SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
Télécharger pour lire hors ligne
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
ชุด ครอบครัวสุขสันต์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เล่มที่
4
สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
โรงเรียนบ้านต้นปรง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
ชุด ครอบครัวสุขสันต์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง : สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
ภาพ : จุฑาภรณ์ เชื้อเพ็ชร
เล่มที่
4
คำนำ
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบ
การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สาระ
ที่ 2 ชีวิตและครอบครัว สาหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านต้นปรง
ผู้จัดทาได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
การสร้างสัมพันธภาพ นามาเรียบเรียงเป็นวรรณกรรมสาหรับเด็ก เพื่อต้องการ
กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะเรียนรู้ นาความรู้ที่ได้จากการอ่านมาพัฒนา
วิธีการสร้างสัมพันธภาพของตนเองให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ได้จัดทาขึ้น
จานวน 8 เล่ม ดังนี้
เล่มที่ 1 สัมพันธภาพ
เล่มที่ 2 ครอบครัวสุขสันต์
เล่มที่ 3 สุขอยู่ที่ใจ
เล่มที่ 4 มองแง่ดีมีความสุข
เล่มที่ 5 เด็กดีศรีต้นปรง
เล่มที่ 6 ความรักวัยรุ่น
เล่มที่ 7 ชีวิตกาญจนาน่าเรียนรู้
เล่มที่ 8 กีฬาสัมพันธภาพ
หนังสือที่ท่านกาลังอ่านอยู่นี้เป็นเล่มที่ 3 เรื่อง มองแง่ดีมีความสุข เป้าหมาย
ต้องการเน้นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น
ขอบคุณ นายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง คณะ
ครู และนักเรียน ผู้จัดทารู้สึกซาบซึ้งที่ได้รับความกรุณา เอาใจใส่ ให้คาปรึกษา
แนะนา แก้ไขข้อบกพร่อง จนการดาเนินการจัดทาสาเร็จเรียบร้อยด้วยดี
สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
ก
คำชี้แจง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ ผู้จัดทาเขียนขึ้นเหมาะกับบริบท
ของนักเรียนโรงเรียนบ้านต้นปรง หากโรงเรียนใดนาไปใช้ให้ประสบผลสาเร็จ เป็นไป
ตามเป้าประสงค์ที่วางไว้ จึงมีข้อเสนอแนะสาหรับครูผู้สอนและผู้เรียนดังต่อไปนี้
1. หนังสือเล่มนี้ใช้คู่กับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 - 9
2. ศึกษาและปฏิบัติตามแผนการจัดการเรียนรู้ทุกประการ
3. ครูอ่านหนังสือเล่มนี้และทาความเข้าใจก่อนที่จะนามาใช้กับผู้เรียน
4. สร้างข้อตกลงในการใช้หนังสือ
5. แจกหนังสือกับนักเรียนทุกคน
6. ครูแจกกระดาษคาตอบ หรืออุปกรณ์ สาหรับทาแบบทดสอบท้าย
บทเรียน
1. อ่านคาแนะนาการใช้หนังสือให้เข้าใจ
2. ไม่ทาเครื่องหมายหรือขีดเขียนลงในหนังสือ
3. ส่งหนังสือคืนครูหลังจากเรียนจบในแต่ละเล่ม
4. อ่านแล้วต้องคิดตามนาความรู้มาพัฒนาตนเอง
คำชี้แจงสำหรับครูผู้สอน
บทบำทผู้เรียน
ข
2
ในสังคมปัจจุบันเราต้องยอมรับว่าคนเราต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
กับบุคคลอื่น จึงจะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
การมองโลกในแง่ดีทาให้เกิดความหวังในชีวิต มีกาลังใจ มองตนเองและ
คนอื่น ๆ อย่างมีคุณค่า มีมิตรเพิ่มขึ้น ได้รับการช่วยเหลือจากคนอื่นเสมอ
สามารถแก้ไขอุปสรรคในชีวิตได้ดี มีสติปัญญา มีจิตใต้สานึกที่ดี ได้รับ
ความรักความสนใจมาจากครอบครัวเป็นพื้นฐาน
อยู่อย่างเกื้อกูล
3
มำอ่ำนอ่ำนบทร้อยกรอง พระธรรมในคำกลอน ชุดมองโลกแต่แง่ดีเถิด
เขามีส่วนเลวบ้างช่างหัวเขา จงเลือกเอา ส่วนที่ดี เขามีอยู่
เป็นประโยชน์โลกบ้างยังน่าดู ส่วนที่ชั่วอย่าไปรู้ของเขาเลย
จะหาคนมีดีโดยส่วนเดียว อย่ามัวเที่ยวค้นหาสหายเอ๋ย
เหมือนเทียวหาหนวดเต่าตายเปล่าเลย ฝึกให้เคยมองแต่ดีมีคุณจริง
( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ )
ความสุขสร้างได้
คนเราทุกคนมีความต้องการให้ตนเองมีความสุข การจะมีความสุขได้นั้นสิ่ง
สาคัญคือ การมองตนเองอย่างมีค่าและมองคนอื่นอย่างมีค่าจะทาให้จิตใจมีความสุข
ดังคาสอนท่านพุทธทาสที่ว่า
4
ถ้าเอาเปรียบเขาไม่ได้ก็ว่าไม่ถูก ถ้าจูงจมูกได้ทุกทีก็ว่าดีเหลือ
ถึงวันดีเกิดมีเกลือจิ้มเกลือ ร้องว่าเบื่อโลกอะไรไม่เป็นธรรม
คนพวกนี้มีโลกของตนเอง ไม่ตามเพลงของกิเลสทีอุปถัมภ์
ไม่ยอมรับอะไรหมดแม้กฎกรรม ความเป็นธรรมนั้นคือได้ตามใจ
ไกลจากสัตว์ไปทุกทีที่ว่าเจริญ หาส่วนเกินมาเทิดไว้ใส่เกล้าหัว
ใช้สงครามตัดสินความไม่คร้ามกลัว ว่าความชั่วมีไหม้โลกเป็นโคกไฟ
( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ )
เห็นแก่ตัวไร้ความสุข
การอยู่อย่างมีความสุขนั้น เป็นการพึ่งพาอาศัยกันคิดเสมอว่า
คนเรานั้นดีไม่ทั้งหมดและชั่วไม่ทั้งหมด คนที่ดีจึงทาให้ตนเองเป็นคนดี
ควบคุมดูแลตนเองให้มีความรักความเมตตา ดังคากล่าวที่ว่า......
5
ถ้าจะอยู่ในโลกนี้อย่างมีสุข อย่าประยุกต์สิ่งทั้งผองเป็นของฉัน
มันสะสุมเผากระบาลท่านเป็นควัน ต้องปล่อยมันเป็นของมันอย่าผันมา
เป็นของกูในอานาจแห่งตัวกู ท่านจะอยู่วุ่นวายคล้ายคนบ้า
อย่างน้อยก็เป็นนกเขาเข้าตารา มันคึกว่ากูของกูอยู่ร่าไป
ถ้าหามามีไว้ใช้หรือกิน ตามระบิลอิ่มหนาก็ทาไหว
โดยไม่ต้องมั่นหมายให้อะไร ถูกยึดไว้ว่าตัวกูหรือของกู
( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ )
ความสุขอยู่ที่ตนเอง
ชีวิตมีค่าทุกเวลา ควรเอาใจใส่ดูแลตนเองให้ดีทาหน้าที่ให้เรียบร้อยและ
คิดช่วยเหลือผู้อื่นลดความเห็นแก่ตนลงจะได้มีความสุขด้วยกัน ดังคากล่าวที่ว่า
6
มองอะไรให้เห็นเป็นครูสอน มองไม้ขอนหรือมองคนถ้าค้นหา
มีสิ่งสอนเสมอกันมีปัญญา จะพบว่าล้วนมีพิษอนิจจัง
จะมองทุกข์หรือมองสุขมองให้ดี ว่าจะเป็นอย่างที่เรานึกหวัง
หรือเป็นไปตามปัจจัยให้ระวัง อย่าคลุ้มคลั่งจะมองเห็นเป็นธรรมดา
มองโดยนัยให้มันสอนจะถอนโศก มองเยกโยกมันไม่สอนนอนเป็นบ้า
มองไม่เป็นจะโทษใครที่ไหนมา มองถูกท่าทุกข์ก็คลายสลายเอง
บทเรียนจากสิ่งรอบข้าง
( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ )
คนเรามีตาไว้ดู มีหูไว้ฟัง มีสมองไว้คิด จึงควรระวังคาพูด การมองสิ่งที่ดี
งามแล้วนามาคิดเพื่อใช้ในชีวิต ทาให้ตนเองมีค่า ดังข้อความที่ว่า
7
ชอบยึดมั่นระวังมันจะกัดเอา เพราะความเขลายึดมั่นมีตัณหา
อุปาทานกอดรัดมัดวิญญาณ อยู่ดีดีก็เป็นบ้ามาทันที
ยึดสิ่งใดสิ่งนั้นแหละมันกัด กินกามเกียรติสารพัดกลีหรือศรี
หรือแม้บุตรภรรยาหรือสามี ความชั่วดีบุญหรือบาปจงทราบกัน
แม้รสสุขที่อร่อยอยู่ที่ใจ ชั้นอร่อยแน่นิ่งไปถ้ายึดมั่น
จะกลายเป็นยักษาขึ้นมาพลัน แล้วห้าหั่นกัดเอาอย่าเขลาเอย
( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ )
ถือตนเองเป็นใหญ่
คนดีที่น่ารักจะรู้จักดูแลตนเอง คิดในสิ่งดีเพื่อไม่ให้ตนเองผิดพลาด
สิ่งสาคัญทางานในหน้าที่ให้ดี มีจิตใจช่วยเหลือคนอื่นและมีสติทุกครั้งในการคิดและ
การพูด ดังคากลอนที่ว่า
8
อันที่จริงการงานนั้นน่ารัก เมื่อยังไม่รู้จักก็ไม่รู้จัก
ก็ปล่อยปละแล้วละวาง บ้างร้องคราง เมื่อรอหน้าว่าเบื่อจริง
แต่ที่แท้การงานนั้นน่ารัก สอนให้คนรู้จักไปทุกสิ่ง
ถ้ายิ่งทายิ่งฉลาดไม่พลาดยิ่ง ได้ตรงดิ่งสิ่งอุกกฤษฎ์คือจิตเจริญ
การงานนี้ดูให้ดีมันน่ารัก เป็นการชักธรรมมะมาน่าสรรเสริญ
คือมีสติฉันทะทมะเกิน ครั้งหยุดเพลินจิตก็วางทางนิพพาน
( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ )
อยู่อย่างไรให้น่ารัก
คนดีที่น่ารักจะรู้จักดูแลตนเอง คิดในสิ่งดีเพื่อไม่ให้ตนเองผิดพลาด สิ่ง
สาคัญทางานในหน้าที่ให้ดี มีจิตใจช่วยเหลือคนอื่นและมีสติทุกครั้งในการคิดและ
การพูด ดังคากลอนที่ว่า
9
อันการงานนั้นประเสริฐตรงที่สุด ยิ่งทางานยิ่งเป็นสุขทุกข์สถาน
ทาชีวิตให้สดใสใจเบิกบาน ในการงานประจาวันนั่นเองนา
เมื่ออย่างนี้มีคนคิดวิมลจิต เย็นสนิทดวงใจไรโทสา
เกิดสังคมที่อุดมด้วยเมตตา อยากเรียกว่าธัมมิกะสังคมนิยม
ผลของงานล้นเหลือเผื่อแผ่ทั่ว สัตว์ทุกตัว ใหญ่น้อยพลอยสุขสม
ทั้งเมืองเล็กเมืองใหญ่ได้ชื่นชม โลกระดมสุขวางทางนิพพาน
( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ )
ทางานด้วยใจ
ทุกคนเกิดมาต่างก็มีภาระหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ การทางานสิ่งใดก็
ตามแต่ถ้าทาด้วยใจรักและเป็นสุข ผลของงานก็จะออกมาเป็นที่น่าพอใจ ดังคา
กล่าวของท่านพุทธทาสที่ว่า
10
ทุกคนมีหน้าที่ของตนเอง เพื่อทาให้งานสาเร็จตามหน้าที่ด้วยความฉลาด มี
ความสุขในการทางาน รู้จักคุณค่าของตนเองว่า การทางานคือการทาประโยชน์ที่ดี ท่าน
พุทธทาสสอนว่า การปฏิบัติตนคือการปฏิบัติธรรม คนที่ทาดีมีประโยชน์ คือ คนที่
ทางานจริงจังหวังประโยชน์ของตนเองและส่วนรวม ดังคากล่าวของท่านพุทธทาสที่ว่า
อันการงานคือคุณค่าของมนุษย์ ของมีเกียรติสูงสุดอย่าสงสัย
ถ้าสนุกด้วยการงานเบิกบานใจ ไม่เท่าไหร่ได้รู้ธรรมฉ่าซึ้งจริง
เพราะการงานเป็นตัวการประพฤติกรรม กุศลกรรมกล้าปนมามีค่ายิ่ง
ถ้าจะเปรียบก็เปรียบคนฉลาดยิ่ง นัดเดียววิ่งเก็บนกหลายพกพา
คือการงานนั้นต้องทาด้วยสติ มีสมาธิขันติมีอุตสาห์
มีสัจจะมีทมะมีปัญญา มีศรัทธาและกล้าหาญรักงานจริง
( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ
)
คุณค่าของงาน
11
อารมณ์ขันเป็นสิ่งสาคัญที่ก่อให้เกิดประโยชน์กับชีวิต คนมีอารมณ์ขัน ทา
ให้เพิ่มภูมิต้านทานโรค มีสุขภาพจิตดี ช่วยละลายความโกรธ ความหงุดหงิด
รวมทั้งกระชับสัมพันธภาพ เพิ่มพูนความผูกพัน สามารถแก้ปัญหาเมื่อเผชิญ
กับสถานการณ์วิกฤติ การหัวเราะทาให้เกิดความรู้สึกเบิกบานเป็นน้าหนึ่งใจ
เดียว ทาให้อารมณ์ต่อต้านลดลง อารมณ์ขันเป็นรางวัลอันมีค่า และอารมณ์
ขัน ช่วยสร้างเสริมสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อความสุขสันต์ จงสร้างอารมณ์ขัน
ให้กับชีวิต
ความเอ๋ยความสุข ใครๆทุกคนชอบเจ้าเฝ้าวิ่งหา
แกก็สุขฉันก็สุขทุกเวลา แต่ดูหน้าตาแห้งยังแคลงใจ
ถ้าเราเผาตัวตัณหาก็น่าจะสุข ถ้ามันเผาเราก็สุขหรือเกรียมได้
เขาว่าสุขสุขเน้ออย่าเห่อไป มันสุขเย็นหรือสุขไหม้ให้แน่เอย
( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ )
สุขภาพจิตดีมีความสุข
12
คำศัพท์ คำอ่ำน ควำมหมำย
เกลือจิ้มเกลือ เกลือ-จิ้ม-เกลือ ไม่ยอมเสียเปรียบกัน แก้เผ็ดให้
สาสมกัน
จูงจมูก จูง-จะ-หมูก ถูกเขาชักนาไปโดยไม่ใช้ความคิด
ของตน
อุปถัมภ์ อุ-ปะ-ถา,
อุป-ปะ-ถา
ค้าจุน ค้าชู สนับสนุน เลี้ยงดู
ประยุกต์ ประ-ยุก นาความรู้ในวิทยาการต่าง ๆ มา
ปรับใช้ให้เป็นประโยชน์
ระบิล ระ-บิน เรื่อง ความ ฉบับ อย่าง
ปัจจัย ปัด-ไจ เหตุอันให้ผลเป็นไป
อนิจจัง อะ-นิด-จัง ไม่เที่ยง ไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลง
อยู่เสมอ
ตัณหา ตัน-หา ความทะยานอยาก
อุปาทาน อุ-ปา-ทาน,
อุบ-ปา-ทาน
การยึดมั่นถือมั่น
อุกกฤษฎ์ อุ-กฺริด เลิศ,สูงสุด
นิพพาน นิบ-พาน ความสิ้นกิเลส
ทมะ ทะ-มะ การข่มใจ
คำอธิบำยศัพท์
13
แบบทดสอบท้ำยบทเรียน
ตอนที่ 1 ตอบคาถามให้ถูกต้อง
1. ให้นักเรียนเขียนฝังความคิดการสร้างความสุขให้ตนเองโดยที่ไม่สร้างความ
เดือดร้อนให้ผู้อื่น
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
2. ให้นักเรียนเขียนเล่าเรื่องขาขันคนละ 1 เรื่อง
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
3. ให้นักเรียนวิเคราะห์ลักษณะของคนมองโลกในแง่ดีจะมีคุณลักษณะ
เช่นไร
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
14
4. ให้นักเรียนบันทึกคาชมจากเพื่อนที่นักเรียนประทับใจในเวลา 1 สัปดาห์
(ตัวอย่าง)แบบฟอร์มการบันทึก
วัน-เดือน-ปี คนที่ชมฉัน เขำชมฉันว่ำ
18 มิถุนายน 2554 ด.ญ.รัตติกาล สุภาพร ฉันแต่งตัวสะอาด
19 มิถุนายน 2554 ด.ช.ปรมินทร์ คงดา ฉันใจดีจริงๆ
.............................. .............................. ..............................
.............................. .............................. ..............................
.............................. .............................. ..............................
.............................. .............................. ..............................
.............................. .............................. ..............................
ฉันชอบการชมของเด็กหญิง มารยาท ชูใจ มากที่สุด ที่มาชมฉันว่า
“ฉันยิ้มสวย”
ลงชื่อ เด็กหญิงธัญญารัตน์ คงชู ผู้บันทึก
5. ให้นักเรียนเขียนผังความคิดลักษณะนิสัยของคนมองโลกในแง่ดี
มีอารมณ์ขัน
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
15
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. การมองแง่ดีมีความสุข คาว่า “ความสุข” หมายถึงสิ่งใด
ก. ความอยากมีอยากได้
ข. การมีสุขภาพดี
ค. ความสบายกายสบายใจ
ง. การเอาชนะผู้อื่น
2. คนที่มองโลกในแง่ร้ายจะทาลายอวัยวะส่วนไหนมากที่สุด
ก. สมอง
ข. ปอด
ค. แขน
ง. หัวใจ
3. การให้ที่มีคุณค่าที่สุดคือข้อใด
ก. ให้ทาน
ข. ให้อภัย
ค. ให้สิ่งของ
ง. ให้เสื้อ
4. ทาอย่างไรจึงจะเป็นคนมองในแง่ดี
ก. ให้ความสนใจกับปัจจุบัน
ข. เลือกจาแต่เหตุการณ์ในอดีตที่ดี
ค. มองปัญหาที่เราพบว่าเป็นสิ่งที่ต้องแก้ไข
ง. ถูกทุกข้อ
16
5. ผลดีของการมองในแง่ดี คือข้อใด
ก. มีความร่ารวย
ข. มีสุขภาพกายจิตดี
ค. มีเวลาเป็นของตน
ง. มีกินมีใช้
6. คาพูดในข้อใดที่ทาให้คนที่ถูกชมสบายใจ
ก. เธอสวยมาก
ข. เธออ้วนมาก
ค. เธอรวยมาก
ง. เธอกินเก่งมาก
7. ข้อใดไม่ใช่คุณค่าของการมีอารมณ์ขัน
ก. สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกัน
ข. ช่วยละลายอารมณ์โกรธอารมณ์หงุดหงิด
ค. แก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
ง. แก้ปัญหาเมื่อเผชิญสถานการณ์วิกฤติ
8. ทาอย่างไรจึงจะได้หัวเราะ
ก. ดูหนังตลก
ข. อยู่กับคนที่ชอบหัวเราะ
ค. ฟังเรื่องขาขัน
ง. ถูกทุกข้อ
17
9. คนที่เป็นโรคอะไรจะต้องหัวเราะให้มากๆ
ก. โรคเกาท์
ข. โรคตาแดง
ค. โรคความดันโลหิต
ง. โรคกระดูกพรุน
10. ข้อใดเป็นคากล่าวที่ผิดๆ
ก. หัวเราะทุกวันผิวพรรณดีขึ้น
ข. หัวเราะทุกวันคือคนบ้าๆ บอๆ
ค. หัวเราะทุกวันสร้างสรรค์ไมตรี
ง. หัวเราะทุกวันสร้างสรรค์การไหลเวียนโลหิต
18
ตอนที่ 1
1. ให้นักเรียนเขียนฝังความคิดการสร้างความสุขให้ตนเองโดยที่ไม่สร้างความ
เดือดร้อนให้ผู้อื่น
อยู่ในดุลยพินิจของครู
2. ให้นักเรียนเขียนเล่าเรื่องขาขันคนละ 1 เรื่อง
อยู่ในดุลยพินิจของครู
3. ให้นักเรียนวิเคราะห์ลักษณะของคนมองโลกในแง่ดีจะมีคุณลักษณะเช่นไร
ลักษณะของคนมองโลกในแง่ดีเป็นคนมีความสุข มีรอยยิ้ม
มีเสียง หัวเราะ มีอารมณ์ขัน เข้ากับเพื่อน ๆ ได้ดีเพื่อน ๆ รัก
มีเพื่อนมาก
4. ให้นักเรียนบันทึกคาชมจากเพื่อนที่นักเรียนประทับใจในเวลา 1 สัปดาห์
อยู่ในดุลยพินิจของครู
5. ให้นักเรียนวิเคราะห์ลักษณะนิสัยของตนเองเป็นคนมองโลกในแง่ดี
มีอารมณ์ขันแล้วหรือยัง ถ้ามีแล้วเกิดประโยชน์อย่างไรบ้าง
ถ้ายังไม่มีจะมีวิธีเปลี่ยนแปลงตัวเองอย่างไร
อยู่ในดุลยพินิจของครู
ตอนที่ 2
1. ค 2. ก 3. ข 4. ง 5. ข
6. ก 7. ค 8. ง 9. ค 10. ข
แนวคำตอบ
แบบทดสอบท้ำยบทเรียน
19
หนังสืออ้ำงอิง
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,สานักงาน.(2550).แนวกำรจัด
กิจกรรมกำรเรียนรู้เพศศึกษำช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษำ
ปีที่ 4 - 6.พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แห่งประเทศไทยจากัด.
เรณุมาศ มาอุ่น และเขมฤทัยวรรณรสพากย์.(2551). สุขศึกษำและ
พลศึกษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6.กรุงเทพฯ:บริษัทพัฒนา
คุณภาพวิชาการ.
วรสิริยุตต์.(2543).20 กลยุทธ์ควบคุมคน.พิมพ์ครั้งที่6.นนทบุรี:
ธิงค์ บียอนด์บุคส์.
สานักพัฒนาการพลศึกษา. (2544). สุขภำพ และนันทนำกำร.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา กรมการศาสนา.
เอมอร กฤษณะรังสรรค์,ดร.ทักษะกำรสร้ำงสัมพันธภำพกับผู้อื่น.
(ออนไลน์). http://www.novabizz.com/NovaAce/
Relationship/Skill.htm.(เข้าได้เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2555)
(ออนไลน์). http://www.rimnam.com/.(เข้าได้เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน
2555)
(ออนไลน์). http://www.rimnam.com/.(เข้าได้เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน
2555)
ผู้จัดทำ
นำยสุธำรักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
กำรศึกษำ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
สถำนที่ทำงำน โรงเรียนบ้านต้นปรง อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
ตำแหน่งปัจจุบัน ครูวิทยฐานะชานาญการ
ผลงำน/เกียรติยศ
 เกียรติบัตรครูผู้สอนดี กลุ่ม สลน.
ศึกษาธิการ อ.เมืองตรัง
 เกียรติบัตรผู้ฝึกซ้อมเซปักตะกร้อชนะเลิศ 11 ปี
ระดับอาเภอ
 วุฒิบัตรบุคลากรต้นแบบการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้
กระทรวงศึกษาธิการ
 ประกาศเกียรติคุณผู้ประสานพลังแผ่นดิน
ศูนย์อานวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ
 โล่เกียรติคุณ ครูรางวัลเกียรติยศ สพท. ตรัง เขต 2
 โล่เกียรติคุณ ครูรางวัลครูดีเด่นด้านการสอนพลศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
 เกียรติบัตรครูผู้สอนดีเด่น กลุ่มสาระสุขศึกษาและ
พลศึกษา คุรุสภา
คำรับรองผลงำน
ข้าพเจ้านายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง
ขอรับรองว่า นวัตกรรมหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ ชั้นประถม
ศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เป็นนวัตกรรมที่
นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการ โรงเรียน
บ้านต้นปรง ได้จัดทาขึ้นด้วยตนเองเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ลงชื่อ
(นายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข

Contenu connexe

Tendances

049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2niralai
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
Luangpoo singthong
Luangpoo singthongLuangpoo singthong
Luangpoo singthongMI
 
งานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นงานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นan paan
 
048พระรัตนตรัย
048พระรัตนตรัย048พระรัตนตรัย
048พระรัตนตรัยniralai
 
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
Retreat 2555 2556
Retreat 2555 2556Retreat 2555 2556
Retreat 2555 25560877067604
 

Tendances (18)

2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์ 2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2049พระรัตนตรัย2
049พระรัตนตรัย2
 
Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3Dhammaratana journal 3
Dhammaratana journal 3
 
Dhammaratana journal 7
Dhammaratana journal 7 Dhammaratana journal 7
Dhammaratana journal 7
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
Luangpoo singthong
Luangpoo singthongLuangpoo singthong
Luangpoo singthong
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ 3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
งานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นงานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้น
 
048พระรัตนตรัย
048พระรัตนตรัย048พระรัตนตรัย
048พระรัตนตรัย
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
 
กระแสพระนิพพาน
กระแสพระนิพพานกระแสพระนิพพาน
กระแสพระนิพพาน
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
Retreat 2555 2556
Retreat 2555 2556Retreat 2555 2556
Retreat 2555 2556
 

En vedette

En vedette (13)

5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์ 2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์
 
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
 
6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น
 
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
 
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ 3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ
 
8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ
 
6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น
 
6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น
 
บทคัดย่อระดับปฐมวัย
บทคัดย่อระดับปฐมวัยบทคัดย่อระดับปฐมวัย
บทคัดย่อระดับปฐมวัย
 
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
 

Similaire à 4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข

เล่มที่ 5
เล่มที่ 5เล่มที่ 5
เล่มที่ 5disk1412
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10Jurarat Thongma
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรniralai
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯบทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2duenka
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓dentyomaraj
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 

Similaire à 4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข (17)

2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์
 
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
เล่มที่ 5
เล่มที่ 5เล่มที่ 5
เล่มที่ 5
 
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
โครงงานพระพุทธศาสนา เรื่อง บุญกิริยาวัตถุ 10
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯบทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
 
8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
 
Tsan newsletter 8
Tsan newsletter 8Tsan newsletter 8
Tsan newsletter 8
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 

4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข

  • 1. หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เล่มที่ 4 สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ โรงเรียนบ้านต้นปรง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
  • 3. คำนำ หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบ การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สาระ ที่ 2 ชีวิตและครอบครัว สาหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านต้นปรง ผู้จัดทาได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การสร้างสัมพันธภาพ นามาเรียบเรียงเป็นวรรณกรรมสาหรับเด็ก เพื่อต้องการ กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะเรียนรู้ นาความรู้ที่ได้จากการอ่านมาพัฒนา วิธีการสร้างสัมพันธภาพของตนเองให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ได้จัดทาขึ้น จานวน 8 เล่ม ดังนี้ เล่มที่ 1 สัมพันธภาพ เล่มที่ 2 ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3 สุขอยู่ที่ใจ เล่มที่ 4 มองแง่ดีมีความสุข เล่มที่ 5 เด็กดีศรีต้นปรง เล่มที่ 6 ความรักวัยรุ่น เล่มที่ 7 ชีวิตกาญจนาน่าเรียนรู้ เล่มที่ 8 กีฬาสัมพันธภาพ หนังสือที่ท่านกาลังอ่านอยู่นี้เป็นเล่มที่ 3 เรื่อง มองแง่ดีมีความสุข เป้าหมาย ต้องการเน้นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น ขอบคุณ นายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง คณะ ครู และนักเรียน ผู้จัดทารู้สึกซาบซึ้งที่ได้รับความกรุณา เอาใจใส่ ให้คาปรึกษา แนะนา แก้ไขข้อบกพร่อง จนการดาเนินการจัดทาสาเร็จเรียบร้อยด้วยดี สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ ก
  • 4. คำชี้แจง หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ ผู้จัดทาเขียนขึ้นเหมาะกับบริบท ของนักเรียนโรงเรียนบ้านต้นปรง หากโรงเรียนใดนาไปใช้ให้ประสบผลสาเร็จ เป็นไป ตามเป้าประสงค์ที่วางไว้ จึงมีข้อเสนอแนะสาหรับครูผู้สอนและผู้เรียนดังต่อไปนี้ 1. หนังสือเล่มนี้ใช้คู่กับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 - 9 2. ศึกษาและปฏิบัติตามแผนการจัดการเรียนรู้ทุกประการ 3. ครูอ่านหนังสือเล่มนี้และทาความเข้าใจก่อนที่จะนามาใช้กับผู้เรียน 4. สร้างข้อตกลงในการใช้หนังสือ 5. แจกหนังสือกับนักเรียนทุกคน 6. ครูแจกกระดาษคาตอบ หรืออุปกรณ์ สาหรับทาแบบทดสอบท้าย บทเรียน 1. อ่านคาแนะนาการใช้หนังสือให้เข้าใจ 2. ไม่ทาเครื่องหมายหรือขีดเขียนลงในหนังสือ 3. ส่งหนังสือคืนครูหลังจากเรียนจบในแต่ละเล่ม 4. อ่านแล้วต้องคิดตามนาความรู้มาพัฒนาตนเอง คำชี้แจงสำหรับครูผู้สอน บทบำทผู้เรียน ข
  • 5.
  • 6. 2 ในสังคมปัจจุบันเราต้องยอมรับว่าคนเราต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดี กับบุคคลอื่น จึงจะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข การมองโลกในแง่ดีทาให้เกิดความหวังในชีวิต มีกาลังใจ มองตนเองและ คนอื่น ๆ อย่างมีคุณค่า มีมิตรเพิ่มขึ้น ได้รับการช่วยเหลือจากคนอื่นเสมอ สามารถแก้ไขอุปสรรคในชีวิตได้ดี มีสติปัญญา มีจิตใต้สานึกที่ดี ได้รับ ความรักความสนใจมาจากครอบครัวเป็นพื้นฐาน อยู่อย่างเกื้อกูล
  • 7. 3 มำอ่ำนอ่ำนบทร้อยกรอง พระธรรมในคำกลอน ชุดมองโลกแต่แง่ดีเถิด เขามีส่วนเลวบ้างช่างหัวเขา จงเลือกเอา ส่วนที่ดี เขามีอยู่ เป็นประโยชน์โลกบ้างยังน่าดู ส่วนที่ชั่วอย่าไปรู้ของเขาเลย จะหาคนมีดีโดยส่วนเดียว อย่ามัวเที่ยวค้นหาสหายเอ๋ย เหมือนเทียวหาหนวดเต่าตายเปล่าเลย ฝึกให้เคยมองแต่ดีมีคุณจริง ( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ ) ความสุขสร้างได้ คนเราทุกคนมีความต้องการให้ตนเองมีความสุข การจะมีความสุขได้นั้นสิ่ง สาคัญคือ การมองตนเองอย่างมีค่าและมองคนอื่นอย่างมีค่าจะทาให้จิตใจมีความสุข ดังคาสอนท่านพุทธทาสที่ว่า
  • 8. 4 ถ้าเอาเปรียบเขาไม่ได้ก็ว่าไม่ถูก ถ้าจูงจมูกได้ทุกทีก็ว่าดีเหลือ ถึงวันดีเกิดมีเกลือจิ้มเกลือ ร้องว่าเบื่อโลกอะไรไม่เป็นธรรม คนพวกนี้มีโลกของตนเอง ไม่ตามเพลงของกิเลสทีอุปถัมภ์ ไม่ยอมรับอะไรหมดแม้กฎกรรม ความเป็นธรรมนั้นคือได้ตามใจ ไกลจากสัตว์ไปทุกทีที่ว่าเจริญ หาส่วนเกินมาเทิดไว้ใส่เกล้าหัว ใช้สงครามตัดสินความไม่คร้ามกลัว ว่าความชั่วมีไหม้โลกเป็นโคกไฟ ( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ ) เห็นแก่ตัวไร้ความสุข การอยู่อย่างมีความสุขนั้น เป็นการพึ่งพาอาศัยกันคิดเสมอว่า คนเรานั้นดีไม่ทั้งหมดและชั่วไม่ทั้งหมด คนที่ดีจึงทาให้ตนเองเป็นคนดี ควบคุมดูแลตนเองให้มีความรักความเมตตา ดังคากล่าวที่ว่า......
  • 9. 5 ถ้าจะอยู่ในโลกนี้อย่างมีสุข อย่าประยุกต์สิ่งทั้งผองเป็นของฉัน มันสะสุมเผากระบาลท่านเป็นควัน ต้องปล่อยมันเป็นของมันอย่าผันมา เป็นของกูในอานาจแห่งตัวกู ท่านจะอยู่วุ่นวายคล้ายคนบ้า อย่างน้อยก็เป็นนกเขาเข้าตารา มันคึกว่ากูของกูอยู่ร่าไป ถ้าหามามีไว้ใช้หรือกิน ตามระบิลอิ่มหนาก็ทาไหว โดยไม่ต้องมั่นหมายให้อะไร ถูกยึดไว้ว่าตัวกูหรือของกู ( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ ) ความสุขอยู่ที่ตนเอง ชีวิตมีค่าทุกเวลา ควรเอาใจใส่ดูแลตนเองให้ดีทาหน้าที่ให้เรียบร้อยและ คิดช่วยเหลือผู้อื่นลดความเห็นแก่ตนลงจะได้มีความสุขด้วยกัน ดังคากล่าวที่ว่า
  • 10. 6 มองอะไรให้เห็นเป็นครูสอน มองไม้ขอนหรือมองคนถ้าค้นหา มีสิ่งสอนเสมอกันมีปัญญา จะพบว่าล้วนมีพิษอนิจจัง จะมองทุกข์หรือมองสุขมองให้ดี ว่าจะเป็นอย่างที่เรานึกหวัง หรือเป็นไปตามปัจจัยให้ระวัง อย่าคลุ้มคลั่งจะมองเห็นเป็นธรรมดา มองโดยนัยให้มันสอนจะถอนโศก มองเยกโยกมันไม่สอนนอนเป็นบ้า มองไม่เป็นจะโทษใครที่ไหนมา มองถูกท่าทุกข์ก็คลายสลายเอง บทเรียนจากสิ่งรอบข้าง ( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ ) คนเรามีตาไว้ดู มีหูไว้ฟัง มีสมองไว้คิด จึงควรระวังคาพูด การมองสิ่งที่ดี งามแล้วนามาคิดเพื่อใช้ในชีวิต ทาให้ตนเองมีค่า ดังข้อความที่ว่า
  • 11. 7 ชอบยึดมั่นระวังมันจะกัดเอา เพราะความเขลายึดมั่นมีตัณหา อุปาทานกอดรัดมัดวิญญาณ อยู่ดีดีก็เป็นบ้ามาทันที ยึดสิ่งใดสิ่งนั้นแหละมันกัด กินกามเกียรติสารพัดกลีหรือศรี หรือแม้บุตรภรรยาหรือสามี ความชั่วดีบุญหรือบาปจงทราบกัน แม้รสสุขที่อร่อยอยู่ที่ใจ ชั้นอร่อยแน่นิ่งไปถ้ายึดมั่น จะกลายเป็นยักษาขึ้นมาพลัน แล้วห้าหั่นกัดเอาอย่าเขลาเอย ( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ ) ถือตนเองเป็นใหญ่ คนดีที่น่ารักจะรู้จักดูแลตนเอง คิดในสิ่งดีเพื่อไม่ให้ตนเองผิดพลาด สิ่งสาคัญทางานในหน้าที่ให้ดี มีจิตใจช่วยเหลือคนอื่นและมีสติทุกครั้งในการคิดและ การพูด ดังคากลอนที่ว่า
  • 12. 8 อันที่จริงการงานนั้นน่ารัก เมื่อยังไม่รู้จักก็ไม่รู้จัก ก็ปล่อยปละแล้วละวาง บ้างร้องคราง เมื่อรอหน้าว่าเบื่อจริง แต่ที่แท้การงานนั้นน่ารัก สอนให้คนรู้จักไปทุกสิ่ง ถ้ายิ่งทายิ่งฉลาดไม่พลาดยิ่ง ได้ตรงดิ่งสิ่งอุกกฤษฎ์คือจิตเจริญ การงานนี้ดูให้ดีมันน่ารัก เป็นการชักธรรมมะมาน่าสรรเสริญ คือมีสติฉันทะทมะเกิน ครั้งหยุดเพลินจิตก็วางทางนิพพาน ( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ ) อยู่อย่างไรให้น่ารัก คนดีที่น่ารักจะรู้จักดูแลตนเอง คิดในสิ่งดีเพื่อไม่ให้ตนเองผิดพลาด สิ่ง สาคัญทางานในหน้าที่ให้ดี มีจิตใจช่วยเหลือคนอื่นและมีสติทุกครั้งในการคิดและ การพูด ดังคากลอนที่ว่า
  • 13. 9 อันการงานนั้นประเสริฐตรงที่สุด ยิ่งทางานยิ่งเป็นสุขทุกข์สถาน ทาชีวิตให้สดใสใจเบิกบาน ในการงานประจาวันนั่นเองนา เมื่ออย่างนี้มีคนคิดวิมลจิต เย็นสนิทดวงใจไรโทสา เกิดสังคมที่อุดมด้วยเมตตา อยากเรียกว่าธัมมิกะสังคมนิยม ผลของงานล้นเหลือเผื่อแผ่ทั่ว สัตว์ทุกตัว ใหญ่น้อยพลอยสุขสม ทั้งเมืองเล็กเมืองใหญ่ได้ชื่นชม โลกระดมสุขวางทางนิพพาน ( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ ) ทางานด้วยใจ ทุกคนเกิดมาต่างก็มีภาระหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ การทางานสิ่งใดก็ ตามแต่ถ้าทาด้วยใจรักและเป็นสุข ผลของงานก็จะออกมาเป็นที่น่าพอใจ ดังคา กล่าวของท่านพุทธทาสที่ว่า
  • 14. 10 ทุกคนมีหน้าที่ของตนเอง เพื่อทาให้งานสาเร็จตามหน้าที่ด้วยความฉลาด มี ความสุขในการทางาน รู้จักคุณค่าของตนเองว่า การทางานคือการทาประโยชน์ที่ดี ท่าน พุทธทาสสอนว่า การปฏิบัติตนคือการปฏิบัติธรรม คนที่ทาดีมีประโยชน์ คือ คนที่ ทางานจริงจังหวังประโยชน์ของตนเองและส่วนรวม ดังคากล่าวของท่านพุทธทาสที่ว่า อันการงานคือคุณค่าของมนุษย์ ของมีเกียรติสูงสุดอย่าสงสัย ถ้าสนุกด้วยการงานเบิกบานใจ ไม่เท่าไหร่ได้รู้ธรรมฉ่าซึ้งจริง เพราะการงานเป็นตัวการประพฤติกรรม กุศลกรรมกล้าปนมามีค่ายิ่ง ถ้าจะเปรียบก็เปรียบคนฉลาดยิ่ง นัดเดียววิ่งเก็บนกหลายพกพา คือการงานนั้นต้องทาด้วยสติ มีสมาธิขันติมีอุตสาห์ มีสัจจะมีทมะมีปัญญา มีศรัทธาและกล้าหาญรักงานจริง ( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ ) คุณค่าของงาน
  • 15. 11 อารมณ์ขันเป็นสิ่งสาคัญที่ก่อให้เกิดประโยชน์กับชีวิต คนมีอารมณ์ขัน ทา ให้เพิ่มภูมิต้านทานโรค มีสุขภาพจิตดี ช่วยละลายความโกรธ ความหงุดหงิด รวมทั้งกระชับสัมพันธภาพ เพิ่มพูนความผูกพัน สามารถแก้ปัญหาเมื่อเผชิญ กับสถานการณ์วิกฤติ การหัวเราะทาให้เกิดความรู้สึกเบิกบานเป็นน้าหนึ่งใจ เดียว ทาให้อารมณ์ต่อต้านลดลง อารมณ์ขันเป็นรางวัลอันมีค่า และอารมณ์ ขัน ช่วยสร้างเสริมสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อความสุขสันต์ จงสร้างอารมณ์ขัน ให้กับชีวิต ความเอ๋ยความสุข ใครๆทุกคนชอบเจ้าเฝ้าวิ่งหา แกก็สุขฉันก็สุขทุกเวลา แต่ดูหน้าตาแห้งยังแคลงใจ ถ้าเราเผาตัวตัณหาก็น่าจะสุข ถ้ามันเผาเราก็สุขหรือเกรียมได้ เขาว่าสุขสุขเน้ออย่าเห่อไป มันสุขเย็นหรือสุขไหม้ให้แน่เอย ( อ้างอิง : ท่านพุทธธาตุภิกขุ ) สุขภาพจิตดีมีความสุข
  • 16. 12 คำศัพท์ คำอ่ำน ควำมหมำย เกลือจิ้มเกลือ เกลือ-จิ้ม-เกลือ ไม่ยอมเสียเปรียบกัน แก้เผ็ดให้ สาสมกัน จูงจมูก จูง-จะ-หมูก ถูกเขาชักนาไปโดยไม่ใช้ความคิด ของตน อุปถัมภ์ อุ-ปะ-ถา, อุป-ปะ-ถา ค้าจุน ค้าชู สนับสนุน เลี้ยงดู ประยุกต์ ประ-ยุก นาความรู้ในวิทยาการต่าง ๆ มา ปรับใช้ให้เป็นประโยชน์ ระบิล ระ-บิน เรื่อง ความ ฉบับ อย่าง ปัจจัย ปัด-ไจ เหตุอันให้ผลเป็นไป อนิจจัง อะ-นิด-จัง ไม่เที่ยง ไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลง อยู่เสมอ ตัณหา ตัน-หา ความทะยานอยาก อุปาทาน อุ-ปา-ทาน, อุบ-ปา-ทาน การยึดมั่นถือมั่น อุกกฤษฎ์ อุ-กฺริด เลิศ,สูงสุด นิพพาน นิบ-พาน ความสิ้นกิเลส ทมะ ทะ-มะ การข่มใจ คำอธิบำยศัพท์
  • 17. 13 แบบทดสอบท้ำยบทเรียน ตอนที่ 1 ตอบคาถามให้ถูกต้อง 1. ให้นักเรียนเขียนฝังความคิดการสร้างความสุขให้ตนเองโดยที่ไม่สร้างความ เดือดร้อนให้ผู้อื่น ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 2. ให้นักเรียนเขียนเล่าเรื่องขาขันคนละ 1 เรื่อง ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 3. ให้นักเรียนวิเคราะห์ลักษณะของคนมองโลกในแง่ดีจะมีคุณลักษณะ เช่นไร ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………
  • 18. 14 4. ให้นักเรียนบันทึกคาชมจากเพื่อนที่นักเรียนประทับใจในเวลา 1 สัปดาห์ (ตัวอย่าง)แบบฟอร์มการบันทึก วัน-เดือน-ปี คนที่ชมฉัน เขำชมฉันว่ำ 18 มิถุนายน 2554 ด.ญ.รัตติกาล สุภาพร ฉันแต่งตัวสะอาด 19 มิถุนายน 2554 ด.ช.ปรมินทร์ คงดา ฉันใจดีจริงๆ .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. .............................. ฉันชอบการชมของเด็กหญิง มารยาท ชูใจ มากที่สุด ที่มาชมฉันว่า “ฉันยิ้มสวย” ลงชื่อ เด็กหญิงธัญญารัตน์ คงชู ผู้บันทึก 5. ให้นักเรียนเขียนผังความคิดลักษณะนิสัยของคนมองโลกในแง่ดี มีอารมณ์ขัน ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………
  • 19. 15 ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. การมองแง่ดีมีความสุข คาว่า “ความสุข” หมายถึงสิ่งใด ก. ความอยากมีอยากได้ ข. การมีสุขภาพดี ค. ความสบายกายสบายใจ ง. การเอาชนะผู้อื่น 2. คนที่มองโลกในแง่ร้ายจะทาลายอวัยวะส่วนไหนมากที่สุด ก. สมอง ข. ปอด ค. แขน ง. หัวใจ 3. การให้ที่มีคุณค่าที่สุดคือข้อใด ก. ให้ทาน ข. ให้อภัย ค. ให้สิ่งของ ง. ให้เสื้อ 4. ทาอย่างไรจึงจะเป็นคนมองในแง่ดี ก. ให้ความสนใจกับปัจจุบัน ข. เลือกจาแต่เหตุการณ์ในอดีตที่ดี ค. มองปัญหาที่เราพบว่าเป็นสิ่งที่ต้องแก้ไข ง. ถูกทุกข้อ
  • 20. 16 5. ผลดีของการมองในแง่ดี คือข้อใด ก. มีความร่ารวย ข. มีสุขภาพกายจิตดี ค. มีเวลาเป็นของตน ง. มีกินมีใช้ 6. คาพูดในข้อใดที่ทาให้คนที่ถูกชมสบายใจ ก. เธอสวยมาก ข. เธออ้วนมาก ค. เธอรวยมาก ง. เธอกินเก่งมาก 7. ข้อใดไม่ใช่คุณค่าของการมีอารมณ์ขัน ก. สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกัน ข. ช่วยละลายอารมณ์โกรธอารมณ์หงุดหงิด ค. แก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ง. แก้ปัญหาเมื่อเผชิญสถานการณ์วิกฤติ 8. ทาอย่างไรจึงจะได้หัวเราะ ก. ดูหนังตลก ข. อยู่กับคนที่ชอบหัวเราะ ค. ฟังเรื่องขาขัน ง. ถูกทุกข้อ
  • 21. 17 9. คนที่เป็นโรคอะไรจะต้องหัวเราะให้มากๆ ก. โรคเกาท์ ข. โรคตาแดง ค. โรคความดันโลหิต ง. โรคกระดูกพรุน 10. ข้อใดเป็นคากล่าวที่ผิดๆ ก. หัวเราะทุกวันผิวพรรณดีขึ้น ข. หัวเราะทุกวันคือคนบ้าๆ บอๆ ค. หัวเราะทุกวันสร้างสรรค์ไมตรี ง. หัวเราะทุกวันสร้างสรรค์การไหลเวียนโลหิต
  • 22. 18 ตอนที่ 1 1. ให้นักเรียนเขียนฝังความคิดการสร้างความสุขให้ตนเองโดยที่ไม่สร้างความ เดือดร้อนให้ผู้อื่น อยู่ในดุลยพินิจของครู 2. ให้นักเรียนเขียนเล่าเรื่องขาขันคนละ 1 เรื่อง อยู่ในดุลยพินิจของครู 3. ให้นักเรียนวิเคราะห์ลักษณะของคนมองโลกในแง่ดีจะมีคุณลักษณะเช่นไร ลักษณะของคนมองโลกในแง่ดีเป็นคนมีความสุข มีรอยยิ้ม มีเสียง หัวเราะ มีอารมณ์ขัน เข้ากับเพื่อน ๆ ได้ดีเพื่อน ๆ รัก มีเพื่อนมาก 4. ให้นักเรียนบันทึกคาชมจากเพื่อนที่นักเรียนประทับใจในเวลา 1 สัปดาห์ อยู่ในดุลยพินิจของครู 5. ให้นักเรียนวิเคราะห์ลักษณะนิสัยของตนเองเป็นคนมองโลกในแง่ดี มีอารมณ์ขันแล้วหรือยัง ถ้ามีแล้วเกิดประโยชน์อย่างไรบ้าง ถ้ายังไม่มีจะมีวิธีเปลี่ยนแปลงตัวเองอย่างไร อยู่ในดุลยพินิจของครู ตอนที่ 2 1. ค 2. ก 3. ข 4. ง 5. ข 6. ก 7. ค 8. ง 9. ค 10. ข แนวคำตอบ แบบทดสอบท้ำยบทเรียน
  • 23. 19 หนังสืออ้ำงอิง คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,สานักงาน.(2550).แนวกำรจัด กิจกรรมกำรเรียนรู้เพศศึกษำช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษำ ปีที่ 4 - 6.พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทยจากัด. เรณุมาศ มาอุ่น และเขมฤทัยวรรณรสพากย์.(2551). สุขศึกษำและ พลศึกษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6.กรุงเทพฯ:บริษัทพัฒนา คุณภาพวิชาการ. วรสิริยุตต์.(2543).20 กลยุทธ์ควบคุมคน.พิมพ์ครั้งที่6.นนทบุรี: ธิงค์ บียอนด์บุคส์. สานักพัฒนาการพลศึกษา. (2544). สุขภำพ และนันทนำกำร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา กรมการศาสนา. เอมอร กฤษณะรังสรรค์,ดร.ทักษะกำรสร้ำงสัมพันธภำพกับผู้อื่น. (ออนไลน์). http://www.novabizz.com/NovaAce/ Relationship/Skill.htm.(เข้าได้เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2555) (ออนไลน์). http://www.rimnam.com/.(เข้าได้เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2555) (ออนไลน์). http://www.rimnam.com/.(เข้าได้เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2555)
  • 24. ผู้จัดทำ นำยสุธำรักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ กำรศึกษำ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี สถำนที่ทำงำน โรงเรียนบ้านต้นปรง อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ตำแหน่งปัจจุบัน ครูวิทยฐานะชานาญการ ผลงำน/เกียรติยศ  เกียรติบัตรครูผู้สอนดี กลุ่ม สลน. ศึกษาธิการ อ.เมืองตรัง  เกียรติบัตรผู้ฝึกซ้อมเซปักตะกร้อชนะเลิศ 11 ปี ระดับอาเภอ  วุฒิบัตรบุคลากรต้นแบบการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ  ประกาศเกียรติคุณผู้ประสานพลังแผ่นดิน ศูนย์อานวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ  โล่เกียรติคุณ ครูรางวัลเกียรติยศ สพท. ตรัง เขต 2  โล่เกียรติคุณ ครูรางวัลครูดีเด่นด้านการสอนพลศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต  เกียรติบัตรครูผู้สอนดีเด่น กลุ่มสาระสุขศึกษาและ พลศึกษา คุรุสภา
  • 25. คำรับรองผลงำน ข้าพเจ้านายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง ขอรับรองว่า นวัตกรรมหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุดครอบครัวสุขสันต์ ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เป็นนวัตกรรมที่ นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการ โรงเรียน บ้านต้นปรง ได้จัดทาขึ้นด้วยตนเองเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน ลงชื่อ (นายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง