SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
LOGO
www.themegallery.com 1ระบบขับถ่าย
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 4 ( ว 22102)
เรื่อง ระบบขับถ่าย
โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
จุดประสงค์การเรียนรู้
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย2
1.ระบุอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการกาจัดของเสีย
2.อธิบายกระบวนการทางานของไต
3.สรุปความสาคัญของไตและตระหนักถึงการดูแลรักษาไต
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย3
กระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในร่างกาย นอกจากจะให้สิ่งที่
ประโยชน์ต่อร่างกายแล้วยังให้สิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ที่ร่างกายไม่ต้องการ
เรียกว่า ของเสีย
ของเสียที่เกิดขึ้นในร่างกายมีทั้งที่เป็น ของเหลว ของแข็ง และแก๊ส
บางอย่างเป็นพิษต่อร่างกาย ดังนั้น ร่างกายจึงต้องกาจัดออกสู่ภายนอก การ
กาจัดของเสียในร่างกายทาได้หลายทาง เช่น ทางไต ทางผิวหนัง ทางปอด
ทางลาไส้ใหญ่ เป็นต้น
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย4
ระบบขับถ่าย เป็นระบบที่ทาหน้าที่ ขับถ่ายของเสีย
ออกนอกร่างกาย โดยร่างกายเราจะขับของเสียออกมาใน 3
รูปแบบ ดังนี้
1. การขับถ่ายของเสียในรูปของแก๊ส (ลมหายใจ)
2. การขับถ่ายของเสียในรูปของเหลว(เหงื่อ/ปัสสาวะ)
3. การขับถ่ายของเสียในรูปของแข็ง (อุจจาระ)
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย
ปัสสาวะ
อุจจาระ
ลมหายใจการขับถ่ายของเสียในรูปของแก๊ส
การขับถ่ายของเสียในรูปของเหลว
การขับถ่ายของเสียในรูปของแข็ง
5
ปอด
สาไส้ใหญ่
ผิวหนัง,ไต
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย6
ไต (Kidney) ทาหน้าที่กาจัดของเสีย
ในรูปของ น้าปัสสาวะ ไตมี 2 ข้าง
มีลักษณะคล้ายเม็ดถั่วดาสีแดงแกม
น้าตาล อยู่บริเวณช่องท้องด้านหลัง
สองข้างใกล้กระดูกสันหลังระดับเอว
มีขนาดโดยประมาณ ยาว 10 cm
กว้าง 6 cm และหนา 3 cm
รูป ตาแหน่งของไต
การกาจัดของเสียทางไต
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย7
อวัยวะในการกาจัดของเสียทางไต
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย8
รูป โครงสร้างของไต
ถ้าผ่าไตตามยาวจะพบว่าไต
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ
๏ เปลือกไตชั้นนอก เรียกว่า
คอร์เทกซ์(Cortex)
๏ เปลือกไตชั้นใน เรียกว่า
เมดัลลา(Medulla)
โครงสร้างของไต
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com
ระบบขับถ่าย9
หน่วยไต ประกอบด้วยท่อที่ขดไปขดมา
โดยมีปลายข้างหนึ่งตัน เรียกว่า โบว์แมนส์
แคปซูล(Bowman’s capsule)ซึ่งมีลักษณะ
เป็นแอ่งคล้ายถ้วย ภายในแอ่งจะมีกลุ่มเส้น
เลือดฝอยพันกันเป็นกระจุกเรียกว่า โกล
เมอรูลัส (glomerulus) ซึ่งจะทาหน้าที่
กรองของเสียออกจากเลือด
โบว์แมนส์แคปซูลโกลเมอรูลัส
หลอดเลือดออกจากหัวใจ
เข้าสู่ไต (renal artery)
หลอดเลือดออกจากไต
เข้าสู่หัวใจ (renal vein)
สู่หลอดไต
รูป โครสร้างของหน่วยไต
หน่วยไต (Nephron)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย10
ส่วนประกอบของไต
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย11
ขั้นตอนการกรองเลือดที่ไต
สารที่ไม่เป็นเป็นประโยชน์ที่ร่างกายต้อง
กาจัดออก (น้า เกลือแร่ และยูเรีย หรือปัสสาวะ)
ไต
หน่วยไต
สารที่เป็นประโยชน์
(กลูโคส กรดอะมิโน และน้า)
หลอดไต/ท่อไต
กระเพาะปัสสาวะ
หลอดเลือดดาเข้าสู่หัวใจ
หลอดเลือดฝอย
หลอดเลือดแดงออก
จากหัวใจ
(renal artery)
ท่อปัสสาวะ
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย12
เลือดมากรองที่ไตนาทีละ 1,200 มิลลิลิตร หรือวันละ 180 ลิตร
กระเพาะปัสสาวะจุปัสสาวะได้ 500 cm3 และจะรู้สึกปวดปัสสาวะเมื่อ
มีน้าปัสสาวะ250 cm3 คนปกติถ่ายปัสสาวะออกมาประมาณวันละ 1-1.5 ลิตร
ส่วนประกอบของน้าปัสสาวะ
น้า 95 % โซเดียม 0.35% โพแทสเซียม 0.15% คลอรีน 0.6 %
ฟอสเฟต 0.15% แอมโมเนีย 0.04% ยูเรีย 2.0% กรดยูริก 0.05% ครีเอทินิน 0.75 %
โรคนิ่ว เกิดจากตกตะกอนของแร่ธาตุไปอุดตันทางเดินท่อปัสสาวะ จะทาให้
ปัสสาวะลาบาก
ไตเทียม เป็นเครื่องมือที่อยู่ภายนอกร่างกาย
การปลูกไต เป็นการนาไตของผู้อื่นมาใส่ให้กับผู้ป่วย
รู้ไว้ใช่ว่า...ใส่บ่าแบกหาม!!!
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย13
ไตทางานผิดปกติ
ถ้าไตทางานผิดปกติ จะทาให้การกรองสารต่าง ๆ ผิดปกติ ซึ่งอาจ
ตรวจพบสารบางชนิดในน้าปัสสาวะ เช่น น้าตาลกลูโคส กรดอะมิโน
เม็ดเลือดแดง ดังนั้น การตรวจน้าปัสสาวะจึงเป็นการตรวจเบื้องต้น
เกี่ยวกับการทางานของไต
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย14
ผิวหนังกาจัดของเสียในรูปของเหงื่อ
ผิวหนังมีต่อมเหงื่อซึ่งประกอบด้วยท่อเล็ก ๆ
ขดไปมารอบท่อมีกลุ่มเส้นเลือดฝอย
มาพันอยู่ การกรองของเสียออกจากเลือดจะ
เกิดที่ต่อมเหงื่อนี้
รูป โครงสร้างของผิวหนัง
ต่อมเหงื่อ
การกาจัดของเสียทางผิวหนัง
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย15
เหงื่อ (Sweat)
เหงื่อประกอบด้วย น้า 99 %
นอกนั้นเป็นเกลือโซเดียมคลอไรด์ยูเรีย
แอมโมเนีย กรดอะมิโน น้าตาล และ
กรดแลกติก เหงื่อขับออกจากร่างกายทาง
ผิวหนังโดยผ่าน
ต่อมเหงื่อ ท่อเหงื่อ รูเหงื่อ
รูป โครงสร้างของผิวหนัง
ต่อมเหงื่อ
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย16
ต่อมเหงื่อแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือต่อมเหงื่อ (Sweat gland)
1. ต่อมเหงื่อขนาดเล็ก มีอยู่ที่ผิวหนังทั่วทุกแห่ง ยกเว้น ริมฝีปากและที่
อวัยวะสืบพันธุ์บางส่วน ต่อมเหงื่ออยู่ติดต่อกับท่อขับถ่ายซึ่งเปิดออกที่ผิวหนัง
ชั้นนอกสุด มีการสร้างเหงื่อแล้วขับถ่ายและระเหย ไปตลอดเวลา ที่อุณหภูมิ
32 องศาเซลเซียส จะมีการขับเหงื่อออกมาเห็นได้ชัดเจน
2. ต่อมเหงื่อขนาดใหญ่ พบได้เฉพาะบางแห่ง ได้แก่ รักแร้ รอบหัวนม รอบ
สะดือ ช่องหูส่วนนอก จมูก อวัยวะสืบพันธุ์บางส่วน มีท่อขับถ่ายใหญ่กว่าต่อม
เหงื่อขนาดเล็ก และเปิดที่รูขนใต้ผิวหนัง ปกติจะ ไม่เปิดโดยตรงที่ผิวหนังชั้นนอก
สุด ทางานตอบสนองต่อการกระตุ้นทางจิตใจ สารที่ขับถ่าย มักมีกลิ่น คือ
กลิ่นตัว
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย17
ต่อมเหงื่อ
รูป โครงสร้างของผิวหนัง
ความรู้เพิ่มเติม
๏ ผิวหนังระบายความร้อนจากร่างกาย
โดยมีความร้อนเสียไปทางผิวหนัง
ประมาณ 87.5 %
๏ ผู้ที่ออกกาลังกายมาก ๆ จะเสียน้าและ
โซเดียมคลอไรด์ ไปทางเหงื่อจึงต้องดื่ม
น้า และเกลือโซเดียมคลอไรด์ทดแทน
๏ ต่อมเหงื่อบางส่วนถูกควบคุมด้วย
ประสาทอัตโนวัติ เมื่อตกใจหรือมีอารมณ์
เครียดจะมีการกระตุ้นให้เหงื่อออกมาก
ผิดปกติ
หนังกาพร้า
หนังแท้
ท่อเหงื่อ
ชั้นใต้ผิวหนัง
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย18
ลาไส้ใหญ่ มีความยาวประมาณ
1.50 เมตร กาจัดของเสียในรูป อุจจาระ
โดยออกสู่ภายนอกทางทวารหนัก
อุจจาระ คือ อาหารส่วนที่เหลือ
จากการย่อยและส่วนที่ย่อยไม่ได้
หลังจากรับประทานอาหารแล้วประมาณ
8-9 ชั่วโมง
รูป โครงสร้างของลาไส้ใหญ่
ลาไส้ใหญ่มีต่อมสร้างเมือก
ไม่มีต่อมสร้างน้าย่อย
การกาจัดของเสียทางลาไส้ใหญ่
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย19
ลาไส้ใหญ่ทาหน้าที่สะสมกากอาหาร
และดูดซึมสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ได้แก่ น้า วิตามิน กลูโคส และแร่ธาตุพวก Na+
และ K+ ออกจากกากอาหาร ทาให้กากอาหาร
เหนียวและแข็งขึ้นหลังจากนั้นจึงบีบตัวให้กาก
อาหารไปรวมกันที่ลาไส้ตรงและขับออกสู่
ภายนอกเรียกว่า อุจจาระ
หน้าที่ของลาไส้ใหญ่
รูป กากอาหารในลาไส้ใหญ่
ที่มาของภาพ : Lee Khee Boon , Chuen Wee Hong : 82
ในลาไส้ใหญ่มีแบคทีเรียอาศัยอยู่จานวนมาก ทั้งที่เป็น
ประโยชน์ และที่ไม่เป็นประโยชน์ ที่เป็นประโยชน์ เช่น ช่วย
สังเคราะห์วิตามิน B12 และที่ไม่เป็นประโยชน์ คือ เชื้อโรคต่าง ๆ
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย20
1. กินอาหารที่มีกากหรือใยอาหารน้อย
2. กินอาหารรสจัด
3. ดื่มน้าชา กาแฟ มากเกินไป
4. สูบบุหรี่จัด
5. ถ่ายอุจจาระไม่เป็นเวลา หรือกลั้นอุจจาระติดต่อกันหลายวัน
6. เกิดความเครียด หรือความกังวลมาก
โดยปกติ กากอาหารผ่านเข้าสู่ลาไส้ใหญ่ประมาณวันละ 300-500 cm3
ซึ่งจะทาให้เกิดอุจจาระประมาณวันละ 150 g
ท้องผูก เกิดจากอุจจาระตกค้างอยู่ในลาไส้ใหญ่หลายวันผนังลาไส้ใหญ่จะดูดซึมน้า
กลับเข้าสู่ร่างกาย ทาให้อุจจาระแข็งยากในการขับถ่ายทาให้ แน่นท้อง อึดอัด ปวดท้องหรือปวด
หลัง ท้องผูกนาน ๆ อาจเป็นสาเหตุของ โรคริดสีดวงทวาร
อาการท้องผูก
สาเหตุของ
อาการท้องผูก
1. กินอาหารที่มีใยอาหารสูง เช่น พืช ผัก ผลไม้ ธัญพืช ซึ่งเอนไซม์ในร่างกายไม่สามารถย่อยได้
เช่น เซลล์ลูโลส เฮมิเซลล์ลูโลส เพคทิน และลิกนิน ทาให้ลาไส้ใหญ่บีบตัวได้ดี เนื่องจากกากอาหาร
มีน้าหนักมาก และแบคทีเรียในลาไส้ใหญ่ย่อยใยอาหารได้ กรดไขมัน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และ
แก๊สมีเทน ซึ่งกรดไขมันจะกระตุ้นให้ลาไส้ใหญ่บีบตัวเกิดการขับถ่ายเร็ว และช่วยลดสารพิษต่าง ๆ
ป้องกันโรคมะเร็งลาไส้ใหญ่
2. ถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา
3. ทาจิตใจให้แจ่มในเบิกบาน
4. งดสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงการดื่มน้าชาและกาแฟ
5. หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด
6. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
การป้องกันการเกิดอาการท้องผูก
รูป ลาไส้ใหญ่
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
ของเสียที่ถูกกาจัดออกจากร่างกายทางปอด
ได้แก่ น้า และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ซึ่งเป็นผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการหายใจ
ของเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย
ที่มาของภาพ : สสวท. ชีววิทยาเล่ม 2 : 45
รูป การกาจัดของเสียทางปอด
การกาจัดของเสียทางปอด
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
1. น้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นแพร่ออกจากเซลล์เข้าสู่หลอดเลือด
โดยละลายปนอยู่ในเลือดก่อนที่จะถูกลาเลียงส่งต่อไป
2. เลือดที่มีของเสียละลายปนอยู่ถูกลาเลียงไปยังปอด ผ่านหัวใจ เพื่อส่งต่อไป
แลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอด
3. เลือดที่มีของเสียละลายปนอยู่ เมื่อไปถึงบริเวณปอด ของเสียต่าง ๆ ที่สะสม
อยู่ ในเลือด จะแพร่ผ่านผนังของหลอดเลือดเข้าสู่ถุงลมของปอดและจะถูกลาเลียงไป
ตามหลอดลม เพื่อกาจัดออกจากร่างกายทางจมูกพร้อมกับลมหายใจออก
ขั้นตอนในการกาจัดของเสียทางปอด
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
ระบบขับถ่าย (Excretory System)
www.themegallery.com ระบบขับถ่าย25
ข้อควรปฏิบัติ
1. รับประทานอาหารที่มีคุณค่า โดยเฉพาะอาหารที่มีกากมากๆ
เช่น ผักต่าง ๆ
2. ไม่รับประทานอาหารที่มีรสจัด โดยเฉพาะเค็มจัด
3. ดื่มน้าที่สะอาดอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
4. ไม่กลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน เพราะจะทาให้กระเพาะปัสสาวะ
อักเสบได้
LOGO
www.themegallery.com
www.themegallery.com 26ระบบขับถ่าย

More Related Content

What's hot

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกพัน พัน
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 

Similar to ระบบขับถ่าย ม.2

เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thitichaya24
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thitichaya24
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ พัน พัน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9Bios Logos
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 

Similar to ระบบขับถ่าย ม.2 (20)

ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2 hormone p_lan
2 hormone p_lan2 hormone p_lan
2 hormone p_lan
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
G2
G2G2
G2
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 

ระบบขับถ่าย ม.2

  • 3. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย3 กระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในร่างกาย นอกจากจะให้สิ่งที่ ประโยชน์ต่อร่างกายแล้วยังให้สิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ที่ร่างกายไม่ต้องการ เรียกว่า ของเสีย ของเสียที่เกิดขึ้นในร่างกายมีทั้งที่เป็น ของเหลว ของแข็ง และแก๊ส บางอย่างเป็นพิษต่อร่างกาย ดังนั้น ร่างกายจึงต้องกาจัดออกสู่ภายนอก การ กาจัดของเสียในร่างกายทาได้หลายทาง เช่น ทางไต ทางผิวหนัง ทางปอด ทางลาไส้ใหญ่ เป็นต้น
  • 4. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย4 ระบบขับถ่าย เป็นระบบที่ทาหน้าที่ ขับถ่ายของเสีย ออกนอกร่างกาย โดยร่างกายเราจะขับของเสียออกมาใน 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. การขับถ่ายของเสียในรูปของแก๊ส (ลมหายใจ) 2. การขับถ่ายของเสียในรูปของเหลว(เหงื่อ/ปัสสาวะ) 3. การขับถ่ายของเสียในรูปของแข็ง (อุจจาระ)
  • 5. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย ปัสสาวะ อุจจาระ ลมหายใจการขับถ่ายของเสียในรูปของแก๊ส การขับถ่ายของเสียในรูปของเหลว การขับถ่ายของเสียในรูปของแข็ง 5 ปอด สาไส้ใหญ่ ผิวหนัง,ไต
  • 6. www.themegallery.com ระบบขับถ่าย6 ไต (Kidney) ทาหน้าที่กาจัดของเสีย ในรูปของ น้าปัสสาวะ ไตมี 2 ข้าง มีลักษณะคล้ายเม็ดถั่วดาสีแดงแกม น้าตาล อยู่บริเวณช่องท้องด้านหลัง สองข้างใกล้กระดูกสันหลังระดับเอว มีขนาดโดยประมาณ ยาว 10 cm กว้าง 6 cm และหนา 3 cm รูป ตาแหน่งของไต การกาจัดของเสียทางไต ระบบขับถ่าย (Excretory System)
  • 7. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย7 อวัยวะในการกาจัดของเสียทางไต
  • 8. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย8 รูป โครงสร้างของไต ถ้าผ่าไตตามยาวจะพบว่าไต ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ ๏ เปลือกไตชั้นนอก เรียกว่า คอร์เทกซ์(Cortex) ๏ เปลือกไตชั้นใน เรียกว่า เมดัลลา(Medulla) โครงสร้างของไต
  • 9. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย9 หน่วยไต ประกอบด้วยท่อที่ขดไปขดมา โดยมีปลายข้างหนึ่งตัน เรียกว่า โบว์แมนส์ แคปซูล(Bowman’s capsule)ซึ่งมีลักษณะ เป็นแอ่งคล้ายถ้วย ภายในแอ่งจะมีกลุ่มเส้น เลือดฝอยพันกันเป็นกระจุกเรียกว่า โกล เมอรูลัส (glomerulus) ซึ่งจะทาหน้าที่ กรองของเสียออกจากเลือด โบว์แมนส์แคปซูลโกลเมอรูลัส หลอดเลือดออกจากหัวใจ เข้าสู่ไต (renal artery) หลอดเลือดออกจากไต เข้าสู่หัวใจ (renal vein) สู่หลอดไต รูป โครสร้างของหน่วยไต หน่วยไต (Nephron)
  • 11. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย11 ขั้นตอนการกรองเลือดที่ไต สารที่ไม่เป็นเป็นประโยชน์ที่ร่างกายต้อง กาจัดออก (น้า เกลือแร่ และยูเรีย หรือปัสสาวะ) ไต หน่วยไต สารที่เป็นประโยชน์ (กลูโคส กรดอะมิโน และน้า) หลอดไต/ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ หลอดเลือดดาเข้าสู่หัวใจ หลอดเลือดฝอย หลอดเลือดแดงออก จากหัวใจ (renal artery) ท่อปัสสาวะ
  • 12. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย12 เลือดมากรองที่ไตนาทีละ 1,200 มิลลิลิตร หรือวันละ 180 ลิตร กระเพาะปัสสาวะจุปัสสาวะได้ 500 cm3 และจะรู้สึกปวดปัสสาวะเมื่อ มีน้าปัสสาวะ250 cm3 คนปกติถ่ายปัสสาวะออกมาประมาณวันละ 1-1.5 ลิตร ส่วนประกอบของน้าปัสสาวะ น้า 95 % โซเดียม 0.35% โพแทสเซียม 0.15% คลอรีน 0.6 % ฟอสเฟต 0.15% แอมโมเนีย 0.04% ยูเรีย 2.0% กรดยูริก 0.05% ครีเอทินิน 0.75 % โรคนิ่ว เกิดจากตกตะกอนของแร่ธาตุไปอุดตันทางเดินท่อปัสสาวะ จะทาให้ ปัสสาวะลาบาก ไตเทียม เป็นเครื่องมือที่อยู่ภายนอกร่างกาย การปลูกไต เป็นการนาไตของผู้อื่นมาใส่ให้กับผู้ป่วย รู้ไว้ใช่ว่า...ใส่บ่าแบกหาม!!!
  • 13. www.themegallery.com ระบบขับถ่าย13 ไตทางานผิดปกติ ถ้าไตทางานผิดปกติ จะทาให้การกรองสารต่าง ๆ ผิดปกติ ซึ่งอาจ ตรวจพบสารบางชนิดในน้าปัสสาวะ เช่น น้าตาลกลูโคส กรดอะมิโน เม็ดเลือดแดง ดังนั้น การตรวจน้าปัสสาวะจึงเป็นการตรวจเบื้องต้น เกี่ยวกับการทางานของไต ระบบขับถ่าย (Excretory System)
  • 14. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย14 ผิวหนังกาจัดของเสียในรูปของเหงื่อ ผิวหนังมีต่อมเหงื่อซึ่งประกอบด้วยท่อเล็ก ๆ ขดไปมารอบท่อมีกลุ่มเส้นเลือดฝอย มาพันอยู่ การกรองของเสียออกจากเลือดจะ เกิดที่ต่อมเหงื่อนี้ รูป โครงสร้างของผิวหนัง ต่อมเหงื่อ การกาจัดของเสียทางผิวหนัง
  • 15. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย15 เหงื่อ (Sweat) เหงื่อประกอบด้วย น้า 99 % นอกนั้นเป็นเกลือโซเดียมคลอไรด์ยูเรีย แอมโมเนีย กรดอะมิโน น้าตาล และ กรดแลกติก เหงื่อขับออกจากร่างกายทาง ผิวหนังโดยผ่าน ต่อมเหงื่อ ท่อเหงื่อ รูเหงื่อ รูป โครงสร้างของผิวหนัง ต่อมเหงื่อ
  • 16. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย16 ต่อมเหงื่อแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือต่อมเหงื่อ (Sweat gland) 1. ต่อมเหงื่อขนาดเล็ก มีอยู่ที่ผิวหนังทั่วทุกแห่ง ยกเว้น ริมฝีปากและที่ อวัยวะสืบพันธุ์บางส่วน ต่อมเหงื่ออยู่ติดต่อกับท่อขับถ่ายซึ่งเปิดออกที่ผิวหนัง ชั้นนอกสุด มีการสร้างเหงื่อแล้วขับถ่ายและระเหย ไปตลอดเวลา ที่อุณหภูมิ 32 องศาเซลเซียส จะมีการขับเหงื่อออกมาเห็นได้ชัดเจน 2. ต่อมเหงื่อขนาดใหญ่ พบได้เฉพาะบางแห่ง ได้แก่ รักแร้ รอบหัวนม รอบ สะดือ ช่องหูส่วนนอก จมูก อวัยวะสืบพันธุ์บางส่วน มีท่อขับถ่ายใหญ่กว่าต่อม เหงื่อขนาดเล็ก และเปิดที่รูขนใต้ผิวหนัง ปกติจะ ไม่เปิดโดยตรงที่ผิวหนังชั้นนอก สุด ทางานตอบสนองต่อการกระตุ้นทางจิตใจ สารที่ขับถ่าย มักมีกลิ่น คือ กลิ่นตัว
  • 17. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย17 ต่อมเหงื่อ รูป โครงสร้างของผิวหนัง ความรู้เพิ่มเติม ๏ ผิวหนังระบายความร้อนจากร่างกาย โดยมีความร้อนเสียไปทางผิวหนัง ประมาณ 87.5 % ๏ ผู้ที่ออกกาลังกายมาก ๆ จะเสียน้าและ โซเดียมคลอไรด์ ไปทางเหงื่อจึงต้องดื่ม น้า และเกลือโซเดียมคลอไรด์ทดแทน ๏ ต่อมเหงื่อบางส่วนถูกควบคุมด้วย ประสาทอัตโนวัติ เมื่อตกใจหรือมีอารมณ์ เครียดจะมีการกระตุ้นให้เหงื่อออกมาก ผิดปกติ หนังกาพร้า หนังแท้ ท่อเหงื่อ ชั้นใต้ผิวหนัง
  • 18. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย18 ลาไส้ใหญ่ มีความยาวประมาณ 1.50 เมตร กาจัดของเสียในรูป อุจจาระ โดยออกสู่ภายนอกทางทวารหนัก อุจจาระ คือ อาหารส่วนที่เหลือ จากการย่อยและส่วนที่ย่อยไม่ได้ หลังจากรับประทานอาหารแล้วประมาณ 8-9 ชั่วโมง รูป โครงสร้างของลาไส้ใหญ่ ลาไส้ใหญ่มีต่อมสร้างเมือก ไม่มีต่อมสร้างน้าย่อย การกาจัดของเสียทางลาไส้ใหญ่
  • 19. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย19 ลาไส้ใหญ่ทาหน้าที่สะสมกากอาหาร และดูดซึมสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ได้แก่ น้า วิตามิน กลูโคส และแร่ธาตุพวก Na+ และ K+ ออกจากกากอาหาร ทาให้กากอาหาร เหนียวและแข็งขึ้นหลังจากนั้นจึงบีบตัวให้กาก อาหารไปรวมกันที่ลาไส้ตรงและขับออกสู่ ภายนอกเรียกว่า อุจจาระ หน้าที่ของลาไส้ใหญ่ รูป กากอาหารในลาไส้ใหญ่ ที่มาของภาพ : Lee Khee Boon , Chuen Wee Hong : 82 ในลาไส้ใหญ่มีแบคทีเรียอาศัยอยู่จานวนมาก ทั้งที่เป็น ประโยชน์ และที่ไม่เป็นประโยชน์ ที่เป็นประโยชน์ เช่น ช่วย สังเคราะห์วิตามิน B12 และที่ไม่เป็นประโยชน์ คือ เชื้อโรคต่าง ๆ
  • 20. ระบบขับถ่าย (Excretory System) www.themegallery.com ระบบขับถ่าย20 1. กินอาหารที่มีกากหรือใยอาหารน้อย 2. กินอาหารรสจัด 3. ดื่มน้าชา กาแฟ มากเกินไป 4. สูบบุหรี่จัด 5. ถ่ายอุจจาระไม่เป็นเวลา หรือกลั้นอุจจาระติดต่อกันหลายวัน 6. เกิดความเครียด หรือความกังวลมาก โดยปกติ กากอาหารผ่านเข้าสู่ลาไส้ใหญ่ประมาณวันละ 300-500 cm3 ซึ่งจะทาให้เกิดอุจจาระประมาณวันละ 150 g ท้องผูก เกิดจากอุจจาระตกค้างอยู่ในลาไส้ใหญ่หลายวันผนังลาไส้ใหญ่จะดูดซึมน้า กลับเข้าสู่ร่างกาย ทาให้อุจจาระแข็งยากในการขับถ่ายทาให้ แน่นท้อง อึดอัด ปวดท้องหรือปวด หลัง ท้องผูกนาน ๆ อาจเป็นสาเหตุของ โรคริดสีดวงทวาร อาการท้องผูก สาเหตุของ อาการท้องผูก
  • 21. 1. กินอาหารที่มีใยอาหารสูง เช่น พืช ผัก ผลไม้ ธัญพืช ซึ่งเอนไซม์ในร่างกายไม่สามารถย่อยได้ เช่น เซลล์ลูโลส เฮมิเซลล์ลูโลส เพคทิน และลิกนิน ทาให้ลาไส้ใหญ่บีบตัวได้ดี เนื่องจากกากอาหาร มีน้าหนักมาก และแบคทีเรียในลาไส้ใหญ่ย่อยใยอาหารได้ กรดไขมัน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และ แก๊สมีเทน ซึ่งกรดไขมันจะกระตุ้นให้ลาไส้ใหญ่บีบตัวเกิดการขับถ่ายเร็ว และช่วยลดสารพิษต่าง ๆ ป้องกันโรคมะเร็งลาไส้ใหญ่ 2. ถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา 3. ทาจิตใจให้แจ่มในเบิกบาน 4. งดสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงการดื่มน้าชาและกาแฟ 5. หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด 6. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ การป้องกันการเกิดอาการท้องผูก รูป ลาไส้ใหญ่ ระบบขับถ่าย (Excretory System)
  • 22. ของเสียที่ถูกกาจัดออกจากร่างกายทางปอด ได้แก่ น้า และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการหายใจ ของเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย ที่มาของภาพ : สสวท. ชีววิทยาเล่ม 2 : 45 รูป การกาจัดของเสียทางปอด การกาจัดของเสียทางปอด ระบบขับถ่าย (Excretory System)
  • 23. 1. น้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นแพร่ออกจากเซลล์เข้าสู่หลอดเลือด โดยละลายปนอยู่ในเลือดก่อนที่จะถูกลาเลียงส่งต่อไป 2. เลือดที่มีของเสียละลายปนอยู่ถูกลาเลียงไปยังปอด ผ่านหัวใจ เพื่อส่งต่อไป แลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอด 3. เลือดที่มีของเสียละลายปนอยู่ เมื่อไปถึงบริเวณปอด ของเสียต่าง ๆ ที่สะสม อยู่ ในเลือด จะแพร่ผ่านผนังของหลอดเลือดเข้าสู่ถุงลมของปอดและจะถูกลาเลียงไป ตามหลอดลม เพื่อกาจัดออกจากร่างกายทางจมูกพร้อมกับลมหายใจออก ขั้นตอนในการกาจัดของเสียทางปอด ระบบขับถ่าย (Excretory System)
  • 25. www.themegallery.com ระบบขับถ่าย25 ข้อควรปฏิบัติ 1. รับประทานอาหารที่มีคุณค่า โดยเฉพาะอาหารที่มีกากมากๆ เช่น ผักต่าง ๆ 2. ไม่รับประทานอาหารที่มีรสจัด โดยเฉพาะเค็มจัด 3. ดื่มน้าที่สะอาดอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว 4. ไม่กลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน เพราะจะทาให้กระเพาะปัสสาวะ อักเสบได้