SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 3.1 การแพร่และการออสโมซิส

                                   1. กระบวนการแพร่ของสาร

1.1 หลักการแพร่ของสาร
             การแพร่ของสาร (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่หรือการกระจายของโมเลกุลของสารจาก
    บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารมาก (มีจานวนโมเลกุลของสารมาก) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของ
    สารน้อย (มีจานวนโมเลกุลของสารน้อย) โดยอาจผ่านเยื่อเลือกผ่าน หรือไม่ผ่านเยื่อเลือกผ่านก็ได้
             สารที่แพร่ได้อาจอยู่ในสภาวะแก๊สหรือของเหลวก็ได้ โดยโมเลกุลของสารจะกระจายออกไปทุก
    ทิศทางในตัวกลาง จนทาให้ทุกบริเวณมีความเข้มข้นของสารเท่ากัน เช่น การหยดหมึกแดงลงในน้า
    เมื่อตั้งทิ้งไว้สักครู่ โมเลกุลของหมึกแดงก็จะแพร่ไปในโมเลกุลน้า ในที่สุดหมึกแดงก็จะกระจายไปทั่ว
    ในน้า ทาให้เรามองเห็นน้ามีสีแดงหรือสีชมพูทั่วทุกส่วน หรือการแพร่ของสาร 2 ชนิด ซึ่งอยู่คนละ
    ด้านกัน แต่มีเยื่อบางๆ กั้น (เยื่อเลือกผ่าน) สารแต่ละชนิดจะเคลื่อนที่ไปยังด้านตรงข้าม (ด้านที่มีสาร
    นั้น
    น้อยกว่า) จนกระทั่งทั้ง 2 ด้าน มีปริมาณสารทั้ง 2 ชนิด เท่ากัน หรือจนกระทั่งทั้ง 2 ด้าน มีความเข้มข้น
    ของสารทั้ง 2 ชนิด เท่ากันนั่นเอง




                                         กระบวนการแพร่ของสาร

1.2 การแพร่ของก๊าซที่ราก
     ก๊าซออกซิเจนจากอากาศที่อยู่ตามช่องว่างระหว่างอนุภาคดินจะแพร่เข้าสู่เซลล์ขนราก แล้วแพร่
    กระจายไปยังเซลล์ข้างเคียงต่อๆ กันไป ทั้งนี้เซลล์จะใช้ก๊าซออกซิเจนในกระบวนการทางเคมีของเซลล์
    เพื่อสลายสารอาหารให้กลายเป็นพลังงาน จากนั้นจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) ออกมาจาก
    เซลล์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมานี้จะแพร่ออกในทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางการแพร่
    ของก๊าซออกซิเจน
ในบริเวณที่ดินมีน้าท่วมขัง การแลกเปลี่ยนก๊าซจะเกิดขึ้นไม่สะดวก เพราะอากาศระหว่างอนุภาค
ดินมีน้อย พืชจะขาดก๊าซออกซิเจน ยกเว้นพืชที่สามารถสร้างรากให้โค้งขึ้นโผล่พ้นผิวดิน เช่น รากของต้น
โกงกางและต้นลาพู

1.3 การแพร่กับการเปิดและปิดของปากใบ
          เซลล์คุมเป็นเซลล์ที่มีคลอโรพลาสต์อยู่ภายใน จึงเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงขึ้นในเวลากลางวัน
ทาให้ความเข้มข้นของสารภายในเซลล์คุมสูงกว่าความเข้มข้นของสารในเซลล์ข้างเคียง น้าจากเซลล์
ข้างเคียงจะแพร่ผ่านเข้ามาในเซลล์คุม เกิดแรงดันดันให้ส่วนผนังด้านนอกซึ่งบางกว่าด้านในโป่งออกทาง
ด้านข้างและดึงผนังเซลล์ด้านในให้โค้งออกด้วย ทาให้ ปากใบเปิด
          ในเวลากลางคืนจะไม่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงภายในเซลล์คุม ทาให้ความเข้มข้นของสารภายใน
เซลล์คุมต่ากว่าความเข้มข้นของสารในเซลล์ข้างเคียง น้าในเซลล์คุมจึงแพร่ออกไปยังเซลล์ข้างเคียง เซลล์คุม
จึงเหี่ยว ทาให้ปากใบปิด
          การเปิดและปิดของปากใบมีความสาคัญต่อการแลกเปลี่ยนก๊าซของพืชเนื่องจากก๊าซต่างๆ จะแพร่
ผ่านเข้าออกทางปากใบเป็นส่วนใหญ่ โดยพืชจะดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศผ่านปากใบไปใช้ใน
การสังเคราะห์ด้วยแสง และพืชยังปล่อยก๊าซออกซิเจนที่เกิดจากการสังเคราะห์ด้วยแสงออกสู่บรรยากาศ
ผ่านทางปากใบด้วย




                                           2. กระบวนการออสโมซิส


2.1 หลักการออสโมซิส
   ออสโมซิส              (osmosis) หมายถึง การแพร่ของโมเลกุลของน้าจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ามาก
  (มีจานวนโมเลกุลของน้ามาก) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย (มีจานวนโมเลกุลของน้าน้อย) โดย
  ผ่านเยื่อกั้นบางๆ ซึ่งทาหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน ( semi – permeable membrane )
            เยื่อเลือกผ่าน คือ เยื่อบางๆ ที่ยอมให้สารบางอย่างผ่านได้ แต่สารบางอย่างผ่านไม่ได้ ตัวอย่างเช่น
 เยื่อหุ้มเซลล์ที่ทาหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน

2.2 ออสโมซิสในพืช
ออสโมซิสเป็นกระบวนการดูดน้าที่พบมากที่สุดในพืชทั่วๆ ไป ในสภาวะปกติและเกิดขึ้นอย่าง
ต่อเนื่องตลอดเวลา เนื่องจากสารละลายในดินทั่วไปจะมีความเข้มข้นน้อยกว่าสารละลายในเซลล์รากทาให้
เกิดการออสโมซิสขึ้น โดยน้าในดินจะแพร่เข้าสู่เซลล์ราก ทาให้เซลล์รากที่รับน้าจากดินเข้าไปมีความ
เข้มข้นของสารน้อยกว่าเซลล์รากที่อยู่ถัดไป จึงเกิดการออสโมซิสต่อไป น้ามีการแพร่ไปยังเซลล์ที่อยู่ถัดไป
เป็นเช่นนี้อย่างต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ จนถึงท่อลาเลียงน้าที่เรียกว่า ไซเลม ( xylem ) ซึ่งจะลาเลียงน้าส่งไปยัง
ส่วนต่างๆ ของพืชต่อไป



2.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดน้าของราก
        1) ปริมาณน้าในดิน
             ดินที่มีปริมาณน้ามาก จะทาให้สารละลายในดินมีความเข้มข้นต่ากว่าความเข้มข้นของสาร
ละลายในเซลล์ราก อัตราการดูดน้าของรากจะมีค่าสูง รากจึงดูดน้าได้มาก
             ในสภาพน้าท่วมขัง ปริมาณน้าที่มากเกินไปจะทาให้รากพืชไม่ได้รับออกซิเจน ถ้าอยู่ในสภาพนี้
เป็นเวลานานพืชก็จะตาย
        2) ความเข้มข้นของสารละลายในดิน
             ในดินที่มีปริมาณแร่ธาตุปริมาณมาก จะทาให้ความเข้มข้นของสารละลายในดินสูงกว่าความ
เข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ราก น้าในเซลล์รากจะแพร่ออกจากรากไปสู่ดิน เมื่อเกิดต่อเนื่องเป็น
เวลานานพืชจะขาดน้าและตายได้
        3) อุณหภูมิของดิน
             อุณหภูมิที่เหมาะต่อการดูดน้าของพืชอยู่ระหว่าง 20-30 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิสูงเกินไป
ปากใบจะปิดเพื่อลดการคายน้า ทาให้การดูดน้าลดลงตามไปด้วย เพราะการคายน้าจะทาให้เกิดแรงดึงน้าจาก
รากขึ้นไปสู่ยอด คือ เมื่อมีการคายน้าออก รากพืชก็จะดูดน้าขึ้นมาทดแทนน้าที่คายออกไป
        4) การถ่ายเทอากาศในดิน
             ในดินที่อากาศถ่ายเทดี จะทาให้พืชได้รับก๊าซออกซิเจนเพียงพอกับความต้องการ ทาให้
กระบวนการต่างๆ ดาเนินไปได้ด้วยดี รวมทั้งการดูดน้าของรากก็จะเกิดในอัตราที่สูงด้วย



                                               
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx

More Related Content

What's hot

องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
krupornpana55
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
Aomiko Wipaporn
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
supreechafkk
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
Wanwime Dsk
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
dnavaroj
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 

Similar to ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx

การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
Anana Anana
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
พัน พัน
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
Oui Nuchanart
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
dnavaroj
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
Anana Anana
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
adriamycin
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
Peangjit Chamnan
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
nokbiology
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
nokbiology
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
Anana Anana
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
konfunglum
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
dnavaroj
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซน
dnavaroj
 
Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell
prapassri
 

Similar to ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx (20)

การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
Biology Chapter10
Biology Chapter10 Biology Chapter10
Biology Chapter10
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10 ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
Mass transport
Mass transportMass transport
Mass transport
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551
ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551
ข้อสอบ Onet ม.6 วิทยาศาสตร์ ปี 2551
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซน
 
Bio About Cell
   Bio About Cell    Bio About Cell
Bio About Cell
 

ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx

  • 1. ใบความรู้ที่ 3.1 การแพร่และการออสโมซิส 1. กระบวนการแพร่ของสาร 1.1 หลักการแพร่ของสาร การแพร่ของสาร (diffusion) หมายถึง การเคลื่อนที่หรือการกระจายของโมเลกุลของสารจาก บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารมาก (มีจานวนโมเลกุลของสารมาก) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของ สารน้อย (มีจานวนโมเลกุลของสารน้อย) โดยอาจผ่านเยื่อเลือกผ่าน หรือไม่ผ่านเยื่อเลือกผ่านก็ได้ สารที่แพร่ได้อาจอยู่ในสภาวะแก๊สหรือของเหลวก็ได้ โดยโมเลกุลของสารจะกระจายออกไปทุก ทิศทางในตัวกลาง จนทาให้ทุกบริเวณมีความเข้มข้นของสารเท่ากัน เช่น การหยดหมึกแดงลงในน้า เมื่อตั้งทิ้งไว้สักครู่ โมเลกุลของหมึกแดงก็จะแพร่ไปในโมเลกุลน้า ในที่สุดหมึกแดงก็จะกระจายไปทั่ว ในน้า ทาให้เรามองเห็นน้ามีสีแดงหรือสีชมพูทั่วทุกส่วน หรือการแพร่ของสาร 2 ชนิด ซึ่งอยู่คนละ ด้านกัน แต่มีเยื่อบางๆ กั้น (เยื่อเลือกผ่าน) สารแต่ละชนิดจะเคลื่อนที่ไปยังด้านตรงข้าม (ด้านที่มีสาร นั้น น้อยกว่า) จนกระทั่งทั้ง 2 ด้าน มีปริมาณสารทั้ง 2 ชนิด เท่ากัน หรือจนกระทั่งทั้ง 2 ด้าน มีความเข้มข้น ของสารทั้ง 2 ชนิด เท่ากันนั่นเอง กระบวนการแพร่ของสาร 1.2 การแพร่ของก๊าซที่ราก ก๊าซออกซิเจนจากอากาศที่อยู่ตามช่องว่างระหว่างอนุภาคดินจะแพร่เข้าสู่เซลล์ขนราก แล้วแพร่ กระจายไปยังเซลล์ข้างเคียงต่อๆ กันไป ทั้งนี้เซลล์จะใช้ก๊าซออกซิเจนในกระบวนการทางเคมีของเซลล์ เพื่อสลายสารอาหารให้กลายเป็นพลังงาน จากนั้นจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) ออกมาจาก เซลล์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมานี้จะแพร่ออกในทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางการแพร่ ของก๊าซออกซิเจน
  • 2. ในบริเวณที่ดินมีน้าท่วมขัง การแลกเปลี่ยนก๊าซจะเกิดขึ้นไม่สะดวก เพราะอากาศระหว่างอนุภาค ดินมีน้อย พืชจะขาดก๊าซออกซิเจน ยกเว้นพืชที่สามารถสร้างรากให้โค้งขึ้นโผล่พ้นผิวดิน เช่น รากของต้น โกงกางและต้นลาพู 1.3 การแพร่กับการเปิดและปิดของปากใบ เซลล์คุมเป็นเซลล์ที่มีคลอโรพลาสต์อยู่ภายใน จึงเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงขึ้นในเวลากลางวัน ทาให้ความเข้มข้นของสารภายในเซลล์คุมสูงกว่าความเข้มข้นของสารในเซลล์ข้างเคียง น้าจากเซลล์ ข้างเคียงจะแพร่ผ่านเข้ามาในเซลล์คุม เกิดแรงดันดันให้ส่วนผนังด้านนอกซึ่งบางกว่าด้านในโป่งออกทาง ด้านข้างและดึงผนังเซลล์ด้านในให้โค้งออกด้วย ทาให้ ปากใบเปิด ในเวลากลางคืนจะไม่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงภายในเซลล์คุม ทาให้ความเข้มข้นของสารภายใน เซลล์คุมต่ากว่าความเข้มข้นของสารในเซลล์ข้างเคียง น้าในเซลล์คุมจึงแพร่ออกไปยังเซลล์ข้างเคียง เซลล์คุม จึงเหี่ยว ทาให้ปากใบปิด การเปิดและปิดของปากใบมีความสาคัญต่อการแลกเปลี่ยนก๊าซของพืชเนื่องจากก๊าซต่างๆ จะแพร่ ผ่านเข้าออกทางปากใบเป็นส่วนใหญ่ โดยพืชจะดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศผ่านปากใบไปใช้ใน การสังเคราะห์ด้วยแสง และพืชยังปล่อยก๊าซออกซิเจนที่เกิดจากการสังเคราะห์ด้วยแสงออกสู่บรรยากาศ ผ่านทางปากใบด้วย 2. กระบวนการออสโมซิส 2.1 หลักการออสโมซิส ออสโมซิส (osmosis) หมายถึง การแพร่ของโมเลกุลของน้าจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ามาก (มีจานวนโมเลกุลของน้ามาก) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อย (มีจานวนโมเลกุลของน้าน้อย) โดย ผ่านเยื่อกั้นบางๆ ซึ่งทาหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน ( semi – permeable membrane ) เยื่อเลือกผ่าน คือ เยื่อบางๆ ที่ยอมให้สารบางอย่างผ่านได้ แต่สารบางอย่างผ่านไม่ได้ ตัวอย่างเช่น เยื่อหุ้มเซลล์ที่ทาหน้าที่เป็นเยื่อเลือกผ่าน 2.2 ออสโมซิสในพืช ออสโมซิสเป็นกระบวนการดูดน้าที่พบมากที่สุดในพืชทั่วๆ ไป ในสภาวะปกติและเกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่องตลอดเวลา เนื่องจากสารละลายในดินทั่วไปจะมีความเข้มข้นน้อยกว่าสารละลายในเซลล์รากทาให้
  • 3. เกิดการออสโมซิสขึ้น โดยน้าในดินจะแพร่เข้าสู่เซลล์ราก ทาให้เซลล์รากที่รับน้าจากดินเข้าไปมีความ เข้มข้นของสารน้อยกว่าเซลล์รากที่อยู่ถัดไป จึงเกิดการออสโมซิสต่อไป น้ามีการแพร่ไปยังเซลล์ที่อยู่ถัดไป เป็นเช่นนี้อย่างต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ จนถึงท่อลาเลียงน้าที่เรียกว่า ไซเลม ( xylem ) ซึ่งจะลาเลียงน้าส่งไปยัง ส่วนต่างๆ ของพืชต่อไป 2.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดน้าของราก 1) ปริมาณน้าในดิน ดินที่มีปริมาณน้ามาก จะทาให้สารละลายในดินมีความเข้มข้นต่ากว่าความเข้มข้นของสาร ละลายในเซลล์ราก อัตราการดูดน้าของรากจะมีค่าสูง รากจึงดูดน้าได้มาก ในสภาพน้าท่วมขัง ปริมาณน้าที่มากเกินไปจะทาให้รากพืชไม่ได้รับออกซิเจน ถ้าอยู่ในสภาพนี้ เป็นเวลานานพืชก็จะตาย 2) ความเข้มข้นของสารละลายในดิน ในดินที่มีปริมาณแร่ธาตุปริมาณมาก จะทาให้ความเข้มข้นของสารละลายในดินสูงกว่าความ เข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ราก น้าในเซลล์รากจะแพร่ออกจากรากไปสู่ดิน เมื่อเกิดต่อเนื่องเป็น เวลานานพืชจะขาดน้าและตายได้ 3) อุณหภูมิของดิน อุณหภูมิที่เหมาะต่อการดูดน้าของพืชอยู่ระหว่าง 20-30 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิสูงเกินไป ปากใบจะปิดเพื่อลดการคายน้า ทาให้การดูดน้าลดลงตามไปด้วย เพราะการคายน้าจะทาให้เกิดแรงดึงน้าจาก รากขึ้นไปสู่ยอด คือ เมื่อมีการคายน้าออก รากพืชก็จะดูดน้าขึ้นมาทดแทนน้าที่คายออกไป 4) การถ่ายเทอากาศในดิน ในดินที่อากาศถ่ายเทดี จะทาให้พืชได้รับก๊าซออกซิเจนเพียงพอกับความต้องการ ทาให้ กระบวนการต่างๆ ดาเนินไปได้ด้วยดี รวมทั้งการดูดน้าของรากก็จะเกิดในอัตราที่สูงด้วย 