอขอบคุณ คุณครูนิยมศิลป์
สุนทร ผู้ให้ความรู้ และแนวทางการศึกษา
ข
เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้
ความช่วยเหลือมาโดยตลอด
ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้
และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก
ๆท่านที่สนใจในกีฬาฟุตซอล
ปพิชญา ต๊ะวิไชย
สารบัญ
เรื่อง
หน้า
ประวัติกีฬาฟุตซอล
1
ค
- การแข่งขันฟุตบอล 5 คน ในประเทศไทย
5
กฎกติกาฟุตซอล
6
สัญญาณของผู้ตัดสินฟุตซอล
35
วิธีการเล่นฟุตซอล
37
- วิธีการฝึกสอน
38
มารยาทของการเล่นฟุตซอล
40
การดูแลรักษาอุปกรณ์ฟุตซอล
41
แหล่งอ้างอิง
42
ง
1
 ประวัติกีฬาฟุตซอล
ประวัติกีฬาฟุตซอลต่างประเทศ
ต้นกาเนิดของฟุตซอล
มาจากการเล่นฟุตบอลแบบข้างละ5 คน
สามารถมองย้อนไปในปี 1930 ที่มอนเตวิโอ
ประเทศอุรุกวัย เมื่อฮวน คาร์ลอส เซอเรียนี
ได้นาฟุตบอลข้างละ 5
คนนี้ไปใช้ในในการแข่งขันที่สมาคม YMCA
ได้เล่นโดยใช้พื้นที่ของสนามบาสเกตบอลในการเล่น
ทั้งภายในและภายนอกโรงยิมจึงทาให้เกิดการเล่นแบบอิน
ดอร์ซอคเกอร์ซึ่งได้รับความสนใจอย่างมากเพราะไม่มีปัญ
หาด้านสภาพภูมิอากาศ อินดอร์ซอคเกอร์
ได้รับความนิยมและมีคนให้ความสนใจเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ส่วนในประเทศบราซิลมีการกล่าวถึงการพัฒนาฟุตซอลมา
จากฟุตบอลข้างถนน กระทั่งปี ค.ศ. 1932 โรเจอร์ เกรน
ได้บัญญัติกฎที่เป็นมาตรฐานในการควบคุมการแข่งขันขึ้น
และได้ใช้กฎและข้อบังคับนี้ใช้จนมาถึงปัจจุบันนี้
คาว่าฟุตซอล (Futsal) คือ
คาที่นานาประเทศใช้เรียกกีฬาประเภทนี้โดยมีรากศัพท์มา
2
จากประเทศสเปนหรือโปตุเกส ที่เรียก soccer ว่า
“FUTbol” หรือ “FUTebol”
และที่ภาษาฝรั่งเศสหรือสเปนเรียก Indoor ว่า ” SALa”
ที่แปลว่า อินดอร์ หรือในร่ม ซึ่งรวมเป็นคาว่า “fUtSAl”
แต่เป็นคาที่มีฐานจากประเทศสหรัฐอเมริกาโดยเฉพาะ
“fUtSAl” (USA) คาที่เป็นชื่อของประเทศสหรัฐอเมริกา
จึงมีการใช้คาว่า FUTSAL แทน ซึ่งหมายถึง
การเตะบอลในสนามขนาดย่อมในร่ม
กลายเป็นคาที่เรียกขานกันแทนคาว่า “Five-A-Side”
หรือบอล 5 คน
นอกจากนั้นการเล่นฟุตซอลกลางแจ้งเมื่อเข้าสู่ช่วงฤดูหนา
ว
ประเทศในบางทวีปของโลกที่ประสบกับปัญหาหิมะตกและ
สภาพอากาศที่หนาวมากไม่สามารถจัดการแข่งขันกีฬากล
างแจ้ง ได้ จึงถือเป็นช่วงสิ้นสุดฤดูกาลแข่งขันแต่เนื่อง
จากฤดูหนาวมีระยะเวลาที่ยาวนานและสภาพอากาศกลาง
แจ้งไม่เอื้ออานวยต่อการเล่นกีฬาฟุตบอล
จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้คนหันมาเล่นกีฬาในร่มแทน
และนี่คือที่มาของกีฬาฟุตบอลในร่ม 5 คน หรือที่เรียกว่า “
ฟุตซอล” (FUTSAL)
การแข่งขันฟุตซอลมีการจัดการแข่งขันอยู่เป็นประจาในป
ระเทศแถบอเมริกาใต้
3
ฟุตซอลจึงเป็นเกมการแข่งขันที่ชาวอเมริกาใต้นิยมเล่นกัน
มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศบราซิล
ซึ่งมีนักกีฬาที่มีทักษะความสามารถเฉพาะตัวในการเล่นฟุ
ตบอลสูง ด้วยลีลาอันเร้าใจ
และสนุกสนานจากนักเตะชื่อก้องโลกอย่าง เปเล่ ซิโก้
โซคราเตส เบเบโต้
โรนัลดินโญ่และนักเตะชื่อดังจากบราซิลคนอื่น ๆ
จานวนมากต่างก็เคยเข้าแข่งขันฟุตซอลมาแล้วทั้งสิ้น
ในขณะที่บราซิลมีการเล่นอย่างต่อเนื่องและเป็นการเผยแ
พร่การเล่นฟุตซอลแก่ประเทศอื่น ๆ ในโลก
ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FIFA)
และทีมอื่น ๆ ที่มีความสามารถอันยอดเยี่ยมจากทุกมุมโลก
การแข่งขันครั้งแรกมีขึ้นในปี ค.ศ. 1965
จัดการแข่งขันครั้งแรกในอเมริกาใต้
ประเทศปารากวัยได้แชมป์ทวีปอเมริกาใต้และในปี ค.ศ.
1979
ทีมชาติบราซิลมีชัยชนะเหนือทีมทั้งหมดที่เข้าร่วมการแข่ง
ขันซึ่งทาให้บราซิลเริ่มโดดเด่นเหนือทีมจากกลุ่ม Pan
American ในปี ค.ศ. 1980 และชนะติดต่ออีกครั้งในปี
ค.ศ. 1984
อย่างไรก็ตามสหพันธ์ฟุตซอลแห่งสหรัฐอเมริกา (The
U.S. Futsal Federation) ถูกก่อตั้งในปี ค.ศ. 1981
นายออสวัลโด การ์เซีย (Osvaldo Garcia)
เป็นประธานคนแรกของสหพันธ์
4
การแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่ถูกจัดอย่างไม่เป็นทางก
ารที่กรุงเซาเปาโล ประเทศบราซิล ในปี 1982
และเจ้าภาพบราซิลได้รับชัยชนะ
จากนั้นบราซิลมาได้เป็นแชมป์อีกครั้งในปี ค.ศ. 1985
ที่ประเทศสเปน
แต่พลาดเป็นแชมป์ในการแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 3
อย่างไรก็ตามบราซิลกลับมากวาดแชมป์โลกอีก 2 ครั้งในปี
ค.ศ. 1989 ที่ประเทศฮอลแลนด์
ซึ่งสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ(FIFA)
ได้เข้ามาดูแลการแข่งขันชิงแชมป์โลกอย่างเป็นทางการค
รั้งแรก ซึ่งจัดการแข่งขัน ณ ประเทศฮอลแลนด์
และประเทศบราซิลยังครองความเป็นแชมป์
รองแชมป์ได้แก่ประเทศสเปน อันดับสามประเทศรัสเซีย
และในปี ค.ศ. 1992 ที่ฮ่องกง ในขณะที่ทีมฟุตซอล
จากประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตาแหน่งที่ 3 ในปี ค.ศ. 1989
และที่ 2 ในปี ค.ศ. 1992
ในการแข่งขันชิงแชมป์ฟุตซอลโลกนั่นคือตาแหน่งที่สูงที่สุ
ดของทีมจากประเทศสหรัฐอเมริกาในการแข่งขันที่จัดขึ้นโ
ดยสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FIFA)
แม้ว่าทีมจากทวีปอเมริกาใต้จะมีความยิ่งใหญ่ในช่วงที่ผ่า
นมา แต่ในปี ค.ศ. 2000 การแข่งขันชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 4
ณ ประเทศกัวเตมาลา
5
ทีมจากประเทศสเปนสามารถล้มแชมป์เก่าสามสมัยอันดับห
นึ่งของโลกได้อย่างงดงาม
และครองชัยชนะต่อไปอีกในปีค.ศ. 2004
ในการแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 5 ณ ประเทศไต้หวัน
แต่ต่อมาในปี ค.ศ. 2008
ทีมชาติสเปนพ่ายการดวลจุดโทษ 4-3
ประตูภายหลังจากเสมอกัน 2 ประตูต่อ 2
ให้กับทีมชาติบราซิล
อย่างไรก็ตามการจัดอับดับของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ
(FIFA) ทีมชาติสเปนยังคงครองอันดับหนึ่ง
ตามด้วยทีมชาติบราซิล และอิตาลีอันดับสาม
ในปัจจุบันฟุตซอล ( FUTSAL)
เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมและสนใจจากทุกเพศทุกวัยเนื่อง
จากเป็นเกมกีฬาที่ตื่นเต้น สนุกสนานในทุก ๆ
นาทีของการแข่งขัน และสามารถเล่นได้ตลอดปี
ทุกสภาพอากาศทาให้ ฟุตซอล (FUTSAL)
กลายเป็นกีฬายอดนิยมสาหรับศตวรรษที่ 21 นี้
การแข่งขันฟุตบอล 5 คน ในระดับนานาชาติ
 ค.ศ.1965 จัดการแข่งขันครั้งแรกในอเมริกาใต้
ประเทศปารากวัยได้แชมป์ทวีปอเมริกาใต้
6
 ค.ศ.1979 มีการแข่งขันชิงแชมป์ทวีปอเมริกาใต้อีก 6
ครั้ง โดยนักเตะแซมบ้า ประเทศบราซิลได้แชมป์ทุกครั้ง
 ค.ศ.1980 และ ค.ศ.1984 การแข่งขัน แพนอเมริกาคัพ
โดยนักเตะแซมบ้า ประเทศบราซิลได้แชมป์ทั้งสองครั้ง
 ค.ศ.1982 การแข่งขันชิงแชมป์โลก
(อย่างไม่เป็นทางการ) ครั้งแรก ณ กรุงเซาเปาโล
ประเทศบราซิล และแชมป์ในปีนี้ก็คือ
เจ้าถิ่นประเทศบราซิล นั่นเอง
 ค.ศ.1985 การแข่งขันชิงแชมป์โลก
(อย่างไม่เป็นทางการ) ครั้งที่ 2 ณ ประเทศสเปน
ประเทศบราซิลได้แชมป์
 ค.ศ.1988 การแข่งขันชิงแชมป์โลก
(อย่างไม่เป็นทางการ) ครั้งที่ 3 ณ ประเทศออสเตรเลีย
ประเทศบราซิลเสียแชมป์ให้แก่ประเทศปารากวัยเป็นครั้
งแรก
 ค.ศ.1989 ต่อมาสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ(ฟีฟ่า)
ได้เข้ามาดูแลการแข่งขันชิงแชมป์โลกเป็นครั้งแรก
ซึ่งจัดการแข่งขัน ณ ประเทศฮอลแลนด์
และประเทศบราซิลยังครองเป็นแชมป์
รองแชมป์ประเทศสเปน อันดับสามประเทศรัสเซีย
7
 ค.ศ.1992 การแข่งขันชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 2 ณ
ประเทศฮ่องกง ประเทศบราซิลยังครองความเป็นแชมป์
รองแชมป์ประเทศสหรัฐอเมริกา อันดับสามประเทศสเปน
 ค.ศ.1996 การแข่งขันชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 3
ประเทศสเปน ประเทศบราซิลยังครองความเป็นแชมป์
ของโลกอย่างเหนียวแน่น รองแชมป์ประเทศฮอลแลนด์
อันดับสามประเทศสหรัฐอเมริกา
 ค.ศ.2000 การแข่งขันชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 4 ณ
ประเทศกัวเตมาลา
ประเทศสเปนสามารถล้มแชมป์เก่าสามสมัยอันดับหนึ่งข
องโลก รองแชมป์ประเทศบราซิล อันดับสามโปรตุเกส
 ค.ศ.2004 การแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 5 ณ
ประเทศไต้หวัน ประเทศสเปน ยังครองความเป็นแชมป์
รองชนะเลิศประเทศอิตาลี อันดับสามประเทศบราซิล
กีฬาฟุตบอลจัดได้ว่าเป็นเกมกีฬาที่ยิ่งใหญ่และมีผู้ชมคลั่งไ
คล้กีฬาชนิดนี้มากที่สุดในโลก
เนื่องจากฟุตบอลเป็นเกมที่สนุก ดูง่าย มีสีสันในการเชียร์
โดยเฉพาะในเกมสนามใหญ่ที่เราเรียกว่า เกม 11 คน
นั้นเป็นที่นิยมทั้งในระดับสโมสร
ในลีกของแต่ละประเทศและระดับนานาชาตินั่นคือ
การแข่งขันฟุตบอลโลก
ซึ่งในปัจจุบันนี้กีฬาฟุตบอลไม่แข่งขันเพียงแค่ในสนามให
8
ญ่เท่านั้นยังมีการจัดการแข่งขันฟุตบอลในร่มที่เราเรียกว่า
“ ฟุตบอล 5 คน” หรือ “ ฟุตซอล” (FUTSAL ) นั่นเอง
การแข่งขันฟุตบอล 5 คน ในประเทศไทย
ประเทศไทยได้มีการจัดการแข่งขันฟุตบอล 5 คน
ขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ.2540 ด้วยความร่วมมือจากหลายๆ
ฝ่ายที่ช่วยกันผลักดันกีฬาชนิดนี้ให้ได้รับความนิยมมากขึ้
น
ไม่ว่าจะเป็นสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมรา
ชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร การกีฬาแห่งประเทศไทย
และเดอะมอลล์ กรุ๊ป จากัด ร่วมกันจัดการแข่งขันฟุตบอล 5
คน ในรายการ “STAR IN DOOR SOCCER 1997”
เมื่อวันที่ 12 – 21 กรกฎาคม 2540 ณ เดอะมอลล์ บางกะปิ
โดยมี 12
ทีมสโมสรชั้นนาจากไทยแลนด์ลีกเข้าร่วมการแข่งขัน
และทีมการท่าเรือแห่งประเทศไทยชนะเลิศ
ในปีต่อมาได้จัดการแข่งขันฟุตบอล 5 คน
ขึ้นอีกเป็นครั้งที่ 2 ในครั้งนี้ “ ทีมกรุงเทพมหานคร”
ชนะแชมป์เก่าการท่าเรือแห่งประเทศไทย
9
ปี พ.ศ.2543
ได้มีการจัดการแข่งขันฟุตซอลขึ้นเป็นครั้งที่ 3
โดยมีการแข่งขันรอบคัดเลือกในแต่ละภาคเพื่อนาทีมชนะเ
ลิศและรองชนะเลิศมาแข่งขันกับทีมสโมสรชั้นนาจากไทย
ลีก ในการแข่งขันฟุตซอลชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย
ซึ่งจากความสาเร็จในการแข่งขันครั้งนี้ทาให้กีฬาฟุตซอลเ
ป็นที่นิยมมากยิ่งขึ้น
ต่อมาประเทศไทยได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุ
ตซอลชิงแชมป์เอเชีย
และจากการแข่งขันดังกล่าวทาให้ประเทศไทยได้อันดับสา
มและได้สิทธิ์เดินทางไปแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลกรอบสุ
ดท้าย ระหว่างวันที่ 18 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม 2543 ณ
ประเทศกัวเตมาลา
ในปัจจุบันฟุตซอล ( FUTSAL )
เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมและสนใจจากทุกเพศทุกวัย
เนื่องจากเป็นเกมกีฬาที่ตื่นเต้น สนุกสนานในทุกๆ
นาทีของการแข่งขัน และสามารถเล่นได้ตลอดปี
ทุกสภาพอากาศทาให้ ฟุตซอล (FUTSAL )
กลายเป็นกีฬายอดนิยมรับสหัสวรรษใหม่นี้
 กฎกติกาฟุตซอล
10
กติกาข้อ 1. สนามแข่งขัน
สนามแข่งขัน (THE PITCH) ขนาดสนาม(Dimension)
สนามแข่งขันต้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ความยาวของเส้นข้างต้องยาวกว่าความยาวของเส้นประตู
ความยาว ต่าสุด 25 เมตร สูงสุด 42 เมตร
ความกว้าง ต่าสุด 15 เมตร สูงสุด 25 เมตร
การแข่งขันระหว่างชาติ (International Matches)
ความยาว ต่าสุด 38 เมตร สูงสุด 42 เมตร
ความกว้าง ต่าสุด 18 เมตร สูงสุด 22 เมตร
การทาเส้นสนามแข่งขัน (Pitch Markings)
สนามแข่งขันประกอบด้วยเส้นต่างๆเส้นเหล่านั้นเป็นพื้นที่ของเข
ตนั้นๆ เส้นด้านยาวสองข้างเรียกว่า เส้นข้าง (Touch Line)
เส้นด้านสั้นสองเส้น เรียกว่า เส้นประตู (Goal Line)
เส้นทุกเส้นต้องมีความกว้าง 8 เซนติเมตร
สนามแข่งขันแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่าๆกัน
11
โดยมีเส้นแบ่งแดน (A Halfway Line)
ที่กึ่งกลางของเส้นแบ่งแดน มีจุดกึ่งกลางสนาม (Center Mark)
และวงกลมรัศมี 3 เมตรล้อมรอบจุดนี้ไว้
เขตโทษ (The Penalty Area)
เขตโทษทาไว้ตรงส่วนท้ายของสนามแต่ละด้านดั้งนี้
ให้วัดจากด่านนอกเสาประตูทั้งสองข้างออกไปตามแนวเส้นประ
ตูข้างละ 6 เมตร
เขียนส่วนโค้งซึ้งมีรัศมี 6 เมตร เข้าไปใน
พื้นที่สนามแข่งขันจนปลายของส่วนโค้งสัมผัสกับเส้นขนานที่ตั้ง
ฉากกับเส้นประตู ระหว่างเสาประตูทั้งสองข้างมีความยาว 3.16
เมตร
พื้นที่ภายในเขตเส้นเหล่านี้และเส้นประตูล้อมรอบเรียกว่า
เขตโทษ
จุดโทษ (Penalty Mark)
จากจุดกึ่งกลางประตูแต่ละข้าง
ให้วัดเป็นแนวตั้งฉากเข้าไปในสนามแข่งขันเป็นระยะทาง 6
เมตร และให้ทาจุดแสดงไว้ จุดนี้เรียกว่า จุดโทษ
จุดโทษที่สอง (Second Penalty Mark)
จากจุดกึ่งกลางประตูแต่ละข้าง
ให้วัดเป็นแนวตั้งฉากเข้าไปในสนามแข่งขันเป็นระยะทาง 10
เมตร และให้ทาจุดแสดงไว้ จุดนี้เรียกว่า จุดโทษที่สอง
12
เขตมุม (The Corner Area)
จากมุมสนามแต่ละด้านให้เขียน 1 ใน 4
ของส่วนโค้งไว้ด้านในสนามแข่งขัน โดยมีรัศมี 25 เซนติเมตร
เขตเปลี่ยนตัว (Substitution Zone)
เขตเปลี่ยนตัวอยู่บริเวณเส้นข้างของสนามแข่งขันตรงด้านหน้า
ของทีมที่จัดที่นั่งผู้เล่นสารองไว้ เขตเปลี่ยนตัวมีความยาว 5
เมตร
จะสังเกตได้จากบนเส้นข้างจะมีเส้นกว้าง 8 เซนติเมตร ยาว 80
เซนติเมตร (วัดเข้าด้านในสนาม 40 เซนติเมตร
และวัดออกจากด้านนอกสนาม 40 เซนติเมตร)
ผู้เล่นจะเปลี่ยนเข้าและออกต้องอยู่ภายในเขตเปลี่ยนตัว
ระหว่างเขตเปลี่ยนตัวทั้งสองข้างตรงเส้นแบ่งแดนและเส้นข้างจ
ะมีช่องว่างระยะ 5 เมตร ตรงหน้าโต๊ะผู้รักษาเวลา
ประตู (Goals)
ประตูต้องตั้งอยู่บนกึ่งกลางของเส้นประตูแต่ละด้านประกอบด้วย
เสาประตูสองเสา มีระยะห่างกัน 3 เมตร
และเชื่อมต่อกันด้วยคานตามแนวนอน
ซึ่งส่วนล่างของคานจะอยู่สูงจากพื้น 2 เมตร
13
เสาประตูและคานประตูทั้งสองด้านจะมีความกว้างและความหนา
8 เซนติเมตร อาจติดตาข่ายไว้ที่ประตูและคานประตูด้านหลัง
ตาข่ายประตูต้องทาด้วยป่าน ปอ หรือ ไนล่อน
จึงอนุญาตให้ใช้ได้
เส้นประตูมีความกว้างเท่ากับเสาประตูและคานประตู
ที่เสาและคานด้านหลังประตูมีลักษณะเป็นรูปโค้ง
วัดจากริมด้านบนของเสาประตู
ไปสู่ด้านนอกของสนามมีความลึกไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร
วัดจากริมด้านล่างของเสาประตูไปด้านนอกของสนามมีความลึก
ไม่น้อยกว่า 100 เซนติเมตร
ความปลอดภัย (Safety)
ประตูอาจเป็นแบบที่แยกประกอบและโยกย้ายได้
แต่จะต้องติดตั้งไว้กับพื้นสนามอย่างมั่นคงและปลอดภัย
พื้นผิวของสนามแข่งขัน (Surface of the Pitch)
พื้นผิวสนามจะต้องเรียบ
อาจทาด้วยไม้หรือวัสดุสังเคราะห์และต้องหลีกเลี่ยงพื้นผิวสนาม
ที่ทาด้วยคอนกรีต หรือยางมะตอย ข้อตกลง (Decisions)
1. ในกรณีเส้นประตูยาวระหว่าง 15 – 16 เมตร
รัศมีที่ใช้เขียนส่วนโค้งเขตโทษยาว 4 เมตร
ในกรณีนี้จุดโทษจะไม่อยู่บนเส้นเขตโทษ แต่ยังคงเป็นระยะ 6
เมตร
โดยวัดจากกึ่งกลางเสาประตูและมีระยะห่างเท่ากันทั้งสองข้าง
14
2. การใช้สนามพื้นหญ้าตามธรรมชาติ สนามหญ้าเทียม
หรือพื้นดิน อนุญาตให้ใช้ในการแข่งขันระดันลีก
แต่ไม่อนุญาตให้ใช้ในการแข่งขันระหว่างชาติ
3.
เครื่องหมายจะถูกเขียนไว้ด้านนอกของสนามแข่งขันวัดออกมา
5 เมตร
เป็นมุมฉากกับเสาประตูเพื่อทาให้แน่ใจว่าผู้เล่นอยู่ห่างจากจุดเต
ะจากมุม 5 เมตร ความกว้างของเครื่องหมาย 8 เซนติเมตร
4. ทั้งสองทีมอยู่ด้านหลังเส้นข้าง
ถัดจากช่องว่างด้านหน้าโต๊ะเจ้าหน้าที่
15
กติกาข้อ 2. ลูกบอล
ลูกบอล (The Ball) คุณลักษณะและหน่วยการวัด (Qualities
and Measurements)
ลูกบอลต้อง
1. เป็นทรงกลม
2. ทาด้วยหนัง หรือวัสดุอื่นๆที่เหมาะสม
3. เส้นรอบวงไม่น้อยกว่า 62 เซนติเมตร และไม่เกินกว่า 64
เซนติเมตร
4. ขณะเริ่มการแข่งขันลูกบอลต้องมีน้าหนักไม่น้อยกว่า 400
กรัม และไม่มากกว่า 440 กรัม
5. ความดันลมของลูกบอล 0.4 – 0.6 ระดับบรรยากาศ (400 –
600 กรัมต่อตารางเซนติเมตร) ที่ระดับน้าทะเล
การเปลี่ยนลูกบอลที่ชารุด (Replacement of a
Defective Ball)
ถ้าลูกบอลแตกหรือชารุดในระหว่างการแข่งขันจะดาเนินการดัง
นี้
1. การแข่งขันต้องหยุดลง
2. เริ่มเล่นใหม่โดยการปล่อยลูกบอล (Dropped Ball) ณ
ที่ลูกบอลตก (ชารุด)
16
ถ้าลูกบอลเกิดแตกหรือชารุดในขณะบอลอยู่นอกการเล่น
ให้เริ่มเล่นใหม่โดยการเตะเริ่มเล่นการเล่นลูกจากประตู
การเตะจากมุม การเตะโทษ ณ จุดโทษ หรือการเตะเข้าเล่น
การเริ่มเล่นให้เป็นไปตามกฎกติกา ในขณะการแข่งขัน
การเปลี่ยนลูกบอลจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน
ข้อตกลง (Decisions)
1.
ในการแข่งขันระหว่างชาติไม่อนุญาตให้ใช้ลูกบอลที่ทาด้วยสัก
หลาด
2. การทดสอบลูกบอลเมื่อปล่อยจากความสูง 2 เมตร
โดยวัดจากการกระดอนครั้งแรก
ต้องกระดอนจากพื้นไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร และไม่สูงกว่า
65 เซนติเมตร
3. ในการแข่งขัน
ลูกบอลที่ใช้ต้องแสดงให้เห็นถึงความต้องการทางเทคนิคอย่าง
น้อยที่สุด ตามที่ระบุไว้ในกติกาข้อที่ 2
เท่านั้นจึงจะอนุญาตให้ใช้ได้
4. ในการแข่งขันของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ
และการแข่งขันภายในความรับผิดชอบของสหพันธ์ฟุตบอล
ต้องมีสัญลักษณ์ 3 อย่าง ดังนี้
1) ได้รับการรับรองจากสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FIFA
APPROVED)
17
2) ได้รับการตรวจสอบจากสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ
(FIFA INSPECTED)
3) ลูกบอลมาตรฐานใช้แข่งขันระหว่างชาติ
(INTERNATIONAL MATCHBALL STANDARDS)
สัญลักษณ์ที่ปรากฏอยู่ที่ลูกบอลคือ
-
สัญลักษณ์ที่ระบุว่าลูกบอลดังกล่าวได้รับการทดสอบอย่างเป็นท
างการแล้ว สาหรับการแข่งขันของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ
และการแข่งขันภายในความรับผิดชอบดูแลของสหพันธ์ต่างๆ
ลูกบอลที่ใช้ต้องแสดงถึงความต้องการทางเทคนิคอย่างน้อยที่สุ
ดตามที่ระบุไว้ในกติกาข้อ 2 เท่านั้นที่อนุญาตให้ใช้ได้
การยอมรับลูกบอลที่ใช้ดังกล่าวข้างต้น
จะอยู่ภายใต้เงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งที่แสดงให้เห็นบนลูกบอลว่าเ
ป็นไปตามความต้องการทางเทคนิค
ดังกล่าว
สมาคมฟุตบอลแห่งชาติสามารถออกกฎบังคับให้ใช้ลูกบอลที่มีสั
ญลักษณ์อย่างใด อย่างหนึ่งจากเงื่อนไข 3 ประการ
สาหรับการแข่งขันภายในประเทศหรือในการแข่งขันอื่นๆทุกรา
ยการ ลูกบอลจะต้องเป็นไปตามกติกาข้อ2
ในกรณีที่สมาคมฟุตบอลแห่งชาติ
บังคับใช้ลูกบอลที่มีสัญลักษณ์ที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์ฟุต
บอลนานาชาติ(FIFA APPROVED)
18
และได้รับการตรวจสอบจากสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ(FIFA
INSPECTED)
แต่สมาคมฟุตบอลแห่งชาติสามารถอนุญาตให้ใช้ลูกบอลมาตรฐ
านแข่งขันระหว่างชาติ(INTERNATIONAL MATCHBALL
STANDARDS) ก็ได้
ในการแข่งขันของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ
และในรายการแข่งขันที่อยู่ภายในการดูแลของสมาพันธ์และสม
าคมฟุตบอลแห่งชาติไม่อนุญาตให้ทาการโฆษณาสินค้าบนลูกบ
อล ยกเว้นสัญลักษณ์ของการแข่งขัน และผู้จัดตั้งการแข่งขัน
หรือสัญลักษณ์ทางการค้าที่ได้รับอนุญาตจากกฎเกณฑ์ของการ
แข่งขัน
และอาจจะจากัดขนาดและจานวนของเครื่องหมายเหล่านั้น
กติกาข้อ 3. จานวนผู้เล่น
จานวนผู้เล่น (THE NUMBER OF PLAYERS) ผู้เล่น
(Players)
ในการแข่งขันจะมีผู้เล่นสองทีม
แต่ละทีมต้องมีผู้เล่นในสนามไม่เกิน 5 คน
และต้องมีผู้เล่นคนหนึ่งเป็นผู้รักษาประตู
ขั้นตอนการเปลี่ยนตัว (Substitution Procedure)
19
1.
การเปลี่ยนตัวจะเปลี่ยนเมื่อใดก็ได้ในขณะแข่งขันภายใต้ระเบีย
บของการแข่งขันอย่างเป็นทางการที่สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ
สมาพันธ์ฟุตบอล หรือสมาคมฟุตบอลแห่งชาติกาหนดไว้
2. อนุญาตให้มีผู้เล่นสารองไม่เกิน 7 คน
3.
การเปลี่ยนตัวผู้เล่นในระหว่างการแข่งขันไม่จากัดจานวนสามา
รถเปลี่ยนตัวได้ตลอดเวลา
ผู้เล่นที่ถูกเปลี่ยนออกสามารถเปลี่ยนกลับเข้าไปเล่นได้อีก
โดยการเปลี่ยนตัวกับผู้เล่นที่เล่นในสนาม
4.
การเปลี่ยนตัวออกและเข้าสามารถทาได้ตลอดเวลาในขณะลูกบ
อลอยู่ในการเล่น หรือลูกบอลอยู่นอกการเล่น
แต่ต้องกระทาตามเงื่อนไข
ผู้เล่นที่ออกจากสนามต้องออกในเขตเปลี่ยนตัวของตนเองเท่านั้
น ผู้เล่นที่เปลี่ยนตัวจะต้องเปลี่ยนตัวในเขตของตนเอง
แต่ต้องให้ผู้เล่นในสนามที่ถูกเปลี่ยนตัวออกได้ผ่านเส้นข้างออก
จากสนามโดยสมบูรณ์ก่อน
การเปลี่ยนตัวอยู่ในอานาจและดุลพินิจของผู้ตัดสินเท่านั้น
ว่าจะให้เข้าเล่นได้หรือไม่
การเปลี่ยนตัวจะถือว่าสมบูรณ์เมื่อผู้ที่เปลี่ยนตัวได้เข้าสนามและ
ถือว่าเป็นผู้เล่นทันที
ส่วนผู้ที่เปลี่ยนตัวออกจะถือว่าเป็นผู้เล่นสารองผู้รักษาประตูสาม
ารถเปลี่ยนตาแหน่งกับผู้เล่นคนอื่นได้
20
การกระทาผิดและการลงโทษ (Infringements/Sanction)
ถ้าในขณะเปลี่ยนตัว
ผู้เล่นสารองได้เข้าไปในสนามก่อนที่ผู้เล่นในสนามจะออกนอก
สนามโดยสมบูรณ์
1. หยุดการเล่น
2. ผู้เล่นที่จะออกต้องให้ออกจากสนาม
3. ผู้เล่นสารองที่เข้ามาต้องถูกคาดโทษด้วยใบเหลือง
4. การเริ่มเล่นใหม่ ให้ฝ่ายตรงข้ามเตะโทษโดยอ้อม ณ
จุดที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นได้หยุดลง อย่างไรก็ตาม
ถ้าลูกบอลอยู่ในเขตโทษ
การเตะโทษโดยอ้อมจะกระทาจากเส้นเขตโทษที่จุดใกล้ตาแหน่
งของลูกบอลมากที่สุด ในขณะที่การเล่นได้หยุดลง
ถ้าในระหว่างการเปลี่ยนตัว
ผู้เล่นสารองที่เปลี่ยนออกได้เปลี่ยนตัวออกนอกเขตเปลี่ยนตัว
1. หยุดการเล่น
2. ผู้เล่นที่กระทาผิดต้องถูกคาดโทษด้วยใบเหลือง
3. การเริ่มเล่นใหม่ ให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม ณ
จุดที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นได้หยุดลง อย่างไรก็ตาม
ถ้าลูกบอลอยู่ในเขตโทษ
การเตะโทษโดยอ้อมจะกระทาจากเส้นเขตโทษที่จุดใกล้ตาแหน่
งของลูกบอลมากที่สุด ในขณะที่การเล่นได้หยุดลง
21
ข้อตกลง (Decisions)
1. การเริ่มเล่นแต่ละทีมต้องมีผู้เล่น 5 คน
2. ถ้าในกรณีผู้เล่นทีมหนึ่งถูกไล่ออกจากการแข่งขัน
และเหลือผู้เล่นน้อยกว่า
3. คน(รวมผู้รักษาประตู)การแข่งขันต้องถูกยกเลิก
กติกาข้อ 4. อุปกรณ์ของผู้เล่น
ความปลอดภัย (Safety)
ผู้เล่นต้องไม่ใช้อุปกรณ์หรือสวมใส่สิ่งใดที่เป็นอันตรายต่อตนเอ
ง และผู้เล่นอื่น รวมถึงเครื่องประดับต่างๆทุกชนิด
อุปกรณ์เบื้องต้น (Basic Equipment)
ข้อบังคับเบื้องต้นเกี่ยวกับอุปกรณ์ของผู้เล่น ประกอบด้วย
1. เสื้อยืดหรือเสื้อเชิ้ต
2. กางเกงขาสั้น (ถ้าสวมกางเกงปรับอุณหภูมิ
สีของกางเกงนั้นจะต้องเป็นสีเดียวกันกับสีหลักของกางเกง
3. ถุงเท้ายาว
4. สนับแข้ง
5. รองเท้า รองเท้าที่อนุญาตให้ใช้ได้
ต้องเป็นรองเท้าผ้าใบหรือรองเท้าแบบหนังนิ่ม
22
หรือรองเท้าออกกาลังกายที่พื้นรองเท้าทาด้วยยางหรือวัสดุที่คล้
ายคลึงกัน การสวมรองเท้าเป็นข้อบังคับในการแข่งขัน
เสื้อยืดหรือเสื้อเชิ้ต (Jersey of Shirt)
1. หมายเลข 1 – 15 จะอยู่ด้านหลังของเสื้อ
2. สีของหมายเลขจะเห็นชัดเจนและแตกต่างจากสีเสื้อ
สาหรับการแข่งขันระหว่างชาติ
จะหมายเลขขนาดเล็กอยู่ด้านหน้าเสื้อด้วย
สนับแข้ง (Shinguards)
1. ต้องอยู่ภายถุงเท้ายาวทั้งสองข้าง
2. ทาจากวัสดุที่เหมาะสม (ยาง พลาสติก โพลียูรีเทน หรือ
วัสดุที่คล้ายคลึงกัน)
3. ต้องเหมาะสมในการป้องกัน
ผู้รักษาประตู(Goalkeepers)
1. อนุญาตให้ผู้รักษาประตูสวมใส่กางเกงขายาวได้
2.
ผู้รักษาประตูแต่ละทีมต้องสวมชุดให้มีสีแตกต่างจากผู้เล่นคนอื่น
และผู้ตัดสิน ถ้าผู้เล่นเปลี่ยนตัวเป็นผู้รักษาประตู
ผู้เล่นที่เป็นผู้รักษาประตูต้องสวมเสื้อผู้รักษาประตูที่มีหมายเลขด้
านหลังของตนเองอนุญาต
การกระทาผิด การลงโทษ (Infringements/Sanctions)
23
สาหรับการกระทาผิดใดๆของกติกานี้
ผู้เล่นที่กระทาผิด
ผู้ตัดสินจะให้ผู้เล่นออกจากสนามแข่งขันเพื่อแก้ไขอุปกรณ์ที่ขา
ดหายไป
ผู้เล่นจะกลับเข้ามาเล่นได้อีกเมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่น
และต้องแจ้งให้ผู้ตัดสินทราบ
เพื่อตรวจสอบว่าอุปกรณ์ของผู้เล่นนั้นแก้ไขถูกต้อง
กติกาข้อ 5. ผู้ตัดสิน
อานาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน (The Authority of the
Referee)
การแข่งขันแต่ละครั้งจะถูกควบคุมโดยผู้ตัดสิน
ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้มีอานาจและปฏิบัติหน้าที่ตามที่กติกาแข่ง
ขันกาหนดไว้นับตั้งแต่ได้ก้าวเข้าสู่สถานที่ตั้งของสนามแข่งขัน
และจะสิ้นสุดเมื่อได้ออกจากสนามที่ตั้งนั้นไป
อานาจและหน้าที่ (Powers and duties) ผู้ตัดสินต้อง
1. ปฏิบัติตามกติกาการแข่งขัน
2.
อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปเมื่อทีมที่ถูกกระทาผิดจะเกิดการ
ได้เปรียบจากการให้ประโยชน์ (Advantage)
24
ถ้าการคาดคะเนในการได้เปรียบนั้นไม่เป็นไปตามที่คาดไว้ในข
ณะนั้น
ก็จะลงโทษตามความผิดที่เกิดขึ้นตั้งแต่ครั้งแรกนั้นได้
3. ทาการบันทีกรายงานการแข่งขัน
ซึ่งรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมระเบียบวินัยทุกอย่างที่กระ
ทากับผู้เล่นหรือเจ้าหน้าที่ทีมและเหตุการณ์อื่นๆ
ทุกกรณีที่เกิดขึ้นก่อนการแข่งขัน ระหว่างการแข่งขัน
หรือภายหลังการแข่งขัน
4. ทาหน้าที่เป็นผู้รักษาเวลาในกรณีที่ไม่มีผู้รักษาเวลา
5. หยุดการเล่น หยุดการเล่นชั่วคราว
หรือยุติการแข่งขันในกรณีที่มีการกระทาผิดกติกาการแข่งขัน
หรือเมื่อเห็นว่ามีเหตุจาเป็นต่างๆ เช่น
การรบกวนการแข่งขันจากภายนอกสนาม
6. สามารถคาดโทษ และให้ออก ถ้าผู้เล่นกระทาผิด
7.
แน่ใจว่าไม่มีบุคคลอื่นที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้าไปในสนามการแข่ง
ขัน
8. หยุดการเล่นเมื่อเห็นว่าผู้เล่นได้รับบาดเจ็บอย่างร้ายเเรง
(Seriously Injured)และเคลื่อนย้ายผู้เล่นออกจากสนามแข่งขัน
25
9.
อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปจนกว่าลูกบอลจะอยู่นอกการเล่
น ถ้าเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย
10.
พิจารณาลูกบอลที่ใช้ในการแข่งขันให้เป็นไปตามกติกาข้อ 2
การพิจารณาตัดสินใจของผู้ตัดสิน (Decisions the Referee)
การพิจารณาตัดสินใจของผู้ตัดสนที่เกี่ยวข้องกับสภาพความเป็
นจริงที่เกิดขึ้นในการแข่งขันถือเป็นข้อยุติ
ข้อตกลง (Decisions)
1. ถ้าผู้ตัดสินและผู้ตัดสินที่2
แสดงสัญญาณการกระทาผิดพร้อมกันและเป็นการขัดแย้งกัน
ซึ่งทาให้ฝ่ายหนึ่งได้เปรียบจะต้องทาตามการตัดสินใจของผู้ตัด
สิน
2. ผู้ตัดสินและผู้ตัดสินที่2
สามารถคาดโทษและให้อกแต่ในกรณีที่เขาเกิดความขัดแย้งจะ
ต้องทาตามการตัดสินใจของผู้ตัดสิน
กติกาข้อ 6. ผู้ตัดสินที่ 2
หน้าที่ (Duties)
26
ผู้ตัดสินที่2
ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ด้านตรงข้ามของสนามแข่งขัน
กับผู้ตัดสิน เขาได้รับอนุญาตให้ใช้นกหวีดได้
ผู้ตัดสินที่2
จะช่วยเหลือผู้ตัดสินในการควบคุมการแข่งขันให้เป็นไปตามกติ
กาการแข่งขัน ผู้ตัดสินที่2
1.
มีอานาจในการสั่งหยุดการเล่นเมื่อมีการกระทาผิดกติกาการแข่
งขัน
2. จะต้องแน่ใจว่าการเปลี่ยนตัวผู้เล่นปฏิบัติอย่างถูกต้อง
ในกรณีที่ผู้ตัดสินที่2 ปฏิบัติตนหรือประพฤติตนไม่เหมาะสม
ผู้ตัดสินสามารถเปลี่ยนผู้ตัดสิน ที่2
ออกจากการปฏิบัติหน้าที่และให้ผู้อื่นมาปฏิบัติหน้าที่แทน
และเขียนรายงานเสนอต่อผู้มีอานาจหน้าที่รับผิดชอบและพิจาร
ณาต่อไป
ข้อตกลง (Decisions)
ในการแข่งขันระหว่างชาติ ต้องมีผู้ตัดสินที่2
กติกาข้อ 7. ผู้รักษาเวลาและผู้ตัดสินที่ 3
หน้าที่ (Duties)
27
ผู้รักษาเวลาและผู้ตัดสินที่3
ต้องได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่นั่งอยู่ด้านนอกสนามที่เส้น
แบ่งแดนด้านเดียวกับเขตเปลี่ยนตัว
ผู้รักษาเวลาและผู้ตัดสินที่3 จะใช้นาฬิกาจับเวลาที่เหมาะสม
และจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ที่แสดงให้เห็นการกระทาผิดกติการวม
ซึ่งทางสมาคมและสโมสรที่เป็นเจ้าของสนามจัดเตรียมไว้ให้ก่อ
นเริ่มการแข่งขัน
ผู้รักษาเวลา (The Timekeeper)
1.
ต้องแน่ใจว่าเวลาของการแข่งขันเป็นไปตามข้อกาหนดของกติ
กาข้อ8 โดยปฏิบัติดังนี้
เริ่มจับเวลาของตนเองหลังจากการเตะเริ่มเล่น
หยุดเวลาเมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่น
เริ่มจับเวลาภายหลังการเตะเข้าเล่น การเล่นลูกจากประตู
การเตะจากมุม การเตะโทษ ณ จุดโทษ
หรือการเตะโทษจุดโทษที่2 การขอเวลานอก
หรือการปล่อยลูกบอล
2. ควบคุมการขอเวลานอก 1 นาที
3. ควบคุมระยะเวลาของการลงโทษ 2 นาที
เมื่อผู้เล่นถูกไล่ออก
4.
เป็นผู้แจ้งเมื่อหมดเวลาการแข่งขันในครึ่งเวลาแรกครึ่งเวลาหลัง
28
เมื่อหมดเวลาในช่วงการต่อเวลาพิเศษ
และหมดเวลาการขอเวลานอกโดยการใช้สัญญาณนกหวีดหรือเ
สียงสัญญาณอื่นๆ
ที่ชัดเจนและแตกต่างจากเสียงสัญญาณของผู้ตัดสิน
5. เป็นผู้บันทึกการขอเวลานอก
และการรักษาเวลานอกของแต่ละทีม
ต้องแจ้งให้ผู้ตัดสินและทีมที่เข้าแข่งขันทราบข้อเท็จจริง
การอนุญาตการขดเวลานอกเมื่อผู้ฝึกสอนทีมใดทีมหนึ่งต้องการ
ร้องขอ
6. เป็นผู้บันทึกการกระทาผิดกติการวม 5
ครั้งแรกของแต่ละทีมในแต่ละครึ่งเวลา
ซึ่งมีการจดบันทึกโดยแจ้งสัญญาณเมื่อมีการกระทาผิดครั้งที่5
ให้ผู้ตัดสินและแต่ละทีมทราบ
ผู้ตัดสินที่3 (The Third Referee)
ผู้ตัดสินที่3 จะเป็นผู้ช่วยในการรักษาเวลา
1. เป็นผู้บันทึกการกระทาผิดกติการวม 5
ครั้งแรกของแต่ละทีมในแต่ละครึ่งเวลาของการแข่งขัน
ซึ่งมีการจดบันทึกโดยผู้ตัดสิน
และให้สัญญาณเมื่อมีการกระทาผิดครั้งที่5
ให้แต่ละทีมทราบ
2. เป็นผู้บันทึกเกี่ยวกับการหยุดการแข่งขัน
และเหตุผลของการหยุดการแข่งขัน
29
3. เป็นผู้บันทึกหมายเลขผู้เล่นที่ทาประตูได้
4. เป็นผู้บันทึกหมายเลขผู้เล่นที่ถูกคาดโทษ หรือไล่ออก
5. เป็นผู้บันทึกข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขัน
ในกรณีที่มีผู้รักษาเวลาและผู้ตัดสินที่3
ปฏิบัติตนหรือประพฤติตนไม่เหมาะสม
ผู้ตัดสินสามารถเปลี่ยนออกจากการปฏิบัติหน้าที่และให้ผู้อื่นมา
ปฏิบัติหน้าที่แทน
และเขียนรายงานเสนอต่อผู้มีอานาจหน้าที่รับผิดชอบพิจารณา
ต่อไป ในกรณีที่ผู้ตัดสินมีการบาดเจ็บ ผู้ตัดสินที่3
อาจเข้าไปปฏิบัติหน้าที่แทนผู้ตัดสินหรือผู้ตัดสิน ที่2ได้
ข้อตกลง (Decisions)
1. ในการแข่งขันระหว่างชาติ
ต้องมีผู้รักษาเวลาและผู้ตัดสินที่3
2. ในการแข่งขันระหว่างชาติ
นาฬิกาจับเวลาจะต้องใช้ร่วมกับอุปกรณ์ที่จาเป็นอื่นๆ
(จับเวลาได้เที่ยงตรงมีกลไกการจับเวลา 2
นาทีของการกระทาผิดสาหรับผู้เล่น 4 คน
ในเวลาเดียวกันได้และมีเครื่องสัญญาณแสดงการกระทาผิดรวม
ของแต่ละทีมในแต่ละครึ่งเวลา
30
กติกาข้อ 8. ระยะเวลาการแข่งขัน
ช่วงเวลาของการเล่น (Periods of Play)
การแข่งขันแบ่งระยะเวลาออกเป็น 2 ครึ่ง ครึ่งละ 20
นาทีเท่ากัน การรักษาเวลาเป็นหน้าที่ของผู้รักษาเวลา
ซึ่งมีหน้าที่ตามที่ได้กาหนดไว้ในกติกาข้อ7
ระยะเวลาของการแข่งขันแต่ละครึ่งอาจมีการเพิ่มเวลาเพื่อการเ
ตะโทษ ณ จุดโทษ
เวลานอก (Time-Out)
ทั้งสองทีมมีสิทธิ์ขอเวลานอก เป็นระยะเวลา 1นาที
ได้ในแต่ละครึ่งเวลา ภายใต้เงื่อนไขต่อไปนี้
1. ผู้ฝึกสอนเท่านั้นที่มีสิทธิ์ในการขอเวลานอก
1นาทีจากผู้รักษาเวลา
2. การขอเวลานอกสามารถกระทาได้ตลอดเวลา
แต่จะให้เวลานอกเมื่อทีมได้ครอบครองบอล(ส่งบอลเข้าเล่น)
3.
ผู้รักษาเวลาต้องแสดงการอนุญาตสาหรับการขอเวลานอกของที
มเมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่น
31
โดยการใช้สัญญาณนกหวีดหรือเสียงสัญญาณอื่นๆที่แตกต่างจ
ากผู้ตัดสินใช้อยู่
4. เมื่ออนุญาตให้เป็นเวลานอก
ผู้เล่นทุกคนต้องรวมกันอยู่ในสนามแข่ง
ถ้าต้องการได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ทีม
จะกระทาได้เฉพาะที่เส้นข้างบริเวณหน้าที่นั่งสารองของตนเอง
ผู้เล่นทุกคนต้องไม่ออกนอกสนามแข่งขัน
เช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่ที่ให้คาแนะนา
จะต้องไม่เข้าไปในสนามแข่งขัน
5. ถ้าทีมไม่ใช่สิทธิ์การขอเวลานอกในครึ่งเวลาแรก
จะไม่สามารถนาไปทดแทนกันได้ในครึ่งเวลาหลัง
การพักครึ่งเวลา (Half-time Interval) ต้องไม่เกิน 15 นาที
ข้อตกลง (Decisions)
1. ถ้าไม่มีผู้รักษาเวลา ผู้ฝึกสอนต้องขอเวลานอกกับผู้ตัดสิน
2.
ถ้าระเบียบการแข่งขันระบุให้มีการต่อเวลาพิเศษในกรณีที่การแ
ข่งขันในเวลาปกติ ถ้าผลการแข่งขันจบลงด้วยการเสมอกัน
การแข่งขันในระหว่างการต่อเวลาพิเศษของการแข่งขันจะไม่มี
การขอเวลานอก
32
กติกาข้อ 9.
การเริ่มการแข่งขันและการเริ่มเล่นใหม่
การเตรียมการเบื้องต้น (Preliminaries)
การเลือกแดนกระทาโดยการเสี่ยงด้วยเหรียญ
ทีมที่ชนะการเสี่ยงจะเป็นผู้เลือกประตูในการรุกในครึ่งเวลาแรก
ของการแข่งขันอีกทีมจะเป็นฝ่ายเตะเริ่มเล่น
เพื่อเริ่มต้นการแข่งขัน
ทีมที่ชนะการเสี่ยงจะทาการเตะเริ่มเล่นในครึ่งเวลาหลังของกาแ
ข่งขัน
ทั้งสองจะเปลี่ยนแดนกันในครึ่งเวลาหลังชองกางแข่งขันและทา
การรุกประตูฝ่ายตรงข้าม
การเตะเริ่มเล่น (Kick Off)
การเตะเริ่มเล่น เป็นการเริ่มเล่นหรือเป็นการเริ่มเล่นใหม่
1. เมื่อเริ่มต้นการเเข่งขัน
2. หลังจากทาประตูได้
3. เมื่อเริ่มต้นการเเข่งขันครึ่งเวลาหลัง
4.
เมื่อเริ่มต้นการเเข่งขันแต่ละครึ่งของการต่อเวลาพิเศษโดยไม่มีก
ารพัก สามารถทาประตูได้โดยตรงจากการเตะเริ่มเล่น
ขั้นตอนในการดาเนินการ (Procedure)
33
1. ผู้เล่นทุกคนต้องอยู่ในแดนของตนเอง
2.
ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามกับทีมที่กาลังเตะเริ่มเล่นต้องอยู่ห่างจากลูกบอ
ลไม่น้อยกว่า 3 เมตร จนกระทั่งลูกบอลอยู่ในการเล่น
3. ลูกบอลต้องวางนิ่งอยู่บนจุดกึ่งกลางสนาม
4. ผู้ตัดสินให้สัญญาณ
5. ลูกบอลอยู่ในการเล่นเมื่อถูกเตะและเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
6.
ผู้เตะไม่สามารถเล่นลูกบอลเป็นครั้งที่สองจนกว่าลูกบอลจะถูกสั
มผัสโดยผู้เล่นคนอื่นก่อน
ภายหลังที่ทีมหนึ่งทาประตูได้อีกทีมหนึ่งจะเป็นฝ่ายได้เตะเริ่มเล่
น
การกระทาผิดและการลงโทษ ( Infringements /
Sanction )
ถ้าผู้เตะได้สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สองก่อนที่ลูกจะถูกสัมผัสโดย
ผู้เล่นคนอื่น การเตะโทษโดยอ้อม
จะให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม ณ
จุดที่การกระทาผิดกติกาเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม
ถ้าการกระทาผิดกติกาเกิดขึ้นภายในบริเวณเขตโทษของผู้เล่น
ฝ่ายตรงข้าม การเตะโทษโดยอ้อมจะกระทาจากเส้นเขตโทษ ณ
34
จุดที่ใกล้ที่สุดกับที่การกระทาผิดกติกาเกิดขึ้นมากที่สุด
การกระทาผิดอื่นๆของการเตะเริ่มเล่น ให้ทาการเตะเริ่มเล่นใหม่
การปล่อยลูกบอล ( Dropped Ball )
การปล่อยลูกบอลเป็นวิธีการหนึ่งของการเริ่มเล่นใหม่
หลังจากการเล่นได้หยุดลงชั่วคราวขณะที่ลูกบอลอยู่ในการเล่น
และขณะที่หยุดเล่นในเวลานั้น
หรือด้วยเหตุผลอื่นที่ไม่ได้ระบุไว้ในกติกาการแข่งขัน
ลูกบอลยังไม่ได้ผ่านออกเส้นข้างหรือเส้นประตู
ขั้นตอนในการดาเนินการ ( Procedure )
ผู้ตัดสินเป็นผู้ปล่อยลูกบอล ณ
จุดที่ซึ่งลูกบอลอยู่ในขณะที่การเล่นได้หยุดลง
ยกเว้นเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นบริเวณเขตโทษ
ในกรณีนี้ผู้ตัดสินจะปล่อยลูกบอลจากเขตโทษ ณ
จุดใกล้กันกับลูกบอลมากที่สุดในขณะที่การเล่นได้หยุดลง
การเริ่มเล่นใหม่จะสมบูรณ์เมื่อลูกบอลได้สัมผัสพื้นสนาม
การกระทาผิดและการลงโทษ ( Infringements /
Sanctions )
การปล่อยลูกบอลอีกครั้งหนึ่ง
1.
ถ้าลูกบอลถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนหนึ่งคนใดก่อนที่ลูกบอลจะสัมผั
สสนาม
35
2.
ถ้าลูกบอลออกจากสนามการแข่งขันไปหลังจากสัมผัสพื้นสนาม
แล้ว แต่ไม่ถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนใดคนหนึ่งก่อน
กติกาข้อ 10. ลูกบอลอยู่ในและนอกการเล่น
ลูกบอลอยู่ในการเล่น ( Ball in Play )
ลูกบอลอยู่ในการเล่นอยู่ตลอดเวลา
นับจากการเล่นจนกระทั่งการแข่งขันสิ้นสุดลง รวมทั้งเมื่อ
1. ลูกบอลกระดอนจากเสาหรือคานประตูเข้ามาในสนามแข่งขัน
2. การเตะเข้าเล่นจะนาลูกบอลมาวาง ณ
จุดที่ใกล้เส้นข้างและเส้นสมมติที่ขนานกับเส้นประตู
ภายใต้ตาแหน่งเมื่อลูกบอลกระทบเพดาน
ลูกบอลอยู่นอกการเล่น ( Ball out of Play )
ลูกบอลอยู่นอกการเล่นเมื่อ
1.
ลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูหรือเส้นข้างไม่ว่าบนพื้นหรือในอ
ากาศ
2. ผู้ตัดสินสั่งหยุดการเล่น
3. ลูกบอลกระทบหลังคา
ข้อตกลง ( Decision )
36
1. การแข่งขันที่เล่นภายในสนามในร่ม
และลูกบอลได้กระทบเพดานหลังคา การเล่นจะเริ่มเล่นใหม่
โดยผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามกับผู้เล่นที่สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งสุดท้ายจ
ะได้เตะเข้าเล่น ( Kick in ) หรือเล่นลูกจากประตู ( Goal
Clearance )
2. การเตะเข้าเล่น จะนาลูกบอลมาวาง ณ
จุดที่ใกล้เส้นข้างและเส้นสมมติที่ขนานกับเส้นประตูภายใต้ตาแ
หน่งที่ลูกบอลกระทบเพดานหลังคา
กติกาข้อ 11. การนับประตู
การทาประตู ( Goal Scored )
จะถือว่าได้ประตู
เมื่อลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูระหว่างเสาประตูภายใต้คานป
ระตู ภายใต้เงื่อนไขว่า
ต้องไม่มีการทาผิดกติกาการแข่งขันเกิดขึ้นโดยทีมที่ทาประตู
ข้อยกเว้น
ผู้รักษาประตูและผู้เล่นฝ่ายลุกไม่สามารถทาประตูได้โดยตรงจา
กการใช้มือและแขน
37
ทีมชนะ ( Winning Team )
ทีมที่ทาประตูได้มากกว่าในการแข่งขันจะเป็นฝ่ายชนะ (
Winner ) ถ้าทั้งสองทีมทาประตูได้เท่ากันหรือทาประตูกันไม่ได้
การแข่งขันครั้งนี้จะถือว่า เสมอกัน ( Draw)
ระเบียบการแข่งขัน ( Competition Rules )
สาหรับการแข่งขันที่จบลงโดยผลเสมอกัน
ระเบียบการแข่งขันอาจจะกาหนดราบละเอียดซึ่งเกี่ยวข้องกับก
ารต่อเวลาพิเศษหรือการดาเนินการอื่นๆเพื่อหาทีมที่ชนะในการ
แข่งขันครั้งนั้น
กติกาข้อ 12.
การเล่นที่ผิดกติกาและเสียมารยาท
โทษโดยอ้อม ( Indirect Free Kick )
ให้ฝ่ายตรงข้ามเตะโทษโดยอ้อม
ถ้าผู้รักษาประตูกระทาผิดตามความผิดข้อหนึ่งข้อใดต่อไปนี้
1. ภายหลังจากปล่อยลูกบอลจากการครอบครอง
เขาได้รับลูกบอลคืนจากผู้เล่นฝ่ายเดียวกัน
ก่อนที่ลูกบอลจะถูกส่งผ่านเส้นแบ่งแดน
หรือได้ถูกเล่นหรือสัมผัสโดยผู้เล่นหรือสัมผัสโดยผู้เล่นฝ่ายตรง
ข้าม
38
2. สัมผัสหรือครองครองลูกบอลด้วยมือ
ภายหลังจากผู้เล่นฝ่ายเดียวกันเจตนาเตะส่งมาให้
3.
สัมผัสหรือครองครองลูกบอลด้วยมือภายหลังจากผู้เล่นฝ่ายเดียว
กันส่งมาให้โดยตรงจากการเตะเข้าเล่น
4. สัมผัสหรือครอบครองลูกบอลด้วยมือหรือเท้าเกินกว่า 4
วินาที ยกเว้นลูกบอลอยู่ในฝ่ายแดนฝั่งตรงข้ามในสนามแข่งขัน
จะให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม
ที่ซึ่งมีการกระทาผิดกตอกาเกิดขึ้น ถ้าผู้ตัดสินพิจารณาว่าผู้เล่น
1. เล่นในลักษณะที่เป็นอันตราย
2. เจตนากีดขวางการเล่นของฝ่ายตรงข้าม
เมื่อตนเองไม่ได้อยู่ในระยะที่เล่นลูกบอล
3. ป้องกันผู้รักษาประตูไม่ให้ปล่อยลูกบอลจากมือ
4. ความผิดอื่นๆที่ไม่ได้ระบุในกติกาข้อ 12
ที่ทาให้หยุดการเล่นลงเพื่อคาดโทษหรือไล่ผู้เล่น ออก
การเตะโทษโดยอ้อมจะกระทา ณ
จุดที่กระทาผิดกติกานอกจากการกระทาผิดเกิดขึ้นภายในเขตโ
ทษ ในกรณีนี้การเตะโทษจะกระทาจากเส้นเขตโทษ
ใกล้กับจุดที่กระทาผิดกติกาเกิดขึ้นมากที่สุด
การลงโทษเรื่องระเบียบวินัย ( Disciplinary Sanctions )
39
การกระทาผิดที่ต้องถูกคาดโทษ ( Cautionable offences
) ผู้เล่นต้องถูกคาดโทษและแสดงใบเหลือง
ถ้าเขากระทาผิดตามความผิดข้อหนึ่งข้อใด ต่อไปนี้
1. กระทาผิดเกี่ยวกับการประพฤติอย่างไม่มีน้าใจเป็นนักกีฬา (
Unsporting Behaviour )
2. แสดงการคัดค้านโดยคาพูด หรือกิริยาท่าทาง ( Dissent by
Word or Action )
3. กระทากติกาแข่งขันบ่อยๆ ( Persistenly Infringes the law
of the Game )
4. ชะลอการเริ่มเล่นใหม่ ( Delays the Restart of play )
5. ไม่ถอยห่างไปอยู่ในระยะที่กาหนด เมื่อมีการเตะจากมุม
การเตะเข้าเล่น การเตะโทษ หรือการเล่นลูกจากประตู
เพื่อการเริ่มเล่นใหม่
6.
เข้าไปสมทบหรือกลับเข้าไปสมทบในสนามโดยไม่ได้รับอนุญา
ตจากผู้ตัดสิน หรือกระทา ผิดกติกาการเปลี่ยนตัว
7. เจตนาออกจากสนามโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน
การกระทาผิดดังกล่าวให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามเตะโทษโดยอ้อม ณ
จุดที่มีการกระทาผิดกติกาเกิดขึ้น
ถ้าการกระทาผิดกติกาเกิดขึ้นภายในเขตโทษ การเตะโทษ
โดยอ้อมจะกระทาจาดเส้นเขตโทษ ณ
จุดที่ใกล้ที่สุดที่การกระทาผิดกติกาเกิดขึ้น
40
การคาดโทษเป็นการเพิ่มเติมโดยมีเงื่อนไขว่า
ไม่ให้มีการกระทาผิดกติการุนแรงเกิดขึ้นบ่อยครั้ง
การกระทาผิดที่ต้องถูกให้ออก ( Sending off Offences )
ผู้เล่นต้องถูกให้ออกและแสดงใบแดง
ถ้ากระทาผิดตามความผิดข้อหนึ่งข้อใดต่อไปนี้
1. กระทาผิดกติกาการเล่นอย่างรุนแรง ( Serious Foul Play )
2. ประพฤติผิดกติกาอย่างร้ายแรง ( Violent Conduct )
3. ถ่มน้าลายใส่คู่ต่อสู้และบุคคลอื่นๆ ( Spits at an Opponent
or any Other Person )
4.
ป้องกันฝ่ายตรงข้ามในการได้ประตูหรือทาให้เสียโอกาสในการ
ทาประตูได้อย่างชัดเจน โดยเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือ
(กรณีนี้ไม่รวมถึงผู้รักษาประตูที่อยู่ในเขตโทษของตนเอง)
5.
ป้องกันโอกาสในการทาประตูได้อย่างชัดเจนของฝ่ายตรงข้ามที่
กาลังเคลื่อนที่มุ่งตรงไปยังหน้าประตูของฝ่ายตนโดยการกระทา
ผิดกติกา ต้องถูกลงโทษเป็นโทษโดยตรงหรือเตะโทษ ณ
จุดโทษ
6. กระทาผิดซ้าซาก ( Uses Offensive )
ใช้วาจาเหยียดหยามหยาบคาย ( Insulting or Abusive
Language ) หรือแสดงท่าทางไม่เหมาะสม
41
7. ได้รับการคาดโทษเป็นครั้งที่สองในการแข่งขันครั้งเดียวกัน (
Receives a Second Caution in the Same Match )
ถ้าการเล่นได้หยุดลง เพราะว่าผู้เล่นถูกไล่ออกจากสนามแข่งขัน
สาหรับการกระทาผิดข้อ 6 หรือข้อ 7
โดยไม่มีการกระทาผิดที่ต้องเพิ่มเติมการลงโทษอื่นใด
ตามกติกาการเล่น
การเริ่มเล่นใหม่โดยให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมจากที่ซึ่
งการทาผิดกติกาเกิดขึ้นอย่างไรก็ตาม
ถ้าการกระทาผิดกติกาเกิดขึ้นภายในเขตโทษ
การเตะโทษโดยอ้อมจะทาการเตะจากเส้นเขตโทษที่ใกล้ที่สุดที่
การกระทาผิดกติกาเกิดขึ้น
ข้อตกลง ( Decisions )
กรณีผู้เล่นถูกให้ออก จะไม่สามารถกลับเข้ามาเล่นได้อีก
และไม่สามารถนั่งบนที่นั่งสารองได้
และผู้เล่นจะเข้าไปแทนและเล่นได้ครบทีม เมื่อครบเวลา 2
นาทีหลังให้ออก ยกเว้นมีการทาประตูได้ก่อนถึงเวลา 2 นาที
ในกรณีรี้จะปฏิบัติดังนี้ 1. ถ้าเล่นโดยมีจานวนผู้เล่น 5 : 4 คน
และทีมที่มีจานวนผู้เล่นมากกว่าทาประตูได้ ทีมที่มีผู้เล่น 4 คน
จะเพิ่มจานวนผู้เล่นให้ครบ 2. ถ้าทั้งสองทีมมีจานวนผู้เล่น 4 : 4
คนและมีการทาประตูได้ ให้คงเหลือผู้เล่นเท่าเดิม 3.
ถ้าเล่นโดยมีจานวนผู้เล่น 5 : 3คนหรือ 4 : 3
และทีมที่มีผู้เล่นจานวนมากกว่าทาประตูได้ ทีมที่มีจานวนผู้เล่น
42
3 คน จะเพิ่มจานวนผู้เล่นได้ 1 คน 4.
ถ้าทั้งสองทีมมีจานวนผู้เล่น 3 : 3 คน และมีการทาประตูได้
ให้คงเหลือจานวนผู้เล่นเท่าเดิม 5.
ถ้าทีมที่มีผู้เล่นน้อยกว่าทาประตูได้ การเล่นจะดาเนินต่อไป
โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงจานวนผู้เล่น
กติกาข้อ 13. การเตะโทษ
ประเภทของการเตะโทษ ( Type of Free Kick )
การเตะโทษมีทั้งโทษโดยตรง (Direct ) และโทษโดยอ้อม (
Indirect ) ในการเตะโทษโดยตรงและโดยอ้อม ในขณะที่เตะ
ลูกบอลต้องตั้งวางนิ่งอยู่กับที่ เมื่อมีการเตะเกิดขึ้น
ผู้เตะต้องไม่สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สอง
ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นอื่นก่อน
การเตะโทษโดยตรง ( The Direct Free Kick )
ถ้าเตะโทษโดยตรงทีเดียวเข้าประตูของฝ่ายตรงข้าจะถือว่าเป็น
ประตู
การเตะโทษโดยอ้อม ( The Indirect Free Kick )
จะเป็นประตูเมื่อลูกบอลได้ถูกสัมผัสโดยผู้เล่นอื่นๆก่อนที่จะเข้าป
ระตู
ตาแหน่งของการเตะโทษ ( Position of Free Kick )
43
1.
ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามทุกคนต้องอยู่ห่างจากลูกบอลไม่น้อยกว่า 5
เมตร จนกว่าลูกบอลอยู่ในการเล่น
2.
ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นหลังจากลูกบอลถูกสัมผัสหรือถูกเล่น
การกระทาผิดและการลงโทษ (
Infringements/Sanctions )
ถ้ามีการเตะโทษ
ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามอยู่ใกล้ลูกบอลกว่าระยะที่กาหนด ให้เตะใหม่
ถ้าหลังจากลูกบอลอยู่ในการเล่น
ผู้เล่นได้สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่ 2
ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่นให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโด
ยอ้อม ณ จุดที่กระทาผิดกติกาเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม
ถ้าการกระทาผิดนี้เกิดขึ้นภายในเขตโทษ
การเตะโทษโดยอ้อมจะทาการเตะจากเส้นเขตโทษ ณ
จุดที่ใกล้ที่สุดของการกระทาผิดเกิดขึ้น
ถ้าฝ่ายที่ได้เตะโทษใช้เวลาเกินกว่า 4 วินาที
ให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม
สัญญาณ ( Signals )
1. โทษโดยตรง
ผู้ตัดสินจะยกแขนในแนวนอนชี้ไปในทิศทางของทีมที่กระทาผิ
44
ด และนับเป็นการกระทาผิดรวม
ผู้ตัดสินจะแสดงสัญญาณชี้นิ้วลงพื้นเพื่อที่จะแจ้งให้ผู้ตัดสินที่ 3
ทราบ
2. โทษโดยอ้อม
เมื่อผู้ตัดสินให้มีการเตะโทษโดยอ้อมจะต้องแสดงสัญญาณโดย
การยกแขนชูขึ้นเหนือศีรษะ
เขาจะยังยกแขนจนกว่าการเตะจะเกิดขึ้น
และลูกบอลได้ถูกเล่นหรือสัมผัสโดยผู้เล่นอื่นก่อน
หรือลูกบอลอยู่นอกการเล่น
กติกาข้อ 14. การทาผิดกติการวม
การทาผิดกติการวม (Accumulated Fouls)
จะลงโทษด้วยโทษโดยตรงตามกติกาข้อ 12
การกระทาผิดกติการวม 5
ครั้งแรกของแต่ละทีมในแต่ละครึ่งเวลา
จะต้องจดบันทึกในสรุปผลการแข่งขัน
ตาแหน่งของการเตะโทษ ( Position of Free Kick )
สาหรับการทาผิดกติการวม 5
ครั้งแรกของแต่ละทีมในแต่ละครึ่งเวลาของการแข่งขัน
จะถูกจดบันทึกไว้
1. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามสามารถตั้งกาแพงได้
45
2. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามทั้งหมดต้องอยู่ห่างจากลูกบอลไม่น้อยกว่า
5 เมตร จนกว่าลูกบอลจะอยู่ในการเล่น
3. สามารถทาประตูได้โดยตรงจากการเตะโทษ
การทาผิดกติการวมเพิ่มเป็นครั้งที่หกของแต่ละทีม
ในแต่ละครึ่งเวลาของการแข่งขัน จะถูกบันทึกไว้
1. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามไม่สามารถตั้งกาแพงได้
2. ผู้เล่นที่เตะโทษต้องแสดงตัวอย่างชัดแจ้ง
3.
ผู้รักษาประตูต้องอยู่ภายใยเขตโทษและอยู่ห่างจากเขตบอลไม่น้
อยกว่า 5 เมตร
4. ผู้เล่นทุกคนต้องอยู่ในสนามแข่งขัน
แต่อยู่หลังเส้นสมมติที่เป็นแนวระดับเดียวกันกับลูกบอล
และขนานกับเส้นประตูและอยู่นอกเขตโทษ
ต้องอยู่ห่างจากลูกบอลไม่น้อยกว่า 5 เมตร
และไม่กีดขวางผู้ที่จะทาการเตะโทษ
ไม่มีผู้เล่นคนใดสามารถผ่านเส้นสมมติจนกว่าลูกบอลจะถูกสัมผั
ส หรือถูกเล่น
ขั้นตอนในการดาเนินการ ( สาหรับการทาผิดกติการวม 6
ครั้ง และครั้งต่อไป ) ( Procedure for the Sixth and Further
Accumulated Fouls )
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล

More Related Content

What's hot

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 

What's hot (20)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 

รายงาน ฟุตซอล

  • 1. รายงาน เรื่อง..ฟุตซอล รายวิชาพลศึกษา (พ31201) จัดทาโดย นางสาวปพิชญา ต๊ะวิไชย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เลขที่ 20 เสนอ คุณครูนิยมศิลป์ สุนทร โรงเรียนท่าวังผาพิทยาคม
  • 3. ก คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาพลศึกษา (พ31201) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู้ที่ได้จากเรื่องฟุตซอล ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้จากแหล่งก ารเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในหนังสือ และสื่อต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกีฬาฟุตซอล เช่น ประวัติความเป็นมา กฎกติกา อุปกรณ์ต่างๆ เทคนิคการเล่น รวมไปถึงเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องอีกด้วย ผู้จัดทาได้เลือก หัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ เพราะมีการเล่นฟุตซอลกันอย่างแพร่หลายในป ระเทศไทย ผู้จัดทาขอขอบคุณ คุณครูนิยมศิลป์ สุนทร ผู้ให้ความรู้ และแนวทางการศึกษา
  • 5. ค - การแข่งขันฟุตบอล 5 คน ในประเทศไทย 5 กฎกติกาฟุตซอล 6 สัญญาณของผู้ตัดสินฟุตซอล 35 วิธีการเล่นฟุตซอล 37 - วิธีการฝึกสอน 38 มารยาทของการเล่นฟุตซอล 40 การดูแลรักษาอุปกรณ์ฟุตซอล 41 แหล่งอ้างอิง 42
  • 6.
  • 7. 1  ประวัติกีฬาฟุตซอล ประวัติกีฬาฟุตซอลต่างประเทศ ต้นกาเนิดของฟุตซอล มาจากการเล่นฟุตบอลแบบข้างละ5 คน สามารถมองย้อนไปในปี 1930 ที่มอนเตวิโอ ประเทศอุรุกวัย เมื่อฮวน คาร์ลอส เซอเรียนี ได้นาฟุตบอลข้างละ 5 คนนี้ไปใช้ในในการแข่งขันที่สมาคม YMCA ได้เล่นโดยใช้พื้นที่ของสนามบาสเกตบอลในการเล่น ทั้งภายในและภายนอกโรงยิมจึงทาให้เกิดการเล่นแบบอิน ดอร์ซอคเกอร์ซึ่งได้รับความสนใจอย่างมากเพราะไม่มีปัญ หาด้านสภาพภูมิอากาศ อินดอร์ซอคเกอร์ ได้รับความนิยมและมีคนให้ความสนใจเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ส่วนในประเทศบราซิลมีการกล่าวถึงการพัฒนาฟุตซอลมา จากฟุตบอลข้างถนน กระทั่งปี ค.ศ. 1932 โรเจอร์ เกรน ได้บัญญัติกฎที่เป็นมาตรฐานในการควบคุมการแข่งขันขึ้น และได้ใช้กฎและข้อบังคับนี้ใช้จนมาถึงปัจจุบันนี้ คาว่าฟุตซอล (Futsal) คือ คาที่นานาประเทศใช้เรียกกีฬาประเภทนี้โดยมีรากศัพท์มา
  • 8. 2 จากประเทศสเปนหรือโปตุเกส ที่เรียก soccer ว่า “FUTbol” หรือ “FUTebol” และที่ภาษาฝรั่งเศสหรือสเปนเรียก Indoor ว่า ” SALa” ที่แปลว่า อินดอร์ หรือในร่ม ซึ่งรวมเป็นคาว่า “fUtSAl” แต่เป็นคาที่มีฐานจากประเทศสหรัฐอเมริกาโดยเฉพาะ “fUtSAl” (USA) คาที่เป็นชื่อของประเทศสหรัฐอเมริกา จึงมีการใช้คาว่า FUTSAL แทน ซึ่งหมายถึง การเตะบอลในสนามขนาดย่อมในร่ม กลายเป็นคาที่เรียกขานกันแทนคาว่า “Five-A-Side” หรือบอล 5 คน นอกจากนั้นการเล่นฟุตซอลกลางแจ้งเมื่อเข้าสู่ช่วงฤดูหนา ว ประเทศในบางทวีปของโลกที่ประสบกับปัญหาหิมะตกและ สภาพอากาศที่หนาวมากไม่สามารถจัดการแข่งขันกีฬากล างแจ้ง ได้ จึงถือเป็นช่วงสิ้นสุดฤดูกาลแข่งขันแต่เนื่อง จากฤดูหนาวมีระยะเวลาที่ยาวนานและสภาพอากาศกลาง แจ้งไม่เอื้ออานวยต่อการเล่นกีฬาฟุตบอล จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้คนหันมาเล่นกีฬาในร่มแทน และนี่คือที่มาของกีฬาฟุตบอลในร่ม 5 คน หรือที่เรียกว่า “ ฟุตซอล” (FUTSAL) การแข่งขันฟุตซอลมีการจัดการแข่งขันอยู่เป็นประจาในป ระเทศแถบอเมริกาใต้
  • 9. 3 ฟุตซอลจึงเป็นเกมการแข่งขันที่ชาวอเมริกาใต้นิยมเล่นกัน มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศบราซิล ซึ่งมีนักกีฬาที่มีทักษะความสามารถเฉพาะตัวในการเล่นฟุ ตบอลสูง ด้วยลีลาอันเร้าใจ และสนุกสนานจากนักเตะชื่อก้องโลกอย่าง เปเล่ ซิโก้ โซคราเตส เบเบโต้ โรนัลดินโญ่และนักเตะชื่อดังจากบราซิลคนอื่น ๆ จานวนมากต่างก็เคยเข้าแข่งขันฟุตซอลมาแล้วทั้งสิ้น ในขณะที่บราซิลมีการเล่นอย่างต่อเนื่องและเป็นการเผยแ พร่การเล่นฟุตซอลแก่ประเทศอื่น ๆ ในโลก ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FIFA) และทีมอื่น ๆ ที่มีความสามารถอันยอดเยี่ยมจากทุกมุมโลก การแข่งขันครั้งแรกมีขึ้นในปี ค.ศ. 1965 จัดการแข่งขันครั้งแรกในอเมริกาใต้ ประเทศปารากวัยได้แชมป์ทวีปอเมริกาใต้และในปี ค.ศ. 1979 ทีมชาติบราซิลมีชัยชนะเหนือทีมทั้งหมดที่เข้าร่วมการแข่ง ขันซึ่งทาให้บราซิลเริ่มโดดเด่นเหนือทีมจากกลุ่ม Pan American ในปี ค.ศ. 1980 และชนะติดต่ออีกครั้งในปี ค.ศ. 1984 อย่างไรก็ตามสหพันธ์ฟุตซอลแห่งสหรัฐอเมริกา (The U.S. Futsal Federation) ถูกก่อตั้งในปี ค.ศ. 1981 นายออสวัลโด การ์เซีย (Osvaldo Garcia) เป็นประธานคนแรกของสหพันธ์
  • 10. 4 การแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งแรกที่ถูกจัดอย่างไม่เป็นทางก ารที่กรุงเซาเปาโล ประเทศบราซิล ในปี 1982 และเจ้าภาพบราซิลได้รับชัยชนะ จากนั้นบราซิลมาได้เป็นแชมป์อีกครั้งในปี ค.ศ. 1985 ที่ประเทศสเปน แต่พลาดเป็นแชมป์ในการแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 3 อย่างไรก็ตามบราซิลกลับมากวาดแชมป์โลกอีก 2 ครั้งในปี ค.ศ. 1989 ที่ประเทศฮอลแลนด์ ซึ่งสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ(FIFA) ได้เข้ามาดูแลการแข่งขันชิงแชมป์โลกอย่างเป็นทางการค รั้งแรก ซึ่งจัดการแข่งขัน ณ ประเทศฮอลแลนด์ และประเทศบราซิลยังครองความเป็นแชมป์ รองแชมป์ได้แก่ประเทศสเปน อันดับสามประเทศรัสเซีย และในปี ค.ศ. 1992 ที่ฮ่องกง ในขณะที่ทีมฟุตซอล จากประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตาแหน่งที่ 3 ในปี ค.ศ. 1989 และที่ 2 ในปี ค.ศ. 1992 ในการแข่งขันชิงแชมป์ฟุตซอลโลกนั่นคือตาแหน่งที่สูงที่สุ ดของทีมจากประเทศสหรัฐอเมริกาในการแข่งขันที่จัดขึ้นโ ดยสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FIFA) แม้ว่าทีมจากทวีปอเมริกาใต้จะมีความยิ่งใหญ่ในช่วงที่ผ่า นมา แต่ในปี ค.ศ. 2000 การแข่งขันชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 4 ณ ประเทศกัวเตมาลา
  • 11. 5 ทีมจากประเทศสเปนสามารถล้มแชมป์เก่าสามสมัยอันดับห นึ่งของโลกได้อย่างงดงาม และครองชัยชนะต่อไปอีกในปีค.ศ. 2004 ในการแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 5 ณ ประเทศไต้หวัน แต่ต่อมาในปี ค.ศ. 2008 ทีมชาติสเปนพ่ายการดวลจุดโทษ 4-3 ประตูภายหลังจากเสมอกัน 2 ประตูต่อ 2 ให้กับทีมชาติบราซิล อย่างไรก็ตามการจัดอับดับของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FIFA) ทีมชาติสเปนยังคงครองอันดับหนึ่ง ตามด้วยทีมชาติบราซิล และอิตาลีอันดับสาม ในปัจจุบันฟุตซอล ( FUTSAL) เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมและสนใจจากทุกเพศทุกวัยเนื่อง จากเป็นเกมกีฬาที่ตื่นเต้น สนุกสนานในทุก ๆ นาทีของการแข่งขัน และสามารถเล่นได้ตลอดปี ทุกสภาพอากาศทาให้ ฟุตซอล (FUTSAL) กลายเป็นกีฬายอดนิยมสาหรับศตวรรษที่ 21 นี้ การแข่งขันฟุตบอล 5 คน ในระดับนานาชาติ  ค.ศ.1965 จัดการแข่งขันครั้งแรกในอเมริกาใต้ ประเทศปารากวัยได้แชมป์ทวีปอเมริกาใต้
  • 12. 6  ค.ศ.1979 มีการแข่งขันชิงแชมป์ทวีปอเมริกาใต้อีก 6 ครั้ง โดยนักเตะแซมบ้า ประเทศบราซิลได้แชมป์ทุกครั้ง  ค.ศ.1980 และ ค.ศ.1984 การแข่งขัน แพนอเมริกาคัพ โดยนักเตะแซมบ้า ประเทศบราซิลได้แชมป์ทั้งสองครั้ง  ค.ศ.1982 การแข่งขันชิงแชมป์โลก (อย่างไม่เป็นทางการ) ครั้งแรก ณ กรุงเซาเปาโล ประเทศบราซิล และแชมป์ในปีนี้ก็คือ เจ้าถิ่นประเทศบราซิล นั่นเอง  ค.ศ.1985 การแข่งขันชิงแชมป์โลก (อย่างไม่เป็นทางการ) ครั้งที่ 2 ณ ประเทศสเปน ประเทศบราซิลได้แชมป์  ค.ศ.1988 การแข่งขันชิงแชมป์โลก (อย่างไม่เป็นทางการ) ครั้งที่ 3 ณ ประเทศออสเตรเลีย ประเทศบราซิลเสียแชมป์ให้แก่ประเทศปารากวัยเป็นครั้ งแรก  ค.ศ.1989 ต่อมาสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ(ฟีฟ่า) ได้เข้ามาดูแลการแข่งขันชิงแชมป์โลกเป็นครั้งแรก ซึ่งจัดการแข่งขัน ณ ประเทศฮอลแลนด์ และประเทศบราซิลยังครองเป็นแชมป์ รองแชมป์ประเทศสเปน อันดับสามประเทศรัสเซีย
  • 13. 7  ค.ศ.1992 การแข่งขันชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 2 ณ ประเทศฮ่องกง ประเทศบราซิลยังครองความเป็นแชมป์ รองแชมป์ประเทศสหรัฐอเมริกา อันดับสามประเทศสเปน  ค.ศ.1996 การแข่งขันชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 3 ประเทศสเปน ประเทศบราซิลยังครองความเป็นแชมป์ ของโลกอย่างเหนียวแน่น รองแชมป์ประเทศฮอลแลนด์ อันดับสามประเทศสหรัฐอเมริกา  ค.ศ.2000 การแข่งขันชิงแชมป์โลก ครั้งที่ 4 ณ ประเทศกัวเตมาลา ประเทศสเปนสามารถล้มแชมป์เก่าสามสมัยอันดับหนึ่งข องโลก รองแชมป์ประเทศบราซิล อันดับสามโปรตุเกส  ค.ศ.2004 การแข่งขันชิงแชมป์โลกครั้งที่ 5 ณ ประเทศไต้หวัน ประเทศสเปน ยังครองความเป็นแชมป์ รองชนะเลิศประเทศอิตาลี อันดับสามประเทศบราซิล กีฬาฟุตบอลจัดได้ว่าเป็นเกมกีฬาที่ยิ่งใหญ่และมีผู้ชมคลั่งไ คล้กีฬาชนิดนี้มากที่สุดในโลก เนื่องจากฟุตบอลเป็นเกมที่สนุก ดูง่าย มีสีสันในการเชียร์ โดยเฉพาะในเกมสนามใหญ่ที่เราเรียกว่า เกม 11 คน นั้นเป็นที่นิยมทั้งในระดับสโมสร ในลีกของแต่ละประเทศและระดับนานาชาตินั่นคือ การแข่งขันฟุตบอลโลก ซึ่งในปัจจุบันนี้กีฬาฟุตบอลไม่แข่งขันเพียงแค่ในสนามให
  • 14. 8 ญ่เท่านั้นยังมีการจัดการแข่งขันฟุตบอลในร่มที่เราเรียกว่า “ ฟุตบอล 5 คน” หรือ “ ฟุตซอล” (FUTSAL ) นั่นเอง การแข่งขันฟุตบอล 5 คน ในประเทศไทย ประเทศไทยได้มีการจัดการแข่งขันฟุตบอล 5 คน ขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ.2540 ด้วยความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่ายที่ช่วยกันผลักดันกีฬาชนิดนี้ให้ได้รับความนิยมมากขึ้ น ไม่ว่าจะเป็นสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมรา ชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร การกีฬาแห่งประเทศไทย และเดอะมอลล์ กรุ๊ป จากัด ร่วมกันจัดการแข่งขันฟุตบอล 5 คน ในรายการ “STAR IN DOOR SOCCER 1997” เมื่อวันที่ 12 – 21 กรกฎาคม 2540 ณ เดอะมอลล์ บางกะปิ โดยมี 12 ทีมสโมสรชั้นนาจากไทยแลนด์ลีกเข้าร่วมการแข่งขัน และทีมการท่าเรือแห่งประเทศไทยชนะเลิศ ในปีต่อมาได้จัดการแข่งขันฟุตบอล 5 คน ขึ้นอีกเป็นครั้งที่ 2 ในครั้งนี้ “ ทีมกรุงเทพมหานคร” ชนะแชมป์เก่าการท่าเรือแห่งประเทศไทย
  • 15. 9 ปี พ.ศ.2543 ได้มีการจัดการแข่งขันฟุตซอลขึ้นเป็นครั้งที่ 3 โดยมีการแข่งขันรอบคัดเลือกในแต่ละภาคเพื่อนาทีมชนะเ ลิศและรองชนะเลิศมาแข่งขันกับทีมสโมสรชั้นนาจากไทย ลีก ในการแข่งขันฟุตซอลชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ซึ่งจากความสาเร็จในการแข่งขันครั้งนี้ทาให้กีฬาฟุตซอลเ ป็นที่นิยมมากยิ่งขึ้น ต่อมาประเทศไทยได้มีโอกาสเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุ ตซอลชิงแชมป์เอเชีย และจากการแข่งขันดังกล่าวทาให้ประเทศไทยได้อันดับสา มและได้สิทธิ์เดินทางไปแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลกรอบสุ ดท้าย ระหว่างวันที่ 18 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม 2543 ณ ประเทศกัวเตมาลา ในปัจจุบันฟุตซอล ( FUTSAL ) เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมและสนใจจากทุกเพศทุกวัย เนื่องจากเป็นเกมกีฬาที่ตื่นเต้น สนุกสนานในทุกๆ นาทีของการแข่งขัน และสามารถเล่นได้ตลอดปี ทุกสภาพอากาศทาให้ ฟุตซอล (FUTSAL ) กลายเป็นกีฬายอดนิยมรับสหัสวรรษใหม่นี้  กฎกติกาฟุตซอล
  • 16. 10 กติกาข้อ 1. สนามแข่งขัน สนามแข่งขัน (THE PITCH) ขนาดสนาม(Dimension) สนามแข่งขันต้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความยาวของเส้นข้างต้องยาวกว่าความยาวของเส้นประตู ความยาว ต่าสุด 25 เมตร สูงสุด 42 เมตร ความกว้าง ต่าสุด 15 เมตร สูงสุด 25 เมตร การแข่งขันระหว่างชาติ (International Matches) ความยาว ต่าสุด 38 เมตร สูงสุด 42 เมตร ความกว้าง ต่าสุด 18 เมตร สูงสุด 22 เมตร การทาเส้นสนามแข่งขัน (Pitch Markings) สนามแข่งขันประกอบด้วยเส้นต่างๆเส้นเหล่านั้นเป็นพื้นที่ของเข ตนั้นๆ เส้นด้านยาวสองข้างเรียกว่า เส้นข้าง (Touch Line) เส้นด้านสั้นสองเส้น เรียกว่า เส้นประตู (Goal Line) เส้นทุกเส้นต้องมีความกว้าง 8 เซนติเมตร สนามแข่งขันแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่าๆกัน
  • 17. 11 โดยมีเส้นแบ่งแดน (A Halfway Line) ที่กึ่งกลางของเส้นแบ่งแดน มีจุดกึ่งกลางสนาม (Center Mark) และวงกลมรัศมี 3 เมตรล้อมรอบจุดนี้ไว้ เขตโทษ (The Penalty Area) เขตโทษทาไว้ตรงส่วนท้ายของสนามแต่ละด้านดั้งนี้ ให้วัดจากด่านนอกเสาประตูทั้งสองข้างออกไปตามแนวเส้นประ ตูข้างละ 6 เมตร เขียนส่วนโค้งซึ้งมีรัศมี 6 เมตร เข้าไปใน พื้นที่สนามแข่งขันจนปลายของส่วนโค้งสัมผัสกับเส้นขนานที่ตั้ง ฉากกับเส้นประตู ระหว่างเสาประตูทั้งสองข้างมีความยาว 3.16 เมตร พื้นที่ภายในเขตเส้นเหล่านี้และเส้นประตูล้อมรอบเรียกว่า เขตโทษ จุดโทษ (Penalty Mark) จากจุดกึ่งกลางประตูแต่ละข้าง ให้วัดเป็นแนวตั้งฉากเข้าไปในสนามแข่งขันเป็นระยะทาง 6 เมตร และให้ทาจุดแสดงไว้ จุดนี้เรียกว่า จุดโทษ จุดโทษที่สอง (Second Penalty Mark) จากจุดกึ่งกลางประตูแต่ละข้าง ให้วัดเป็นแนวตั้งฉากเข้าไปในสนามแข่งขันเป็นระยะทาง 10 เมตร และให้ทาจุดแสดงไว้ จุดนี้เรียกว่า จุดโทษที่สอง
  • 18. 12 เขตมุม (The Corner Area) จากมุมสนามแต่ละด้านให้เขียน 1 ใน 4 ของส่วนโค้งไว้ด้านในสนามแข่งขัน โดยมีรัศมี 25 เซนติเมตร เขตเปลี่ยนตัว (Substitution Zone) เขตเปลี่ยนตัวอยู่บริเวณเส้นข้างของสนามแข่งขันตรงด้านหน้า ของทีมที่จัดที่นั่งผู้เล่นสารองไว้ เขตเปลี่ยนตัวมีความยาว 5 เมตร จะสังเกตได้จากบนเส้นข้างจะมีเส้นกว้าง 8 เซนติเมตร ยาว 80 เซนติเมตร (วัดเข้าด้านในสนาม 40 เซนติเมตร และวัดออกจากด้านนอกสนาม 40 เซนติเมตร) ผู้เล่นจะเปลี่ยนเข้าและออกต้องอยู่ภายในเขตเปลี่ยนตัว ระหว่างเขตเปลี่ยนตัวทั้งสองข้างตรงเส้นแบ่งแดนและเส้นข้างจ ะมีช่องว่างระยะ 5 เมตร ตรงหน้าโต๊ะผู้รักษาเวลา ประตู (Goals) ประตูต้องตั้งอยู่บนกึ่งกลางของเส้นประตูแต่ละด้านประกอบด้วย เสาประตูสองเสา มีระยะห่างกัน 3 เมตร และเชื่อมต่อกันด้วยคานตามแนวนอน ซึ่งส่วนล่างของคานจะอยู่สูงจากพื้น 2 เมตร
  • 19. 13 เสาประตูและคานประตูทั้งสองด้านจะมีความกว้างและความหนา 8 เซนติเมตร อาจติดตาข่ายไว้ที่ประตูและคานประตูด้านหลัง ตาข่ายประตูต้องทาด้วยป่าน ปอ หรือ ไนล่อน จึงอนุญาตให้ใช้ได้ เส้นประตูมีความกว้างเท่ากับเสาประตูและคานประตู ที่เสาและคานด้านหลังประตูมีลักษณะเป็นรูปโค้ง วัดจากริมด้านบนของเสาประตู ไปสู่ด้านนอกของสนามมีความลึกไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร วัดจากริมด้านล่างของเสาประตูไปด้านนอกของสนามมีความลึก ไม่น้อยกว่า 100 เซนติเมตร ความปลอดภัย (Safety) ประตูอาจเป็นแบบที่แยกประกอบและโยกย้ายได้ แต่จะต้องติดตั้งไว้กับพื้นสนามอย่างมั่นคงและปลอดภัย พื้นผิวของสนามแข่งขัน (Surface of the Pitch) พื้นผิวสนามจะต้องเรียบ อาจทาด้วยไม้หรือวัสดุสังเคราะห์และต้องหลีกเลี่ยงพื้นผิวสนาม ที่ทาด้วยคอนกรีต หรือยางมะตอย ข้อตกลง (Decisions) 1. ในกรณีเส้นประตูยาวระหว่าง 15 – 16 เมตร รัศมีที่ใช้เขียนส่วนโค้งเขตโทษยาว 4 เมตร ในกรณีนี้จุดโทษจะไม่อยู่บนเส้นเขตโทษ แต่ยังคงเป็นระยะ 6 เมตร โดยวัดจากกึ่งกลางเสาประตูและมีระยะห่างเท่ากันทั้งสองข้าง
  • 20. 14 2. การใช้สนามพื้นหญ้าตามธรรมชาติ สนามหญ้าเทียม หรือพื้นดิน อนุญาตให้ใช้ในการแข่งขันระดันลีก แต่ไม่อนุญาตให้ใช้ในการแข่งขันระหว่างชาติ 3. เครื่องหมายจะถูกเขียนไว้ด้านนอกของสนามแข่งขันวัดออกมา 5 เมตร เป็นมุมฉากกับเสาประตูเพื่อทาให้แน่ใจว่าผู้เล่นอยู่ห่างจากจุดเต ะจากมุม 5 เมตร ความกว้างของเครื่องหมาย 8 เซนติเมตร 4. ทั้งสองทีมอยู่ด้านหลังเส้นข้าง ถัดจากช่องว่างด้านหน้าโต๊ะเจ้าหน้าที่
  • 21. 15 กติกาข้อ 2. ลูกบอล ลูกบอล (The Ball) คุณลักษณะและหน่วยการวัด (Qualities and Measurements) ลูกบอลต้อง 1. เป็นทรงกลม 2. ทาด้วยหนัง หรือวัสดุอื่นๆที่เหมาะสม 3. เส้นรอบวงไม่น้อยกว่า 62 เซนติเมตร และไม่เกินกว่า 64 เซนติเมตร 4. ขณะเริ่มการแข่งขันลูกบอลต้องมีน้าหนักไม่น้อยกว่า 400 กรัม และไม่มากกว่า 440 กรัม 5. ความดันลมของลูกบอล 0.4 – 0.6 ระดับบรรยากาศ (400 – 600 กรัมต่อตารางเซนติเมตร) ที่ระดับน้าทะเล การเปลี่ยนลูกบอลที่ชารุด (Replacement of a Defective Ball) ถ้าลูกบอลแตกหรือชารุดในระหว่างการแข่งขันจะดาเนินการดัง นี้ 1. การแข่งขันต้องหยุดลง 2. เริ่มเล่นใหม่โดยการปล่อยลูกบอล (Dropped Ball) ณ ที่ลูกบอลตก (ชารุด)
  • 22. 16 ถ้าลูกบอลเกิดแตกหรือชารุดในขณะบอลอยู่นอกการเล่น ให้เริ่มเล่นใหม่โดยการเตะเริ่มเล่นการเล่นลูกจากประตู การเตะจากมุม การเตะโทษ ณ จุดโทษ หรือการเตะเข้าเล่น การเริ่มเล่นให้เป็นไปตามกฎกติกา ในขณะการแข่งขัน การเปลี่ยนลูกบอลจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน ข้อตกลง (Decisions) 1. ในการแข่งขันระหว่างชาติไม่อนุญาตให้ใช้ลูกบอลที่ทาด้วยสัก หลาด 2. การทดสอบลูกบอลเมื่อปล่อยจากความสูง 2 เมตร โดยวัดจากการกระดอนครั้งแรก ต้องกระดอนจากพื้นไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร และไม่สูงกว่า 65 เซนติเมตร 3. ในการแข่งขัน ลูกบอลที่ใช้ต้องแสดงให้เห็นถึงความต้องการทางเทคนิคอย่าง น้อยที่สุด ตามที่ระบุไว้ในกติกาข้อที่ 2 เท่านั้นจึงจะอนุญาตให้ใช้ได้ 4. ในการแข่งขันของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ และการแข่งขันภายในความรับผิดชอบของสหพันธ์ฟุตบอล ต้องมีสัญลักษณ์ 3 อย่าง ดังนี้ 1) ได้รับการรับรองจากสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FIFA APPROVED)
  • 23. 17 2) ได้รับการตรวจสอบจากสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (FIFA INSPECTED) 3) ลูกบอลมาตรฐานใช้แข่งขันระหว่างชาติ (INTERNATIONAL MATCHBALL STANDARDS) สัญลักษณ์ที่ปรากฏอยู่ที่ลูกบอลคือ - สัญลักษณ์ที่ระบุว่าลูกบอลดังกล่าวได้รับการทดสอบอย่างเป็นท างการแล้ว สาหรับการแข่งขันของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ และการแข่งขันภายในความรับผิดชอบดูแลของสหพันธ์ต่างๆ ลูกบอลที่ใช้ต้องแสดงถึงความต้องการทางเทคนิคอย่างน้อยที่สุ ดตามที่ระบุไว้ในกติกาข้อ 2 เท่านั้นที่อนุญาตให้ใช้ได้ การยอมรับลูกบอลที่ใช้ดังกล่าวข้างต้น จะอยู่ภายใต้เงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งที่แสดงให้เห็นบนลูกบอลว่าเ ป็นไปตามความต้องการทางเทคนิค ดังกล่าว สมาคมฟุตบอลแห่งชาติสามารถออกกฎบังคับให้ใช้ลูกบอลที่มีสั ญลักษณ์อย่างใด อย่างหนึ่งจากเงื่อนไข 3 ประการ สาหรับการแข่งขันภายในประเทศหรือในการแข่งขันอื่นๆทุกรา ยการ ลูกบอลจะต้องเป็นไปตามกติกาข้อ2 ในกรณีที่สมาคมฟุตบอลแห่งชาติ บังคับใช้ลูกบอลที่มีสัญลักษณ์ที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์ฟุต บอลนานาชาติ(FIFA APPROVED)
  • 24. 18 และได้รับการตรวจสอบจากสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ(FIFA INSPECTED) แต่สมาคมฟุตบอลแห่งชาติสามารถอนุญาตให้ใช้ลูกบอลมาตรฐ านแข่งขันระหว่างชาติ(INTERNATIONAL MATCHBALL STANDARDS) ก็ได้ ในการแข่งขันของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ และในรายการแข่งขันที่อยู่ภายในการดูแลของสมาพันธ์และสม าคมฟุตบอลแห่งชาติไม่อนุญาตให้ทาการโฆษณาสินค้าบนลูกบ อล ยกเว้นสัญลักษณ์ของการแข่งขัน และผู้จัดตั้งการแข่งขัน หรือสัญลักษณ์ทางการค้าที่ได้รับอนุญาตจากกฎเกณฑ์ของการ แข่งขัน และอาจจะจากัดขนาดและจานวนของเครื่องหมายเหล่านั้น กติกาข้อ 3. จานวนผู้เล่น จานวนผู้เล่น (THE NUMBER OF PLAYERS) ผู้เล่น (Players) ในการแข่งขันจะมีผู้เล่นสองทีม แต่ละทีมต้องมีผู้เล่นในสนามไม่เกิน 5 คน และต้องมีผู้เล่นคนหนึ่งเป็นผู้รักษาประตู ขั้นตอนการเปลี่ยนตัว (Substitution Procedure)
  • 25. 19 1. การเปลี่ยนตัวจะเปลี่ยนเมื่อใดก็ได้ในขณะแข่งขันภายใต้ระเบีย บของการแข่งขันอย่างเป็นทางการที่สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ สมาพันธ์ฟุตบอล หรือสมาคมฟุตบอลแห่งชาติกาหนดไว้ 2. อนุญาตให้มีผู้เล่นสารองไม่เกิน 7 คน 3. การเปลี่ยนตัวผู้เล่นในระหว่างการแข่งขันไม่จากัดจานวนสามา รถเปลี่ยนตัวได้ตลอดเวลา ผู้เล่นที่ถูกเปลี่ยนออกสามารถเปลี่ยนกลับเข้าไปเล่นได้อีก โดยการเปลี่ยนตัวกับผู้เล่นที่เล่นในสนาม 4. การเปลี่ยนตัวออกและเข้าสามารถทาได้ตลอดเวลาในขณะลูกบ อลอยู่ในการเล่น หรือลูกบอลอยู่นอกการเล่น แต่ต้องกระทาตามเงื่อนไข ผู้เล่นที่ออกจากสนามต้องออกในเขตเปลี่ยนตัวของตนเองเท่านั้ น ผู้เล่นที่เปลี่ยนตัวจะต้องเปลี่ยนตัวในเขตของตนเอง แต่ต้องให้ผู้เล่นในสนามที่ถูกเปลี่ยนตัวออกได้ผ่านเส้นข้างออก จากสนามโดยสมบูรณ์ก่อน การเปลี่ยนตัวอยู่ในอานาจและดุลพินิจของผู้ตัดสินเท่านั้น ว่าจะให้เข้าเล่นได้หรือไม่ การเปลี่ยนตัวจะถือว่าสมบูรณ์เมื่อผู้ที่เปลี่ยนตัวได้เข้าสนามและ ถือว่าเป็นผู้เล่นทันที ส่วนผู้ที่เปลี่ยนตัวออกจะถือว่าเป็นผู้เล่นสารองผู้รักษาประตูสาม ารถเปลี่ยนตาแหน่งกับผู้เล่นคนอื่นได้
  • 26. 20 การกระทาผิดและการลงโทษ (Infringements/Sanction) ถ้าในขณะเปลี่ยนตัว ผู้เล่นสารองได้เข้าไปในสนามก่อนที่ผู้เล่นในสนามจะออกนอก สนามโดยสมบูรณ์ 1. หยุดการเล่น 2. ผู้เล่นที่จะออกต้องให้ออกจากสนาม 3. ผู้เล่นสารองที่เข้ามาต้องถูกคาดโทษด้วยใบเหลือง 4. การเริ่มเล่นใหม่ ให้ฝ่ายตรงข้ามเตะโทษโดยอ้อม ณ จุดที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นได้หยุดลง อย่างไรก็ตาม ถ้าลูกบอลอยู่ในเขตโทษ การเตะโทษโดยอ้อมจะกระทาจากเส้นเขตโทษที่จุดใกล้ตาแหน่ งของลูกบอลมากที่สุด ในขณะที่การเล่นได้หยุดลง ถ้าในระหว่างการเปลี่ยนตัว ผู้เล่นสารองที่เปลี่ยนออกได้เปลี่ยนตัวออกนอกเขตเปลี่ยนตัว 1. หยุดการเล่น 2. ผู้เล่นที่กระทาผิดต้องถูกคาดโทษด้วยใบเหลือง 3. การเริ่มเล่นใหม่ ให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม ณ จุดที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นได้หยุดลง อย่างไรก็ตาม ถ้าลูกบอลอยู่ในเขตโทษ การเตะโทษโดยอ้อมจะกระทาจากเส้นเขตโทษที่จุดใกล้ตาแหน่ งของลูกบอลมากที่สุด ในขณะที่การเล่นได้หยุดลง
  • 27. 21 ข้อตกลง (Decisions) 1. การเริ่มเล่นแต่ละทีมต้องมีผู้เล่น 5 คน 2. ถ้าในกรณีผู้เล่นทีมหนึ่งถูกไล่ออกจากการแข่งขัน และเหลือผู้เล่นน้อยกว่า 3. คน(รวมผู้รักษาประตู)การแข่งขันต้องถูกยกเลิก กติกาข้อ 4. อุปกรณ์ของผู้เล่น ความปลอดภัย (Safety) ผู้เล่นต้องไม่ใช้อุปกรณ์หรือสวมใส่สิ่งใดที่เป็นอันตรายต่อตนเอ ง และผู้เล่นอื่น รวมถึงเครื่องประดับต่างๆทุกชนิด อุปกรณ์เบื้องต้น (Basic Equipment) ข้อบังคับเบื้องต้นเกี่ยวกับอุปกรณ์ของผู้เล่น ประกอบด้วย 1. เสื้อยืดหรือเสื้อเชิ้ต 2. กางเกงขาสั้น (ถ้าสวมกางเกงปรับอุณหภูมิ สีของกางเกงนั้นจะต้องเป็นสีเดียวกันกับสีหลักของกางเกง 3. ถุงเท้ายาว 4. สนับแข้ง 5. รองเท้า รองเท้าที่อนุญาตให้ใช้ได้ ต้องเป็นรองเท้าผ้าใบหรือรองเท้าแบบหนังนิ่ม
  • 28. 22 หรือรองเท้าออกกาลังกายที่พื้นรองเท้าทาด้วยยางหรือวัสดุที่คล้ ายคลึงกัน การสวมรองเท้าเป็นข้อบังคับในการแข่งขัน เสื้อยืดหรือเสื้อเชิ้ต (Jersey of Shirt) 1. หมายเลข 1 – 15 จะอยู่ด้านหลังของเสื้อ 2. สีของหมายเลขจะเห็นชัดเจนและแตกต่างจากสีเสื้อ สาหรับการแข่งขันระหว่างชาติ จะหมายเลขขนาดเล็กอยู่ด้านหน้าเสื้อด้วย สนับแข้ง (Shinguards) 1. ต้องอยู่ภายถุงเท้ายาวทั้งสองข้าง 2. ทาจากวัสดุที่เหมาะสม (ยาง พลาสติก โพลียูรีเทน หรือ วัสดุที่คล้ายคลึงกัน) 3. ต้องเหมาะสมในการป้องกัน ผู้รักษาประตู(Goalkeepers) 1. อนุญาตให้ผู้รักษาประตูสวมใส่กางเกงขายาวได้ 2. ผู้รักษาประตูแต่ละทีมต้องสวมชุดให้มีสีแตกต่างจากผู้เล่นคนอื่น และผู้ตัดสิน ถ้าผู้เล่นเปลี่ยนตัวเป็นผู้รักษาประตู ผู้เล่นที่เป็นผู้รักษาประตูต้องสวมเสื้อผู้รักษาประตูที่มีหมายเลขด้ านหลังของตนเองอนุญาต การกระทาผิด การลงโทษ (Infringements/Sanctions)
  • 29. 23 สาหรับการกระทาผิดใดๆของกติกานี้ ผู้เล่นที่กระทาผิด ผู้ตัดสินจะให้ผู้เล่นออกจากสนามแข่งขันเพื่อแก้ไขอุปกรณ์ที่ขา ดหายไป ผู้เล่นจะกลับเข้ามาเล่นได้อีกเมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่น และต้องแจ้งให้ผู้ตัดสินทราบ เพื่อตรวจสอบว่าอุปกรณ์ของผู้เล่นนั้นแก้ไขถูกต้อง กติกาข้อ 5. ผู้ตัดสิน อานาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน (The Authority of the Referee) การแข่งขันแต่ละครั้งจะถูกควบคุมโดยผู้ตัดสิน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้มีอานาจและปฏิบัติหน้าที่ตามที่กติกาแข่ง ขันกาหนดไว้นับตั้งแต่ได้ก้าวเข้าสู่สถานที่ตั้งของสนามแข่งขัน และจะสิ้นสุดเมื่อได้ออกจากสนามที่ตั้งนั้นไป อานาจและหน้าที่ (Powers and duties) ผู้ตัดสินต้อง 1. ปฏิบัติตามกติกาการแข่งขัน 2. อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปเมื่อทีมที่ถูกกระทาผิดจะเกิดการ ได้เปรียบจากการให้ประโยชน์ (Advantage)
  • 30. 24 ถ้าการคาดคะเนในการได้เปรียบนั้นไม่เป็นไปตามที่คาดไว้ในข ณะนั้น ก็จะลงโทษตามความผิดที่เกิดขึ้นตั้งแต่ครั้งแรกนั้นได้ 3. ทาการบันทีกรายงานการแข่งขัน ซึ่งรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมระเบียบวินัยทุกอย่างที่กระ ทากับผู้เล่นหรือเจ้าหน้าที่ทีมและเหตุการณ์อื่นๆ ทุกกรณีที่เกิดขึ้นก่อนการแข่งขัน ระหว่างการแข่งขัน หรือภายหลังการแข่งขัน 4. ทาหน้าที่เป็นผู้รักษาเวลาในกรณีที่ไม่มีผู้รักษาเวลา 5. หยุดการเล่น หยุดการเล่นชั่วคราว หรือยุติการแข่งขันในกรณีที่มีการกระทาผิดกติกาการแข่งขัน หรือเมื่อเห็นว่ามีเหตุจาเป็นต่างๆ เช่น การรบกวนการแข่งขันจากภายนอกสนาม 6. สามารถคาดโทษ และให้ออก ถ้าผู้เล่นกระทาผิด 7. แน่ใจว่าไม่มีบุคคลอื่นที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้าไปในสนามการแข่ง ขัน 8. หยุดการเล่นเมื่อเห็นว่าผู้เล่นได้รับบาดเจ็บอย่างร้ายเเรง (Seriously Injured)และเคลื่อนย้ายผู้เล่นออกจากสนามแข่งขัน
  • 31. 25 9. อนุญาตให้การเล่นดาเนินต่อไปจนกว่าลูกบอลจะอยู่นอกการเล่ น ถ้าเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย 10. พิจารณาลูกบอลที่ใช้ในการแข่งขันให้เป็นไปตามกติกาข้อ 2 การพิจารณาตัดสินใจของผู้ตัดสิน (Decisions the Referee) การพิจารณาตัดสินใจของผู้ตัดสนที่เกี่ยวข้องกับสภาพความเป็ นจริงที่เกิดขึ้นในการแข่งขันถือเป็นข้อยุติ ข้อตกลง (Decisions) 1. ถ้าผู้ตัดสินและผู้ตัดสินที่2 แสดงสัญญาณการกระทาผิดพร้อมกันและเป็นการขัดแย้งกัน ซึ่งทาให้ฝ่ายหนึ่งได้เปรียบจะต้องทาตามการตัดสินใจของผู้ตัด สิน 2. ผู้ตัดสินและผู้ตัดสินที่2 สามารถคาดโทษและให้อกแต่ในกรณีที่เขาเกิดความขัดแย้งจะ ต้องทาตามการตัดสินใจของผู้ตัดสิน กติกาข้อ 6. ผู้ตัดสินที่ 2 หน้าที่ (Duties)
  • 32. 26 ผู้ตัดสินที่2 ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ด้านตรงข้ามของสนามแข่งขัน กับผู้ตัดสิน เขาได้รับอนุญาตให้ใช้นกหวีดได้ ผู้ตัดสินที่2 จะช่วยเหลือผู้ตัดสินในการควบคุมการแข่งขันให้เป็นไปตามกติ กาการแข่งขัน ผู้ตัดสินที่2 1. มีอานาจในการสั่งหยุดการเล่นเมื่อมีการกระทาผิดกติกาการแข่ งขัน 2. จะต้องแน่ใจว่าการเปลี่ยนตัวผู้เล่นปฏิบัติอย่างถูกต้อง ในกรณีที่ผู้ตัดสินที่2 ปฏิบัติตนหรือประพฤติตนไม่เหมาะสม ผู้ตัดสินสามารถเปลี่ยนผู้ตัดสิน ที่2 ออกจากการปฏิบัติหน้าที่และให้ผู้อื่นมาปฏิบัติหน้าที่แทน และเขียนรายงานเสนอต่อผู้มีอานาจหน้าที่รับผิดชอบและพิจาร ณาต่อไป ข้อตกลง (Decisions) ในการแข่งขันระหว่างชาติ ต้องมีผู้ตัดสินที่2 กติกาข้อ 7. ผู้รักษาเวลาและผู้ตัดสินที่ 3 หน้าที่ (Duties)
  • 33. 27 ผู้รักษาเวลาและผู้ตัดสินที่3 ต้องได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่นั่งอยู่ด้านนอกสนามที่เส้น แบ่งแดนด้านเดียวกับเขตเปลี่ยนตัว ผู้รักษาเวลาและผู้ตัดสินที่3 จะใช้นาฬิกาจับเวลาที่เหมาะสม และจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ที่แสดงให้เห็นการกระทาผิดกติการวม ซึ่งทางสมาคมและสโมสรที่เป็นเจ้าของสนามจัดเตรียมไว้ให้ก่อ นเริ่มการแข่งขัน ผู้รักษาเวลา (The Timekeeper) 1. ต้องแน่ใจว่าเวลาของการแข่งขันเป็นไปตามข้อกาหนดของกติ กาข้อ8 โดยปฏิบัติดังนี้ เริ่มจับเวลาของตนเองหลังจากการเตะเริ่มเล่น หยุดเวลาเมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่น เริ่มจับเวลาภายหลังการเตะเข้าเล่น การเล่นลูกจากประตู การเตะจากมุม การเตะโทษ ณ จุดโทษ หรือการเตะโทษจุดโทษที่2 การขอเวลานอก หรือการปล่อยลูกบอล 2. ควบคุมการขอเวลานอก 1 นาที 3. ควบคุมระยะเวลาของการลงโทษ 2 นาที เมื่อผู้เล่นถูกไล่ออก 4. เป็นผู้แจ้งเมื่อหมดเวลาการแข่งขันในครึ่งเวลาแรกครึ่งเวลาหลัง
  • 34. 28 เมื่อหมดเวลาในช่วงการต่อเวลาพิเศษ และหมดเวลาการขอเวลานอกโดยการใช้สัญญาณนกหวีดหรือเ สียงสัญญาณอื่นๆ ที่ชัดเจนและแตกต่างจากเสียงสัญญาณของผู้ตัดสิน 5. เป็นผู้บันทึกการขอเวลานอก และการรักษาเวลานอกของแต่ละทีม ต้องแจ้งให้ผู้ตัดสินและทีมที่เข้าแข่งขันทราบข้อเท็จจริง การอนุญาตการขดเวลานอกเมื่อผู้ฝึกสอนทีมใดทีมหนึ่งต้องการ ร้องขอ 6. เป็นผู้บันทึกการกระทาผิดกติการวม 5 ครั้งแรกของแต่ละทีมในแต่ละครึ่งเวลา ซึ่งมีการจดบันทึกโดยแจ้งสัญญาณเมื่อมีการกระทาผิดครั้งที่5 ให้ผู้ตัดสินและแต่ละทีมทราบ ผู้ตัดสินที่3 (The Third Referee) ผู้ตัดสินที่3 จะเป็นผู้ช่วยในการรักษาเวลา 1. เป็นผู้บันทึกการกระทาผิดกติการวม 5 ครั้งแรกของแต่ละทีมในแต่ละครึ่งเวลาของการแข่งขัน ซึ่งมีการจดบันทึกโดยผู้ตัดสิน และให้สัญญาณเมื่อมีการกระทาผิดครั้งที่5 ให้แต่ละทีมทราบ 2. เป็นผู้บันทึกเกี่ยวกับการหยุดการแข่งขัน และเหตุผลของการหยุดการแข่งขัน
  • 35. 29 3. เป็นผู้บันทึกหมายเลขผู้เล่นที่ทาประตูได้ 4. เป็นผู้บันทึกหมายเลขผู้เล่นที่ถูกคาดโทษ หรือไล่ออก 5. เป็นผู้บันทึกข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขัน ในกรณีที่มีผู้รักษาเวลาและผู้ตัดสินที่3 ปฏิบัติตนหรือประพฤติตนไม่เหมาะสม ผู้ตัดสินสามารถเปลี่ยนออกจากการปฏิบัติหน้าที่และให้ผู้อื่นมา ปฏิบัติหน้าที่แทน และเขียนรายงานเสนอต่อผู้มีอานาจหน้าที่รับผิดชอบพิจารณา ต่อไป ในกรณีที่ผู้ตัดสินมีการบาดเจ็บ ผู้ตัดสินที่3 อาจเข้าไปปฏิบัติหน้าที่แทนผู้ตัดสินหรือผู้ตัดสิน ที่2ได้ ข้อตกลง (Decisions) 1. ในการแข่งขันระหว่างชาติ ต้องมีผู้รักษาเวลาและผู้ตัดสินที่3 2. ในการแข่งขันระหว่างชาติ นาฬิกาจับเวลาจะต้องใช้ร่วมกับอุปกรณ์ที่จาเป็นอื่นๆ (จับเวลาได้เที่ยงตรงมีกลไกการจับเวลา 2 นาทีของการกระทาผิดสาหรับผู้เล่น 4 คน ในเวลาเดียวกันได้และมีเครื่องสัญญาณแสดงการกระทาผิดรวม ของแต่ละทีมในแต่ละครึ่งเวลา
  • 36. 30 กติกาข้อ 8. ระยะเวลาการแข่งขัน ช่วงเวลาของการเล่น (Periods of Play) การแข่งขันแบ่งระยะเวลาออกเป็น 2 ครึ่ง ครึ่งละ 20 นาทีเท่ากัน การรักษาเวลาเป็นหน้าที่ของผู้รักษาเวลา ซึ่งมีหน้าที่ตามที่ได้กาหนดไว้ในกติกาข้อ7 ระยะเวลาของการแข่งขันแต่ละครึ่งอาจมีการเพิ่มเวลาเพื่อการเ ตะโทษ ณ จุดโทษ เวลานอก (Time-Out) ทั้งสองทีมมีสิทธิ์ขอเวลานอก เป็นระยะเวลา 1นาที ได้ในแต่ละครึ่งเวลา ภายใต้เงื่อนไขต่อไปนี้ 1. ผู้ฝึกสอนเท่านั้นที่มีสิทธิ์ในการขอเวลานอก 1นาทีจากผู้รักษาเวลา 2. การขอเวลานอกสามารถกระทาได้ตลอดเวลา แต่จะให้เวลานอกเมื่อทีมได้ครอบครองบอล(ส่งบอลเข้าเล่น) 3. ผู้รักษาเวลาต้องแสดงการอนุญาตสาหรับการขอเวลานอกของที มเมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่น
  • 37. 31 โดยการใช้สัญญาณนกหวีดหรือเสียงสัญญาณอื่นๆที่แตกต่างจ ากผู้ตัดสินใช้อยู่ 4. เมื่ออนุญาตให้เป็นเวลานอก ผู้เล่นทุกคนต้องรวมกันอยู่ในสนามแข่ง ถ้าต้องการได้รับคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ทีม จะกระทาได้เฉพาะที่เส้นข้างบริเวณหน้าที่นั่งสารองของตนเอง ผู้เล่นทุกคนต้องไม่ออกนอกสนามแข่งขัน เช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่ที่ให้คาแนะนา จะต้องไม่เข้าไปในสนามแข่งขัน 5. ถ้าทีมไม่ใช่สิทธิ์การขอเวลานอกในครึ่งเวลาแรก จะไม่สามารถนาไปทดแทนกันได้ในครึ่งเวลาหลัง การพักครึ่งเวลา (Half-time Interval) ต้องไม่เกิน 15 นาที ข้อตกลง (Decisions) 1. ถ้าไม่มีผู้รักษาเวลา ผู้ฝึกสอนต้องขอเวลานอกกับผู้ตัดสิน 2. ถ้าระเบียบการแข่งขันระบุให้มีการต่อเวลาพิเศษในกรณีที่การแ ข่งขันในเวลาปกติ ถ้าผลการแข่งขันจบลงด้วยการเสมอกัน การแข่งขันในระหว่างการต่อเวลาพิเศษของการแข่งขันจะไม่มี การขอเวลานอก
  • 38. 32 กติกาข้อ 9. การเริ่มการแข่งขันและการเริ่มเล่นใหม่ การเตรียมการเบื้องต้น (Preliminaries) การเลือกแดนกระทาโดยการเสี่ยงด้วยเหรียญ ทีมที่ชนะการเสี่ยงจะเป็นผู้เลือกประตูในการรุกในครึ่งเวลาแรก ของการแข่งขันอีกทีมจะเป็นฝ่ายเตะเริ่มเล่น เพื่อเริ่มต้นการแข่งขัน ทีมที่ชนะการเสี่ยงจะทาการเตะเริ่มเล่นในครึ่งเวลาหลังของกาแ ข่งขัน ทั้งสองจะเปลี่ยนแดนกันในครึ่งเวลาหลังชองกางแข่งขันและทา การรุกประตูฝ่ายตรงข้าม การเตะเริ่มเล่น (Kick Off) การเตะเริ่มเล่น เป็นการเริ่มเล่นหรือเป็นการเริ่มเล่นใหม่ 1. เมื่อเริ่มต้นการเเข่งขัน 2. หลังจากทาประตูได้ 3. เมื่อเริ่มต้นการเเข่งขันครึ่งเวลาหลัง 4. เมื่อเริ่มต้นการเเข่งขันแต่ละครึ่งของการต่อเวลาพิเศษโดยไม่มีก ารพัก สามารถทาประตูได้โดยตรงจากการเตะเริ่มเล่น ขั้นตอนในการดาเนินการ (Procedure)
  • 39. 33 1. ผู้เล่นทุกคนต้องอยู่ในแดนของตนเอง 2. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามกับทีมที่กาลังเตะเริ่มเล่นต้องอยู่ห่างจากลูกบอ ลไม่น้อยกว่า 3 เมตร จนกระทั่งลูกบอลอยู่ในการเล่น 3. ลูกบอลต้องวางนิ่งอยู่บนจุดกึ่งกลางสนาม 4. ผู้ตัดสินให้สัญญาณ 5. ลูกบอลอยู่ในการเล่นเมื่อถูกเตะและเคลื่อนที่ไปข้างหน้า 6. ผู้เตะไม่สามารถเล่นลูกบอลเป็นครั้งที่สองจนกว่าลูกบอลจะถูกสั มผัสโดยผู้เล่นคนอื่นก่อน ภายหลังที่ทีมหนึ่งทาประตูได้อีกทีมหนึ่งจะเป็นฝ่ายได้เตะเริ่มเล่ น การกระทาผิดและการลงโทษ ( Infringements / Sanction ) ถ้าผู้เตะได้สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สองก่อนที่ลูกจะถูกสัมผัสโดย ผู้เล่นคนอื่น การเตะโทษโดยอ้อม จะให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม ณ จุดที่การกระทาผิดกติกาเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม ถ้าการกระทาผิดกติกาเกิดขึ้นภายในบริเวณเขตโทษของผู้เล่น ฝ่ายตรงข้าม การเตะโทษโดยอ้อมจะกระทาจากเส้นเขตโทษ ณ
  • 40. 34 จุดที่ใกล้ที่สุดกับที่การกระทาผิดกติกาเกิดขึ้นมากที่สุด การกระทาผิดอื่นๆของการเตะเริ่มเล่น ให้ทาการเตะเริ่มเล่นใหม่ การปล่อยลูกบอล ( Dropped Ball ) การปล่อยลูกบอลเป็นวิธีการหนึ่งของการเริ่มเล่นใหม่ หลังจากการเล่นได้หยุดลงชั่วคราวขณะที่ลูกบอลอยู่ในการเล่น และขณะที่หยุดเล่นในเวลานั้น หรือด้วยเหตุผลอื่นที่ไม่ได้ระบุไว้ในกติกาการแข่งขัน ลูกบอลยังไม่ได้ผ่านออกเส้นข้างหรือเส้นประตู ขั้นตอนในการดาเนินการ ( Procedure ) ผู้ตัดสินเป็นผู้ปล่อยลูกบอล ณ จุดที่ซึ่งลูกบอลอยู่ในขณะที่การเล่นได้หยุดลง ยกเว้นเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นบริเวณเขตโทษ ในกรณีนี้ผู้ตัดสินจะปล่อยลูกบอลจากเขตโทษ ณ จุดใกล้กันกับลูกบอลมากที่สุดในขณะที่การเล่นได้หยุดลง การเริ่มเล่นใหม่จะสมบูรณ์เมื่อลูกบอลได้สัมผัสพื้นสนาม การกระทาผิดและการลงโทษ ( Infringements / Sanctions ) การปล่อยลูกบอลอีกครั้งหนึ่ง 1. ถ้าลูกบอลถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนหนึ่งคนใดก่อนที่ลูกบอลจะสัมผั สสนาม
  • 41. 35 2. ถ้าลูกบอลออกจากสนามการแข่งขันไปหลังจากสัมผัสพื้นสนาม แล้ว แต่ไม่ถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนใดคนหนึ่งก่อน กติกาข้อ 10. ลูกบอลอยู่ในและนอกการเล่น ลูกบอลอยู่ในการเล่น ( Ball in Play ) ลูกบอลอยู่ในการเล่นอยู่ตลอดเวลา นับจากการเล่นจนกระทั่งการแข่งขันสิ้นสุดลง รวมทั้งเมื่อ 1. ลูกบอลกระดอนจากเสาหรือคานประตูเข้ามาในสนามแข่งขัน 2. การเตะเข้าเล่นจะนาลูกบอลมาวาง ณ จุดที่ใกล้เส้นข้างและเส้นสมมติที่ขนานกับเส้นประตู ภายใต้ตาแหน่งเมื่อลูกบอลกระทบเพดาน ลูกบอลอยู่นอกการเล่น ( Ball out of Play ) ลูกบอลอยู่นอกการเล่นเมื่อ 1. ลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูหรือเส้นข้างไม่ว่าบนพื้นหรือในอ ากาศ 2. ผู้ตัดสินสั่งหยุดการเล่น 3. ลูกบอลกระทบหลังคา ข้อตกลง ( Decision )
  • 42. 36 1. การแข่งขันที่เล่นภายในสนามในร่ม และลูกบอลได้กระทบเพดานหลังคา การเล่นจะเริ่มเล่นใหม่ โดยผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามกับผู้เล่นที่สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งสุดท้ายจ ะได้เตะเข้าเล่น ( Kick in ) หรือเล่นลูกจากประตู ( Goal Clearance ) 2. การเตะเข้าเล่น จะนาลูกบอลมาวาง ณ จุดที่ใกล้เส้นข้างและเส้นสมมติที่ขนานกับเส้นประตูภายใต้ตาแ หน่งที่ลูกบอลกระทบเพดานหลังคา กติกาข้อ 11. การนับประตู การทาประตู ( Goal Scored ) จะถือว่าได้ประตู เมื่อลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูระหว่างเสาประตูภายใต้คานป ระตู ภายใต้เงื่อนไขว่า ต้องไม่มีการทาผิดกติกาการแข่งขันเกิดขึ้นโดยทีมที่ทาประตู ข้อยกเว้น ผู้รักษาประตูและผู้เล่นฝ่ายลุกไม่สามารถทาประตูได้โดยตรงจา กการใช้มือและแขน
  • 43. 37 ทีมชนะ ( Winning Team ) ทีมที่ทาประตูได้มากกว่าในการแข่งขันจะเป็นฝ่ายชนะ ( Winner ) ถ้าทั้งสองทีมทาประตูได้เท่ากันหรือทาประตูกันไม่ได้ การแข่งขันครั้งนี้จะถือว่า เสมอกัน ( Draw) ระเบียบการแข่งขัน ( Competition Rules ) สาหรับการแข่งขันที่จบลงโดยผลเสมอกัน ระเบียบการแข่งขันอาจจะกาหนดราบละเอียดซึ่งเกี่ยวข้องกับก ารต่อเวลาพิเศษหรือการดาเนินการอื่นๆเพื่อหาทีมที่ชนะในการ แข่งขันครั้งนั้น กติกาข้อ 12. การเล่นที่ผิดกติกาและเสียมารยาท โทษโดยอ้อม ( Indirect Free Kick ) ให้ฝ่ายตรงข้ามเตะโทษโดยอ้อม ถ้าผู้รักษาประตูกระทาผิดตามความผิดข้อหนึ่งข้อใดต่อไปนี้ 1. ภายหลังจากปล่อยลูกบอลจากการครอบครอง เขาได้รับลูกบอลคืนจากผู้เล่นฝ่ายเดียวกัน ก่อนที่ลูกบอลจะถูกส่งผ่านเส้นแบ่งแดน หรือได้ถูกเล่นหรือสัมผัสโดยผู้เล่นหรือสัมผัสโดยผู้เล่นฝ่ายตรง ข้าม
  • 44. 38 2. สัมผัสหรือครองครองลูกบอลด้วยมือ ภายหลังจากผู้เล่นฝ่ายเดียวกันเจตนาเตะส่งมาให้ 3. สัมผัสหรือครองครองลูกบอลด้วยมือภายหลังจากผู้เล่นฝ่ายเดียว กันส่งมาให้โดยตรงจากการเตะเข้าเล่น 4. สัมผัสหรือครอบครองลูกบอลด้วยมือหรือเท้าเกินกว่า 4 วินาที ยกเว้นลูกบอลอยู่ในฝ่ายแดนฝั่งตรงข้ามในสนามแข่งขัน จะให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม ที่ซึ่งมีการกระทาผิดกตอกาเกิดขึ้น ถ้าผู้ตัดสินพิจารณาว่าผู้เล่น 1. เล่นในลักษณะที่เป็นอันตราย 2. เจตนากีดขวางการเล่นของฝ่ายตรงข้าม เมื่อตนเองไม่ได้อยู่ในระยะที่เล่นลูกบอล 3. ป้องกันผู้รักษาประตูไม่ให้ปล่อยลูกบอลจากมือ 4. ความผิดอื่นๆที่ไม่ได้ระบุในกติกาข้อ 12 ที่ทาให้หยุดการเล่นลงเพื่อคาดโทษหรือไล่ผู้เล่น ออก การเตะโทษโดยอ้อมจะกระทา ณ จุดที่กระทาผิดกติกานอกจากการกระทาผิดเกิดขึ้นภายในเขตโ ทษ ในกรณีนี้การเตะโทษจะกระทาจากเส้นเขตโทษ ใกล้กับจุดที่กระทาผิดกติกาเกิดขึ้นมากที่สุด การลงโทษเรื่องระเบียบวินัย ( Disciplinary Sanctions )
  • 45. 39 การกระทาผิดที่ต้องถูกคาดโทษ ( Cautionable offences ) ผู้เล่นต้องถูกคาดโทษและแสดงใบเหลือง ถ้าเขากระทาผิดตามความผิดข้อหนึ่งข้อใด ต่อไปนี้ 1. กระทาผิดเกี่ยวกับการประพฤติอย่างไม่มีน้าใจเป็นนักกีฬา ( Unsporting Behaviour ) 2. แสดงการคัดค้านโดยคาพูด หรือกิริยาท่าทาง ( Dissent by Word or Action ) 3. กระทากติกาแข่งขันบ่อยๆ ( Persistenly Infringes the law of the Game ) 4. ชะลอการเริ่มเล่นใหม่ ( Delays the Restart of play ) 5. ไม่ถอยห่างไปอยู่ในระยะที่กาหนด เมื่อมีการเตะจากมุม การเตะเข้าเล่น การเตะโทษ หรือการเล่นลูกจากประตู เพื่อการเริ่มเล่นใหม่ 6. เข้าไปสมทบหรือกลับเข้าไปสมทบในสนามโดยไม่ได้รับอนุญา ตจากผู้ตัดสิน หรือกระทา ผิดกติกาการเปลี่ยนตัว 7. เจตนาออกจากสนามโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน การกระทาผิดดังกล่าวให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามเตะโทษโดยอ้อม ณ จุดที่มีการกระทาผิดกติกาเกิดขึ้น ถ้าการกระทาผิดกติกาเกิดขึ้นภายในเขตโทษ การเตะโทษ โดยอ้อมจะกระทาจาดเส้นเขตโทษ ณ จุดที่ใกล้ที่สุดที่การกระทาผิดกติกาเกิดขึ้น
  • 46. 40 การคาดโทษเป็นการเพิ่มเติมโดยมีเงื่อนไขว่า ไม่ให้มีการกระทาผิดกติการุนแรงเกิดขึ้นบ่อยครั้ง การกระทาผิดที่ต้องถูกให้ออก ( Sending off Offences ) ผู้เล่นต้องถูกให้ออกและแสดงใบแดง ถ้ากระทาผิดตามความผิดข้อหนึ่งข้อใดต่อไปนี้ 1. กระทาผิดกติกาการเล่นอย่างรุนแรง ( Serious Foul Play ) 2. ประพฤติผิดกติกาอย่างร้ายแรง ( Violent Conduct ) 3. ถ่มน้าลายใส่คู่ต่อสู้และบุคคลอื่นๆ ( Spits at an Opponent or any Other Person ) 4. ป้องกันฝ่ายตรงข้ามในการได้ประตูหรือทาให้เสียโอกาสในการ ทาประตูได้อย่างชัดเจน โดยเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือ (กรณีนี้ไม่รวมถึงผู้รักษาประตูที่อยู่ในเขตโทษของตนเอง) 5. ป้องกันโอกาสในการทาประตูได้อย่างชัดเจนของฝ่ายตรงข้ามที่ กาลังเคลื่อนที่มุ่งตรงไปยังหน้าประตูของฝ่ายตนโดยการกระทา ผิดกติกา ต้องถูกลงโทษเป็นโทษโดยตรงหรือเตะโทษ ณ จุดโทษ 6. กระทาผิดซ้าซาก ( Uses Offensive ) ใช้วาจาเหยียดหยามหยาบคาย ( Insulting or Abusive Language ) หรือแสดงท่าทางไม่เหมาะสม
  • 47. 41 7. ได้รับการคาดโทษเป็นครั้งที่สองในการแข่งขันครั้งเดียวกัน ( Receives a Second Caution in the Same Match ) ถ้าการเล่นได้หยุดลง เพราะว่าผู้เล่นถูกไล่ออกจากสนามแข่งขัน สาหรับการกระทาผิดข้อ 6 หรือข้อ 7 โดยไม่มีการกระทาผิดที่ต้องเพิ่มเติมการลงโทษอื่นใด ตามกติกาการเล่น การเริ่มเล่นใหม่โดยให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมจากที่ซึ่ งการทาผิดกติกาเกิดขึ้นอย่างไรก็ตาม ถ้าการกระทาผิดกติกาเกิดขึ้นภายในเขตโทษ การเตะโทษโดยอ้อมจะทาการเตะจากเส้นเขตโทษที่ใกล้ที่สุดที่ การกระทาผิดกติกาเกิดขึ้น ข้อตกลง ( Decisions ) กรณีผู้เล่นถูกให้ออก จะไม่สามารถกลับเข้ามาเล่นได้อีก และไม่สามารถนั่งบนที่นั่งสารองได้ และผู้เล่นจะเข้าไปแทนและเล่นได้ครบทีม เมื่อครบเวลา 2 นาทีหลังให้ออก ยกเว้นมีการทาประตูได้ก่อนถึงเวลา 2 นาที ในกรณีรี้จะปฏิบัติดังนี้ 1. ถ้าเล่นโดยมีจานวนผู้เล่น 5 : 4 คน และทีมที่มีจานวนผู้เล่นมากกว่าทาประตูได้ ทีมที่มีผู้เล่น 4 คน จะเพิ่มจานวนผู้เล่นให้ครบ 2. ถ้าทั้งสองทีมมีจานวนผู้เล่น 4 : 4 คนและมีการทาประตูได้ ให้คงเหลือผู้เล่นเท่าเดิม 3. ถ้าเล่นโดยมีจานวนผู้เล่น 5 : 3คนหรือ 4 : 3 และทีมที่มีผู้เล่นจานวนมากกว่าทาประตูได้ ทีมที่มีจานวนผู้เล่น
  • 48. 42 3 คน จะเพิ่มจานวนผู้เล่นได้ 1 คน 4. ถ้าทั้งสองทีมมีจานวนผู้เล่น 3 : 3 คน และมีการทาประตูได้ ให้คงเหลือจานวนผู้เล่นเท่าเดิม 5. ถ้าทีมที่มีผู้เล่นน้อยกว่าทาประตูได้ การเล่นจะดาเนินต่อไป โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงจานวนผู้เล่น กติกาข้อ 13. การเตะโทษ ประเภทของการเตะโทษ ( Type of Free Kick ) การเตะโทษมีทั้งโทษโดยตรง (Direct ) และโทษโดยอ้อม ( Indirect ) ในการเตะโทษโดยตรงและโดยอ้อม ในขณะที่เตะ ลูกบอลต้องตั้งวางนิ่งอยู่กับที่ เมื่อมีการเตะเกิดขึ้น ผู้เตะต้องไม่สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สอง ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นอื่นก่อน การเตะโทษโดยตรง ( The Direct Free Kick ) ถ้าเตะโทษโดยตรงทีเดียวเข้าประตูของฝ่ายตรงข้าจะถือว่าเป็น ประตู การเตะโทษโดยอ้อม ( The Indirect Free Kick ) จะเป็นประตูเมื่อลูกบอลได้ถูกสัมผัสโดยผู้เล่นอื่นๆก่อนที่จะเข้าป ระตู ตาแหน่งของการเตะโทษ ( Position of Free Kick )
  • 49. 43 1. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามทุกคนต้องอยู่ห่างจากลูกบอลไม่น้อยกว่า 5 เมตร จนกว่าลูกบอลอยู่ในการเล่น 2. ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นหลังจากลูกบอลถูกสัมผัสหรือถูกเล่น การกระทาผิดและการลงโทษ ( Infringements/Sanctions ) ถ้ามีการเตะโทษ ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามอยู่ใกล้ลูกบอลกว่าระยะที่กาหนด ให้เตะใหม่ ถ้าหลังจากลูกบอลอยู่ในการเล่น ผู้เล่นได้สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่ 2 ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่นให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโด ยอ้อม ณ จุดที่กระทาผิดกติกาเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม ถ้าการกระทาผิดนี้เกิดขึ้นภายในเขตโทษ การเตะโทษโดยอ้อมจะทาการเตะจากเส้นเขตโทษ ณ จุดที่ใกล้ที่สุดของการกระทาผิดเกิดขึ้น ถ้าฝ่ายที่ได้เตะโทษใช้เวลาเกินกว่า 4 วินาที ให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม สัญญาณ ( Signals ) 1. โทษโดยตรง ผู้ตัดสินจะยกแขนในแนวนอนชี้ไปในทิศทางของทีมที่กระทาผิ
  • 50. 44 ด และนับเป็นการกระทาผิดรวม ผู้ตัดสินจะแสดงสัญญาณชี้นิ้วลงพื้นเพื่อที่จะแจ้งให้ผู้ตัดสินที่ 3 ทราบ 2. โทษโดยอ้อม เมื่อผู้ตัดสินให้มีการเตะโทษโดยอ้อมจะต้องแสดงสัญญาณโดย การยกแขนชูขึ้นเหนือศีรษะ เขาจะยังยกแขนจนกว่าการเตะจะเกิดขึ้น และลูกบอลได้ถูกเล่นหรือสัมผัสโดยผู้เล่นอื่นก่อน หรือลูกบอลอยู่นอกการเล่น กติกาข้อ 14. การทาผิดกติการวม การทาผิดกติการวม (Accumulated Fouls) จะลงโทษด้วยโทษโดยตรงตามกติกาข้อ 12 การกระทาผิดกติการวม 5 ครั้งแรกของแต่ละทีมในแต่ละครึ่งเวลา จะต้องจดบันทึกในสรุปผลการแข่งขัน ตาแหน่งของการเตะโทษ ( Position of Free Kick ) สาหรับการทาผิดกติการวม 5 ครั้งแรกของแต่ละทีมในแต่ละครึ่งเวลาของการแข่งขัน จะถูกจดบันทึกไว้ 1. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามสามารถตั้งกาแพงได้
  • 51. 45 2. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามทั้งหมดต้องอยู่ห่างจากลูกบอลไม่น้อยกว่า 5 เมตร จนกว่าลูกบอลจะอยู่ในการเล่น 3. สามารถทาประตูได้โดยตรงจากการเตะโทษ การทาผิดกติการวมเพิ่มเป็นครั้งที่หกของแต่ละทีม ในแต่ละครึ่งเวลาของการแข่งขัน จะถูกบันทึกไว้ 1. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามไม่สามารถตั้งกาแพงได้ 2. ผู้เล่นที่เตะโทษต้องแสดงตัวอย่างชัดแจ้ง 3. ผู้รักษาประตูต้องอยู่ภายใยเขตโทษและอยู่ห่างจากเขตบอลไม่น้ อยกว่า 5 เมตร 4. ผู้เล่นทุกคนต้องอยู่ในสนามแข่งขัน แต่อยู่หลังเส้นสมมติที่เป็นแนวระดับเดียวกันกับลูกบอล และขนานกับเส้นประตูและอยู่นอกเขตโทษ ต้องอยู่ห่างจากลูกบอลไม่น้อยกว่า 5 เมตร และไม่กีดขวางผู้ที่จะทาการเตะโทษ ไม่มีผู้เล่นคนใดสามารถผ่านเส้นสมมติจนกว่าลูกบอลจะถูกสัมผั ส หรือถูกเล่น ขั้นตอนในการดาเนินการ ( สาหรับการทาผิดกติการวม 6 ครั้ง และครั้งต่อไป ) ( Procedure for the Sixth and Further Accumulated Fouls )