SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
ปรัชญาเศรษฐกิจพอ
      เพียง
ความสำาคัญ
1. ระดับโลกและระดับชาติ
    1.1 ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธิปไตย
       โดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
    1.2 องค์การสหประชาชาติถวายรางวัล
       ”กษัตริย์ของโลกที่เป็นผูนำาแห่งการพัฒนา
                               ้
       ทรัพยากรมนุษย์” ตามแนวทางปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
       ซึ่งปัจจุบันได้รบการยกย่องว่าเป็น”ทฤษฎี
                       ั
โลก“
2. ระดับรัฐบาล อันเชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียง เป็นตัวนำาทาง
        การพัฒนาประเทศไทยสู่วิสัยทัศน์เคียงคูกบ
                                             ่ ั
สังคมโลกาภิวตน์ ั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง :
        ทฤษฎีโลก
   The King of the World
   The King of the king

    พระมหากษัตริยโลก
                 ์

 รางวัลเฉลิมพระกียรติ
ด้านการพัฒนาโครงการ
   แห่งสหประชาชาติ
United nations development
พระราชดำารัส


 “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็น
    เสมือนรากฐานของชีวิต
    รากฐานความมั่นคงของ
แผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม
 ที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัว
อาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะ
มั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คน
สภาพการณ์
                     โลกยุค
                   โลกาภิวัตน์
                                    กระแสสังคม เช่น
 ศรษฐกิจเสรีไร้พรมแดน   สังคม       •ประชาธิปไตย
•การแข่งขันในเวทีโลก เศรษฐกิจเป็น   •ธรรมาภิบาล
                      ยุคแห่งการ
                         เรียนรู้
          ใครเรียนรู้ไม่ทันโลก ก็จะมีปัญหา

            งานของรัฐมากขึำน ยากขึำน
      รัฐต้องเล็กลง ลดเงิน ลดคน ลดอำานาจ
องเปิดให้มส่วนร่วม ต้องโปร่งใส พร้อมถูกตรวจ
          ี
พระราชวิสยทัศน์
                   ั
• “....มีข้อสังเกตว่า ทั่วโลก เราเปิดวิทยุ
  ก็ตาม โทรทัศน์กตาม เราก็จะเห็นทุกวัน
                    ็
ว่าเขามีการฆ่ากัน ทำาลายกัน ไม่มวันที่จะ
                                      ี
  เว้นทีจะไม่มความเดือดร้อนอย่างรุนแรง
        ่      ี
   มิใช่จากธรรมชาติ แต่ภัยสงคราม ภัย
จากความเบียดเบียนกันทุกวันไม่มเว้น แต่
                                    ี
  ประเทศไทยก็ยังสงบตามสมควร ขอให้
ทุกคนช่วยกัน อย่าเบียดเบียนกัน ก็ยังคง
 ให้เรารักษาความสงบได้ตามอัตภาพของ
เรา.....ประเทศไทยเรา จะไม่เป็นประเทศที่
รุ่งเรืองทีสุดในโลกหรือฟู่ฟ่าทีสุดในโลก..
           ่                    ่
วิสัยทัศน์ประเทศไทย
             ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                      สังคมไทยที่พึงประสงค์
     นำาทา         เข้มแข็งและมีคุณภาพ 3 ด้าน
     ง
                        สังคมแห่งภูมิปัญญางคมแห่งความสมานฉันท
                                          สั
   สังคมคุณภาพ
                           และการเรียนรู้    และเอืำออาทร


คนดี คนเก่ง ส่งเสริมคนดี
                      คิดเป็น ทำาเป็นเรียนรู้ตลอดชีวิต การพึ่งพาเกืำอกูล
                                                     ให้
    เศรษฐกิจยั่งยืน
                         ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น       ผู้ด้อยโอกาส
  โปร่งใส เป็นธรรม
พระราชดำารัส

 “...เศรษฐกิจพอเพียง ทีได้ยำาแล้วยำำา
                                ่
อีก แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า Sufficiency Economy
 ใครต่อใครก็ตอว่า ว่าไม่มี Sufficiency Economy
               ่
แต่วาเป็นคำาใหม่ของเราก็ได้ ก็หมายความว่า
     ่
ประหยัด แต่ไม่ใช่ขีำเหนียว ทำาอะไรด้วยความ
 อะลุ้มอล่วยกัน ทำาอะไรด้วยเหตุและผล จะ
เป็นเศรษฐกิจพอเพียง แล้วทุกคนจะมีความ
             สุขแต่พอเพียง..”
เศรษฐกิจพอเพียง
      เศรษฐกิจพอเพียง
 เป็นปรัชญาชีำถึงแนวทาง
 การดำารงอยู่และปฏิบัติตน
 ของประชาชนในทุกระดับ
ตัำงแต่ระดับครอบครัว ระดับ
ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัำงใน
    การพัฒนาและบริหาร
     ประเทศให้ดำาเนินไป       วิชา
   ใน”ทางสายกลาง” โดย        เหนือ วิชา
เฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ
 เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุค
โลกาภิวัตน์ ความพอเพียง
ภูมคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบ
    ิ
  ใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทัำงภายนอก
 และภายใน ทัำงนีำ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ
 รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำา
 วิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและดำาเนิน
  การทุกขัำนตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริม
สร้างพืำนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้า
หน้าทีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ
       ่
 ให้มีสำานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และ
ให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำาเนินชีวิตด้วยความ
    อดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความ
 รอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับ
 การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทัำง
ด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจาก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


           พอ
          ประมา
              มี
                                                           เศรษฐกิ จ /สั ง คม

    มี เ หตุณ
                                                                    /สิ ่ ง
                                                           แวดล้ อ ม/วั ฒ นธ
              ภู ม ิ ค ุ ้ ม
                                                    นำ า
                                                    สู ่   สมดุ ล /พร้ อ มรั บ
     มี ผ ล
                                                                    รรม
                                                                ต่ อ การ
                       กั น ใน                               เปลี ่ ย นแปลง
   เงื ่ อ นไขความรู ้     เงื ่ อ นไข
   รอบรู ้ รอบคอบ ตั วคุ ณ ่ธรรม
                           ที ด ี
     ระมั ด ระวั ง      ซื ่ อ สั ต ย์ ส ุ จ ริ ต
                        อดทน เพี ย ร
                         สติ ปั ญ ญา
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่
 ไม่น้อยเกิดไปและไม่มากเกินไป โดยไม่
 เบียดเบียนตนเองและผูอน เช่น การผลิต
                       ้ ื่
 และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
ปรัชชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ง
  ปรั ญาของเศรษฐกิจพอเพีย
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจ
 เกียวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้อง
     ่
 เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจาก
 เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำานึงถึงผล
 ทีคาดว่าจะเกิดขึนจากการกระทำานั้น ๆ
   ่                ้
 อย่างรอบคอบ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรี
 ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการ
 เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึนโดย
                                     ้
 คำานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์
 ต่าง ๆ ทีคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทังใกล้
          ่                            ้
 และไกล
พระราชดำารัส

    “..ขอให้ทกคน มีความปรารถนา ที่จะ
             ุ
ให้
เมืองไทยพออยูพอกิน มีความสงบ และ
               ่
ทำางาน
ตัำงจิตอธิษฐาน ตังปณิธานในทางนีำ ที่
                 ำ
จะให้
เมืองไทยอยู่แบบ ”พออยู่ พอกิน “
พระราชดำารัส

    “.....การพัฒนาประเทศ จำาเป็นต้อง
ทำาตามลำาดับขัำน ต้องสร้างพืำนฐาน คือ
ความพอมี พอกิน พอใช้ ของ
ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบืำองต้นก่อน
โดยใช้วิธีการ และ ใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด
แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมือได้พืำนฐาน
                           ่
มันคงพร้อมพอสมควรและปฏิบัตได้แล้ว
  ่                             ิ
จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และ
ฐานะเศรษฐกิจขัำนทีสูงขึำนตามลำาดับต่อ
                    ่
พระบรมราโชวาท


     “...การพัฒนาชนบท
     เป็นงานทีสำาคัญ เป็นงาน
              ่
    ยาก เป็นงานทีจะต้องทำาให้
                  ่
    ได้ดวยความสามารถ ด้วย
         ้
     ความเฉลียวฉลาด คือทัง   ำ
   เฉลียวทังฉลาด ต้องทำาด้วย
           ำ
        ความบริสุทธิ์ใจ....”
การพัฒนาต้องทำาเป็นลำาดับขัำนตอน ต้อง
            สร้างพืำนฐาน
          การพัฒนายังยืน
                    ่

พออยู่พอกิน   อยูดีกินดี
                 ่         มั่งมีศรีสข
                                     ุ


 มีอยู่ทกน รวมกลุ่มสหกรณ์ ขยายทุน
        ี่ ิ


    บุคคล/ครอบครัว     ชุมชน     ประเทศชาต
มิติหลักแห่งความพอเพียง


อเพียงในความคิด ยงในจิตใจ
            พอเพี




  พอเพียงในความเป็นอยู่
พอเพียงในความคิด
1. มีวิสัยทัศน์และการเรียนรู้ตลอดเวลา
2. มีความคิดความเชื่อและวิถีชีวิตแบบ
    ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
    ประมุข กล่าวคือ
   * ยึดหลักเหตุผลในการแก้ไขปัญหาความต้องการ
   * ใช้เสียงส่วนใหญ่ของประชาคมเป็นข้อยุตความิ
      แตกต่างของความคิดด้วยความเต็มใจ
   * ยึดหลักการอยู่รวมกันด้วยการประนีประนอมของ
                    ่
   ชุมชน
   * รูจักการรักษาสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเสมอ
       ้
     ภาค และภราดรภาพ ในการอยู่ร่วมกันในสังคม
   * ยอมรับและเคารพในระเบียบ กฎหมาย กติกา
     ของบ้านเมืองและชุมชนโดยเคร่งครัด
พอเพียงในจิตใจ
• คนในสังคมมี มโนธรรม คุณธรรม ศีล
  ธรรม จริยธรรมในการ
  ดำาเนินชีวิต
• คนในสังคมมีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  เป็นตัวนำาทางในวิถีชวิต กล่าวคือ
                      ี
  2.1 ยึดทางสายกลาง
  2.2 ความมีเหตุผล
  2.3 ความรู้จักพอประมาณ
  2.4 มีภมิคมกันในตัวที่ดพอ
         ู ุ้            ี
  2.5 ไม่อยู่ในความประมาท(สติ)
พอเพียงในความเป็นอยู่
 พอเพียงในความเป็นอยู่อย่างมีบูรณาการทาง
ด้าน
  1. เศรษฐกิจแบบพอเพียงของครอบครัว ชุมชน
  2. สังคม (กระบวนทัศน์ ค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณี
     ภูมปญญาท้องถิ่น)
        ิ ั
  3. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการดูแล
  4. ปกครองดูแลท้องถิ่นชุมชนตนเองได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
  5. มีการพัฒนาท้องถินแบบพอเพียง อย่างเป็นขัำนตอน
                        ่
คือ
     5.1 พออยู่ - พอกิน
     5.2 อยู่ดี - กินดี
     5.3 มังมี - ศรีสุข
            ่
มังมี
                                                 ่
- ศรีสุข          ทฤษฎีใหม่
อยู่ดี - กินดี
                      พออยู่ - พอกิน
                     เศรษฐกิจพอเพียง
                     ปรัชญาพัฒนาชาติ

                    พอเพียงในความเป็นอยู่
           พอเพียงในความคิด            พอเพียงใน
จิตใจ
                    ความรู้ คู่ คุณธรรม
                 เราจะครองแผ่นดินโดย
                       ธรรม
คุณลักษณะดำาเนินชีวิตแบบพอเพียง
 1) เป็นผู้มีศรัทธาต่อชีวิตของตน
 2) เป็นผู้ซื่อสัตย์ สุจริต
 3) เป็นผู้มีภาวะผู้นำา
 4) เป็นผู้มีกาย วาจา ที่งดงาม
 5) เป็นผู้ที่รักใคร่ของผู้พบเห็น
 6) เป็นผู้มีความรอบรู้
 7) เป็นผู้มีวินัย จรรยาบรรณ
 8) เป็นผู้มีความสามารถในการทำางานให้สำาเร็จ
 9) เป็นผู้ห่างไกลอบายมุข
10) เป็นผู้มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง
เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่
    ตามแนวพระราชดำาริ
• เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติ
  ของ ทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการ
  พัฒนาทีนำาไปสู่ความสามารถในการ
          ่
  พึ่งตนเอง ในระดับต่าง ๆ อย่างเป็น
  ขันตอน โดยลดความเสียงเกี่ยวกับ
    ำ                    ่
  ความผันแปรของธรรมชาติ หรือการ
  เปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดย
  อาศัยความพอประมาณและความมี
เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายกว้าง
กว่าทฤษฎีใหม่โดยที่เศรษฐกิจพอ
เพียงเป็นกรอบแนวคิดทีชี้บอกหลัก
                        ่
การและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่
ในขณะที่ แนวพระราชดำาริเกี่ยวกับ
ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่ง
เป็นแนวทางการพัฒนาภาคเกษตร
อย่างเป็นขั้นตอนนั้น เป็นตัวอย่างการ
• ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำาริ อาจ
  เปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง
  ซึ่งมีอยู่ 2 แบบคือ
    แบบพื้นฐาน กับ แบบก้าวหน้า
   เศรษฐกิจพอเพียงแบบพืำนฐาน
  เทียบได้กับทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 ขั้นพออยู่
  พอกิน มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่
  ห่างไกลแหล่งนำ้า ต้องพึ่งนำ้าฝนและ
  ประสบความเสี่ยงจากการที่นำ้าไม่พอ
•    เศรษฐกิจพอเพียง แบบก้าวหน้า
    ซึงครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขนที่ 2 ขั้น
      ่                     ั้
    ก้าวหน้า เป็นเรืองของการสนับสนุนให้
                    ่
    เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือ
    สหกรณ์หรือการทีธุรกิจต่าง ๆ รวมตัวกัน
                        ่
    ในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ และ
    ครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 ขั้นพัฒนา
    ซึงส่งเสริมให้ชมชนหรือเครือข่าย
        ่             ุ
    วิสาหกิจสร้างความร่วมมือกับองค์กรอืน
                                       ่
ทรงพระเจริญ

More Related Content

What's hot

การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Kruemas Kerdpocha
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
Ultraman Sure
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ENooilada
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นิเวช แสงคำ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Kruwaw-ru Kan
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
wilai2510
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
Vinz Primo
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
jiko2505
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Witayanun Sittisomboon
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
jo
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Nunteeka Nunun
 

What's hot (18)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
002
002002
002
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
Sufficiencyeconomy
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
จุ๊
จุ๊จุ๊
จุ๊
 
183356
183356183356
183356
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
Dinhin Rakpong-Asoke
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
IFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
sukhom
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Wongduean Phumnoi
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
Daungthip Pansomboon
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
Link Standalone
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Chanon Mala
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
wilai2510
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
pronprom11
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
freelance
 

Similar to นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (20)

Suffeco po(2)
Suffeco po(2)Suffeco po(2)
Suffeco po(2)
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Vass iry wed83254
Vass iry wed83254Vass iry wed83254
Vass iry wed83254
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
1111
11111111
1111
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจเ..
เศรษฐกิจเ..เศรษฐกิจเ..
เศรษฐกิจเ..
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 

นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

  • 2. ความสำาคัญ 1. ระดับโลกและระดับชาติ 1.1 ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 1.2 องค์การสหประชาชาติถวายรางวัล ”กษัตริย์ของโลกที่เป็นผูนำาแห่งการพัฒนา ้ ทรัพยากรมนุษย์” ตามแนวทางปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งปัจจุบันได้รบการยกย่องว่าเป็น”ทฤษฎี ั โลก“ 2. ระดับรัฐบาล อันเชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียง เป็นตัวนำาทาง การพัฒนาประเทศไทยสู่วิสัยทัศน์เคียงคูกบ ่ ั สังคมโลกาภิวตน์ ั
  • 3. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : ทฤษฎีโลก The King of the World The King of the king พระมหากษัตริยโลก ์ รางวัลเฉลิมพระกียรติ ด้านการพัฒนาโครงการ แห่งสหประชาชาติ United nations development
  • 4. พระราชดำารัส “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็น เสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของ แผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม ที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัว อาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะ มั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คน
  • 5. สภาพการณ์ โลกยุค โลกาภิวัตน์ กระแสสังคม เช่น ศรษฐกิจเสรีไร้พรมแดน สังคม •ประชาธิปไตย •การแข่งขันในเวทีโลก เศรษฐกิจเป็น •ธรรมาภิบาล ยุคแห่งการ เรียนรู้ ใครเรียนรู้ไม่ทันโลก ก็จะมีปัญหา งานของรัฐมากขึำน ยากขึำน รัฐต้องเล็กลง ลดเงิน ลดคน ลดอำานาจ องเปิดให้มส่วนร่วม ต้องโปร่งใส พร้อมถูกตรวจ ี
  • 6. พระราชวิสยทัศน์ ั • “....มีข้อสังเกตว่า ทั่วโลก เราเปิดวิทยุ ก็ตาม โทรทัศน์กตาม เราก็จะเห็นทุกวัน ็ ว่าเขามีการฆ่ากัน ทำาลายกัน ไม่มวันที่จะ ี เว้นทีจะไม่มความเดือดร้อนอย่างรุนแรง ่ ี มิใช่จากธรรมชาติ แต่ภัยสงคราม ภัย จากความเบียดเบียนกันทุกวันไม่มเว้น แต่ ี ประเทศไทยก็ยังสงบตามสมควร ขอให้ ทุกคนช่วยกัน อย่าเบียดเบียนกัน ก็ยังคง ให้เรารักษาความสงบได้ตามอัตภาพของ เรา.....ประเทศไทยเรา จะไม่เป็นประเทศที่ รุ่งเรืองทีสุดในโลกหรือฟู่ฟ่าทีสุดในโลก.. ่ ่
  • 7. วิสัยทัศน์ประเทศไทย ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สังคมไทยที่พึงประสงค์ นำาทา เข้มแข็งและมีคุณภาพ 3 ด้าน ง สังคมแห่งภูมิปัญญางคมแห่งความสมานฉันท สั สังคมคุณภาพ และการเรียนรู้ และเอืำออาทร คนดี คนเก่ง ส่งเสริมคนดี คิดเป็น ทำาเป็นเรียนรู้ตลอดชีวิต การพึ่งพาเกืำอกูล ให้ เศรษฐกิจยั่งยืน ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ด้อยโอกาส โปร่งใส เป็นธรรม
  • 8. พระราชดำารัส “...เศรษฐกิจพอเพียง ทีได้ยำาแล้วยำำา ่ อีก แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า Sufficiency Economy ใครต่อใครก็ตอว่า ว่าไม่มี Sufficiency Economy ่ แต่วาเป็นคำาใหม่ของเราก็ได้ ก็หมายความว่า ่ ประหยัด แต่ไม่ใช่ขีำเหนียว ทำาอะไรด้วยความ อะลุ้มอล่วยกัน ทำาอะไรด้วยเหตุและผล จะ เป็นเศรษฐกิจพอเพียง แล้วทุกคนจะมีความ สุขแต่พอเพียง..”
  • 9. เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชีำถึงแนวทาง การดำารงอยู่และปฏิบัติตน ของประชาชนในทุกระดับ ตัำงแต่ระดับครอบครัว ระดับ ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัำงใน การพัฒนาและบริหาร ประเทศให้ดำาเนินไป วิชา ใน”ทางสายกลาง” โดย เหนือ วิชา เฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุค โลกาภิวัตน์ ความพอเพียง
  • 10. ภูมคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบ ิ ใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทัำงภายนอก และภายใน ทัำงนีำ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำา วิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและดำาเนิน การทุกขัำนตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริม สร้างพืำนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้า หน้าทีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ่ ให้มีสำานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และ ให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำาเนินชีวิตด้วยความ อดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความ รอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทัำง ด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจาก
  • 11. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พอ ประมา มี เศรษฐกิ จ /สั ง คม มี เ หตุณ /สิ ่ ง แวดล้ อ ม/วั ฒ นธ ภู ม ิ ค ุ ้ ม นำ า สู ่ สมดุ ล /พร้ อ มรั บ มี ผ ล รรม ต่ อ การ กั น ใน เปลี ่ ย นแปลง เงื ่ อ นไขความรู ้ เงื ่ อ นไข รอบรู ้ รอบคอบ ตั วคุ ณ ่ธรรม ที ด ี ระมั ด ระวั ง ซื ่ อ สั ต ย์ ส ุ จ ริ ต อดทน เพี ย ร สติ ปั ญ ญา
  • 12. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ ไม่น้อยเกิดไปและไม่มากเกินไป โดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผูอน เช่น การผลิต ้ ื่ และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
  • 13. ปรัชชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ง ปรั ญาของเศรษฐกิจพอเพีย 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจ เกียวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้อง ่ เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจาก เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำานึงถึงผล ทีคาดว่าจะเกิดขึนจากการกระทำานั้น ๆ ่ ้ อย่างรอบคอบ
  • 14. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการ เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึนโดย ้ คำานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ทีคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทังใกล้ ่ ้ และไกล
  • 15. พระราชดำารัส “..ขอให้ทกคน มีความปรารถนา ที่จะ ุ ให้ เมืองไทยพออยูพอกิน มีความสงบ และ ่ ทำางาน ตัำงจิตอธิษฐาน ตังปณิธานในทางนีำ ที่ ำ จะให้ เมืองไทยอยู่แบบ ”พออยู่ พอกิน “
  • 16. พระราชดำารัส “.....การพัฒนาประเทศ จำาเป็นต้อง ทำาตามลำาดับขัำน ต้องสร้างพืำนฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของ ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบืำองต้นก่อน โดยใช้วิธีการ และ ใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมือได้พืำนฐาน ่ มันคงพร้อมพอสมควรและปฏิบัตได้แล้ว ่ ิ จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และ ฐานะเศรษฐกิจขัำนทีสูงขึำนตามลำาดับต่อ ่
  • 17. พระบรมราโชวาท “...การพัฒนาชนบท เป็นงานทีสำาคัญ เป็นงาน ่ ยาก เป็นงานทีจะต้องทำาให้ ่ ได้ดวยความสามารถ ด้วย ้ ความเฉลียวฉลาด คือทัง ำ เฉลียวทังฉลาด ต้องทำาด้วย ำ ความบริสุทธิ์ใจ....”
  • 18. การพัฒนาต้องทำาเป็นลำาดับขัำนตอน ต้อง สร้างพืำนฐาน การพัฒนายังยืน ่ พออยู่พอกิน อยูดีกินดี ่ มั่งมีศรีสข ุ มีอยู่ทกน รวมกลุ่มสหกรณ์ ขยายทุน ี่ ิ บุคคล/ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาต
  • 20. พอเพียงในความคิด 1. มีวิสัยทัศน์และการเรียนรู้ตลอดเวลา 2. มีความคิดความเชื่อและวิถีชีวิตแบบ ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข กล่าวคือ * ยึดหลักเหตุผลในการแก้ไขปัญหาความต้องการ * ใช้เสียงส่วนใหญ่ของประชาคมเป็นข้อยุตความิ แตกต่างของความคิดด้วยความเต็มใจ * ยึดหลักการอยู่รวมกันด้วยการประนีประนอมของ ่ ชุมชน * รูจักการรักษาสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเสมอ ้ ภาค และภราดรภาพ ในการอยู่ร่วมกันในสังคม * ยอมรับและเคารพในระเบียบ กฎหมาย กติกา ของบ้านเมืองและชุมชนโดยเคร่งครัด
  • 21. พอเพียงในจิตใจ • คนในสังคมมี มโนธรรม คุณธรรม ศีล ธรรม จริยธรรมในการ ดำาเนินชีวิต • คนในสังคมมีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นตัวนำาทางในวิถีชวิต กล่าวคือ ี 2.1 ยึดทางสายกลาง 2.2 ความมีเหตุผล 2.3 ความรู้จักพอประมาณ 2.4 มีภมิคมกันในตัวที่ดพอ ู ุ้ ี 2.5 ไม่อยู่ในความประมาท(สติ)
  • 22. พอเพียงในความเป็นอยู่ พอเพียงในความเป็นอยู่อย่างมีบูรณาการทาง ด้าน 1. เศรษฐกิจแบบพอเพียงของครอบครัว ชุมชน 2. สังคม (กระบวนทัศน์ ค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณี ภูมปญญาท้องถิ่น) ิ ั 3. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการดูแล 4. ปกครองดูแลท้องถิ่นชุมชนตนเองได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5. มีการพัฒนาท้องถินแบบพอเพียง อย่างเป็นขัำนตอน ่ คือ 5.1 พออยู่ - พอกิน 5.2 อยู่ดี - กินดี 5.3 มังมี - ศรีสุข ่
  • 23. มังมี ่ - ศรีสุข ทฤษฎีใหม่ อยู่ดี - กินดี พออยู่ - พอกิน เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาพัฒนาชาติ พอเพียงในความเป็นอยู่ พอเพียงในความคิด พอเพียงใน จิตใจ ความรู้ คู่ คุณธรรม เราจะครองแผ่นดินโดย ธรรม
  • 24. คุณลักษณะดำาเนินชีวิตแบบพอเพียง 1) เป็นผู้มีศรัทธาต่อชีวิตของตน 2) เป็นผู้ซื่อสัตย์ สุจริต 3) เป็นผู้มีภาวะผู้นำา 4) เป็นผู้มีกาย วาจา ที่งดงาม 5) เป็นผู้ที่รักใคร่ของผู้พบเห็น 6) เป็นผู้มีความรอบรู้ 7) เป็นผู้มีวินัย จรรยาบรรณ 8) เป็นผู้มีความสามารถในการทำางานให้สำาเร็จ 9) เป็นผู้ห่างไกลอบายมุข 10) เป็นผู้มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง
  • 25. เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำาริ • เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติ ของ ทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการ พัฒนาทีนำาไปสู่ความสามารถในการ ่ พึ่งตนเอง ในระดับต่าง ๆ อย่างเป็น ขันตอน โดยลดความเสียงเกี่ยวกับ ำ ่ ความผันแปรของธรรมชาติ หรือการ เปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดย อาศัยความพอประมาณและความมี
  • 26. เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายกว้าง กว่าทฤษฎีใหม่โดยที่เศรษฐกิจพอ เพียงเป็นกรอบแนวคิดทีชี้บอกหลัก ่ การและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวพระราชดำาริเกี่ยวกับ ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่ง เป็นแนวทางการพัฒนาภาคเกษตร อย่างเป็นขั้นตอนนั้น เป็นตัวอย่างการ
  • 27. • ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำาริ อาจ เปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบคือ แบบพื้นฐาน กับ แบบก้าวหน้า เศรษฐกิจพอเพียงแบบพืำนฐาน เทียบได้กับทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 ขั้นพออยู่ พอกิน มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่ ห่างไกลแหล่งนำ้า ต้องพึ่งนำ้าฝนและ ประสบความเสี่ยงจากการที่นำ้าไม่พอ
  • 28. เศรษฐกิจพอเพียง แบบก้าวหน้า ซึงครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขนที่ 2 ขั้น ่ ั้ ก้าวหน้า เป็นเรืองของการสนับสนุนให้ ่ เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือ สหกรณ์หรือการทีธุรกิจต่าง ๆ รวมตัวกัน ่ ในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ และ ครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 ขั้นพัฒนา ซึงส่งเสริมให้ชมชนหรือเครือข่าย ่ ุ วิสาหกิจสร้างความร่วมมือกับองค์กรอืน ่