SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
Net promotor score
(NPS)
NPS (Net Promoter Score) คือ
NPS เป็นแนวคิดที่ได้รับการพัฒนาจาก Fred Reichheld จากบริษัทที่ปรึกษาชั้น
นา Bain & Company, and Satmetrix (และได้ถูกจดเป็น Registered
Trademark ไปแล้ว) โดยแนวคิดนี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร Harvard Business
Review ในปี2003 ในบทความชื่อ “The one number you need to grow”
NPS (Net Promoter Score) คือ
 การวัดความพึงพอใจและความซื่อสัตย์ของ ลูกค้า เป็นการประเมินค่าระดับการสนับสนุน
องค์กรเราจากลูกค้า
 เกิดจากหลักการที่ว่า ถ้าหากลูกค้าของเราเขาประทับใจ ชื่นชอบในการบริการขององค์กรเรา
เขาย่อมจะอยากจะแนะนาสนับสนุนเรา และบอกต่อให้คนรอบข้างมาใช้บริการกับเรา ซึ่ง
หลักการนี้ แสดงให้เห็นต่อไปว่าลูกค้าที่อยากจะแนะนาบอกต่อให้ผู้อื่นมาใช้บริการนั้น จะทา
ให้คนที่ได้รับการแนะนานั้นเข้ามาใช้บริการขององค์กรเราได้ทันที ถือว่าเราได้ลูกค้าใหม่ที่
เชื่อมั่นเราจากคาแนะนาของเพื่อน อีกทั้งองค์กรของเรามิต้องลงทุนในการหาลูกค้าใหม่ ซึ่ง
แสดงว่าหากองค์กรของเราได้ลูกค้าใหม่จากการแนะนาต่ออยู่เสมอ รายได้และกาไรของ
องค์กรย่อมจะสูงขึ้น อยู่เสมอเช่นกัน
NPS (Net Promoter Score)
 มีงานวิจัยที่ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ได้เคยทาขึ้นมาและพบว่า การเพิ่มเพียงแค่
5% ในลูกค้าเดิม จะนาไปสู่การเติบโตของกาไรระหว่าง 25 - 100% และ
องค์กรที่มีความภักดีของลูกค้ามากที่สุด จะมีการเติบโตของรายได้มากกว่า
คู่แข่งถึงสองเท่า
 ธุรกิจชั้นนาทั่วโลกได้นาตัวชี้วัดนี้มาใช้เพื่อประเมินการเติบโตของธุรกิจ
ต่างจากการวัดความพึงพอใจอย่างไร
 ผลจากการวิจัยก็พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างความพอใจของลูกค้ากับพฤติกรรมของลูกค้า
จริงๆ นั้นไม่ชัดเจน หรือ อีกนัยหนึ่งคือไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความพอใจลูกค้า กับการ
เติบโตของรายได้ของบริษัท นั้นคือการที่ลูกค้าตอบว่าพอใจมากขึ้น จะนาไปสู่รายได้ของ
บริษัทที่เพิ่มขึ้นพูดง่ายๆคือถ้าเราได้ค่า ความพึงพอใจ มาก ก็ไม่ได้รับประกันว่าธุรกิจจะ
เติบโต ในขณะเดียวกันถ้าได้ค่า ความพึงพอใจ น้อยธุรกิจอาจจะเติบโตดีก็ได้
 และยังมีบางบทความที่บอกว่า Net Promoter Score คือคะแนนการบอกต่อสุทธิ ซึ่งเจ้า Net
Promotor Score นี้ได้พิสูจน์แล้วว่ามีความสัมพันธ์กับการเติบโตของธุรกิจในอนาคต พูด
ง่ายๆคือ ถ้าธุรกิจได้คะแนน NPS สูง สามารถรับประกันได้เลยว่าในอนาคตธุรกิจจะมีการ
เติบโตแน่ ๆ
 ความแรงจากตัวชี้วัดนี้ก็คือคาถามของมันไม่ใช่เรื่องเกี่ยวกับอารมณ์ ("ฉัน
พอใจแค่ไหน?")
 แต่เกี่ยวกับความ ตั้งใจ ("ฉันน่าจะหมายถึงอะไร?") ซึ่งง่ายกว่าที่จะตอบ จะลง
ไปคาถามว่าผลิตภัณฑ์ดีพอที่จะอ้างอิงและใส่ ชื่อเสียงของคุณเองในการ
แนะนาหรือไม่
 เป็นการประเมิน Advocacy ของลูกค้า
ต่างจากการวัดความพึงพอใจอย่างไร
NPS (Net Promoter Score)
 สาหรับในการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการคานวณหาค่า NPS นั้น จะต้องมีการถามคาถามกับลูกค้าว่า
 “ท่านจะแนะนาบริษัท/สินค้า/บริการของเราให้กับเพื่อนหรือคนคุ้นเคยหรือไม่” และจะนาผลนั้นมา
แบ่งกลุ่มลูกค้าออกเป็น 3 กลุ่ม
(1) Promoters
(2) Passives และ
(3) Detractors
ซึ่งจะทาให้องค์กร สามารถจัดการกับลูกค้าแต่ละกลุ่มโดยใช้กลยุทธ์ที่แตกต่างกันได้
NPS (Net Promoter Score)
 ในขั้นตอนการเก็บข้อมูลนั้น องค์กรจะต้องมีการทาการสารวจความคิดเห็นจากลูกค้า ไม่
ว่าจะเป็นวิธีการส่งแบบสอบถาม ทางจดหมาย ทาง Online หรือว่าการใช้การ
โทรศัพท์สัมภาษณ์ก็ตาม ซึ่งไม่ว่าจะเป็นทางใดก็ตามจะต้องให้แน่ใจว่าผู้ตอบสามารถ
ตอบได้โดยอิสระ (ซึ่งมักจะเป็นการให้ตอบโดยไม่ต้องเปิดเผยชื่อ) และส่วนใหญ่แล้ว
นอกจากจะมีการถามถึงแนวโน้มในการแนะนา บริษัท/สินค้า/บริการกับคนที่รู้จักแล้ว
ผู้สารวจก็มักจะถามให้ผู้ตอบทาการประเมินบริษัทคู่แข่งไปด้วยพร้อมกัน รวมถึงอาจจะ
ถาม ในรายละเอียดของบริษัท/สินค้า/บริการ ต่าง ๆ พร้อมกันไปด้วย
NPS (Net Promoter Score)
 Promoters คือกลุ่มของลูกค้าที่ให้คะแนน 9 - 10 กลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มลูกค้าที่ ซื่อสัตย์และนอกจากจาก
ซื้อหรือใช้สินค้าหรือบริการขององค์กรแล้ว ยังเป็นผู้ที่จะแนะนาสินค้าหรือบริการขององค์กรต่อไปด้วย
 Passives คือกลุ่มลูกค้าที่ให้คะแนน 7 - 8 หรือกลุ่มลูกค้าที่พร้อมจะเปลี่ยนใจไปจากองค์กรหากพบ
สินค้าหรือบริการที่ดีกว่า กลุ่มลูกค้ากลุ่มนี้จะไม่ค่อยมีความซื่อสัตย์ต่อองค์กรมากนัก และอาจจะถูกชักจูงจาก
คู่แข่งได้ง่าย
 Detractors คือกลุ่มลูกค้าที่ให้คะแนนตั้งแต่ 0 – 6 หรือกลุ่มลูกค้าที่ไม่พึงพอใจต่อสินค้าหรือบริการ
ขององค์กร กลุ่ม นี้นอกจากจะไม่แนะนาสินค้าหรือบริการขององค์กรแล้ว ยังเป็นกลุ่มที่อาจจะทาลายชื่อเสียง
ขององค์กรด้วย กลุ่มนี้อาจจะยังคงซื้อ สินค้าหรือบริการจากองค์กรอยู่แต่ทาไปด้วยความจาเป็น เช่นไม่มี
ทางเลือกอื่น ๆ เป็นต้น
Productivity Forum สาหรับค่าของ NPS นั้น จะสามารถคานวณได้จาก
NPS = %ของลูกค้าที่เป็น Promoters - % ของลูกค้าที่เป็น Detractors

Contenu connexe

Similaire à Net promoter score

การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Having a strategy for new service development – does it really matter?
Having a strategy for new service development – does it really matter?Having a strategy for new service development – does it really matter?
Having a strategy for new service development – does it really matter?TK Tof
 
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดAIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดBussakornHiranchai
 
Chapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceChapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceTeetut Tresirichod
 
What does your customer really want
What does your customer really wantWhat does your customer really want
What does your customer really wantmaruay songtanin
 
Website Content marketing
Website Content marketing Website Content marketing
Website Content marketing prop2morrow
 

Similaire à Net promoter score (11)

การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 
Webnatics th seminar Kay
Webnatics th seminar KayWebnatics th seminar Kay
Webnatics th seminar Kay
 
SML Click Port - 2015
SML Click Port - 2015SML Click Port - 2015
SML Click Port - 2015
 
CRM
CRMCRM
CRM
 
Having a strategy for new service development – does it really matter?
Having a strategy for new service development – does it really matter?Having a strategy for new service development – does it really matter?
Having a strategy for new service development – does it really matter?
 
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดAIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
 
8-kpi
8-kpi8-kpi
8-kpi
 
Chapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for serviceChapter 10 design thinking for service
Chapter 10 design thinking for service
 
What does your customer really want
What does your customer really wantWhat does your customer really want
What does your customer really want
 
Website Content marketing
Website Content marketing Website Content marketing
Website Content marketing
 

Plus de Sutthiluck Kaewboonrurn

อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564Sutthiluck Kaewboonrurn
 
5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่Sutthiluck Kaewboonrurn
 
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองSutthiluck Kaewboonrurn
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนSutthiluck Kaewboonrurn
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตSutthiluck Kaewboonrurn
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการSutthiluck Kaewboonrurn
 

Plus de Sutthiluck Kaewboonrurn (19)

อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
อยุ่กับ COVID 19 อย่างไรใน ปี 2564
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Mentor & coaching
Mentor & coachingMentor & coaching
Mentor & coaching
 
5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่5 ส อย่างไรให้ใช่
5 ส อย่างไรให้ใช่
 
Supervision
SupervisionSupervision
Supervision
 
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมอง
 
7 qc tool online
7 qc tool online7 qc tool online
7 qc tool online
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ICD 10
ICD 10ICD 10
ICD 10
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหนคุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
คุณรู้จักกาแฟดีแค่ไหน
 
พินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิตพินัยกรรมชีวิต
พินัยกรรมชีวิต
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
Service excellent update
Service excellent updateService excellent update
Service excellent update
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
ก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการก้าวแรกส่งานบริการ
ก้าวแรกส่งานบริการ
 
Service excellent
Service  excellentService  excellent
Service excellent
 

Net promoter score

  • 2. NPS (Net Promoter Score) คือ NPS เป็นแนวคิดที่ได้รับการพัฒนาจาก Fred Reichheld จากบริษัทที่ปรึกษาชั้น นา Bain & Company, and Satmetrix (และได้ถูกจดเป็น Registered Trademark ไปแล้ว) โดยแนวคิดนี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร Harvard Business Review ในปี2003 ในบทความชื่อ “The one number you need to grow”
  • 3. NPS (Net Promoter Score) คือ  การวัดความพึงพอใจและความซื่อสัตย์ของ ลูกค้า เป็นการประเมินค่าระดับการสนับสนุน องค์กรเราจากลูกค้า  เกิดจากหลักการที่ว่า ถ้าหากลูกค้าของเราเขาประทับใจ ชื่นชอบในการบริการขององค์กรเรา เขาย่อมจะอยากจะแนะนาสนับสนุนเรา และบอกต่อให้คนรอบข้างมาใช้บริการกับเรา ซึ่ง หลักการนี้ แสดงให้เห็นต่อไปว่าลูกค้าที่อยากจะแนะนาบอกต่อให้ผู้อื่นมาใช้บริการนั้น จะทา ให้คนที่ได้รับการแนะนานั้นเข้ามาใช้บริการขององค์กรเราได้ทันที ถือว่าเราได้ลูกค้าใหม่ที่ เชื่อมั่นเราจากคาแนะนาของเพื่อน อีกทั้งองค์กรของเรามิต้องลงทุนในการหาลูกค้าใหม่ ซึ่ง แสดงว่าหากองค์กรของเราได้ลูกค้าใหม่จากการแนะนาต่ออยู่เสมอ รายได้และกาไรของ องค์กรย่อมจะสูงขึ้น อยู่เสมอเช่นกัน
  • 4. NPS (Net Promoter Score)  มีงานวิจัยที่ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ได้เคยทาขึ้นมาและพบว่า การเพิ่มเพียงแค่ 5% ในลูกค้าเดิม จะนาไปสู่การเติบโตของกาไรระหว่าง 25 - 100% และ องค์กรที่มีความภักดีของลูกค้ามากที่สุด จะมีการเติบโตของรายได้มากกว่า คู่แข่งถึงสองเท่า  ธุรกิจชั้นนาทั่วโลกได้นาตัวชี้วัดนี้มาใช้เพื่อประเมินการเติบโตของธุรกิจ
  • 5. ต่างจากการวัดความพึงพอใจอย่างไร  ผลจากการวิจัยก็พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างความพอใจของลูกค้ากับพฤติกรรมของลูกค้า จริงๆ นั้นไม่ชัดเจน หรือ อีกนัยหนึ่งคือไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความพอใจลูกค้า กับการ เติบโตของรายได้ของบริษัท นั้นคือการที่ลูกค้าตอบว่าพอใจมากขึ้น จะนาไปสู่รายได้ของ บริษัทที่เพิ่มขึ้นพูดง่ายๆคือถ้าเราได้ค่า ความพึงพอใจ มาก ก็ไม่ได้รับประกันว่าธุรกิจจะ เติบโต ในขณะเดียวกันถ้าได้ค่า ความพึงพอใจ น้อยธุรกิจอาจจะเติบโตดีก็ได้  และยังมีบางบทความที่บอกว่า Net Promoter Score คือคะแนนการบอกต่อสุทธิ ซึ่งเจ้า Net Promotor Score นี้ได้พิสูจน์แล้วว่ามีความสัมพันธ์กับการเติบโตของธุรกิจในอนาคต พูด ง่ายๆคือ ถ้าธุรกิจได้คะแนน NPS สูง สามารถรับประกันได้เลยว่าในอนาคตธุรกิจจะมีการ เติบโตแน่ ๆ
  • 6.  ความแรงจากตัวชี้วัดนี้ก็คือคาถามของมันไม่ใช่เรื่องเกี่ยวกับอารมณ์ ("ฉัน พอใจแค่ไหน?")  แต่เกี่ยวกับความ ตั้งใจ ("ฉันน่าจะหมายถึงอะไร?") ซึ่งง่ายกว่าที่จะตอบ จะลง ไปคาถามว่าผลิตภัณฑ์ดีพอที่จะอ้างอิงและใส่ ชื่อเสียงของคุณเองในการ แนะนาหรือไม่  เป็นการประเมิน Advocacy ของลูกค้า ต่างจากการวัดความพึงพอใจอย่างไร
  • 7. NPS (Net Promoter Score)  สาหรับในการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการคานวณหาค่า NPS นั้น จะต้องมีการถามคาถามกับลูกค้าว่า  “ท่านจะแนะนาบริษัท/สินค้า/บริการของเราให้กับเพื่อนหรือคนคุ้นเคยหรือไม่” และจะนาผลนั้นมา แบ่งกลุ่มลูกค้าออกเป็น 3 กลุ่ม (1) Promoters (2) Passives และ (3) Detractors ซึ่งจะทาให้องค์กร สามารถจัดการกับลูกค้าแต่ละกลุ่มโดยใช้กลยุทธ์ที่แตกต่างกันได้
  • 8. NPS (Net Promoter Score)  ในขั้นตอนการเก็บข้อมูลนั้น องค์กรจะต้องมีการทาการสารวจความคิดเห็นจากลูกค้า ไม่ ว่าจะเป็นวิธีการส่งแบบสอบถาม ทางจดหมาย ทาง Online หรือว่าการใช้การ โทรศัพท์สัมภาษณ์ก็ตาม ซึ่งไม่ว่าจะเป็นทางใดก็ตามจะต้องให้แน่ใจว่าผู้ตอบสามารถ ตอบได้โดยอิสระ (ซึ่งมักจะเป็นการให้ตอบโดยไม่ต้องเปิดเผยชื่อ) และส่วนใหญ่แล้ว นอกจากจะมีการถามถึงแนวโน้มในการแนะนา บริษัท/สินค้า/บริการกับคนที่รู้จักแล้ว ผู้สารวจก็มักจะถามให้ผู้ตอบทาการประเมินบริษัทคู่แข่งไปด้วยพร้อมกัน รวมถึงอาจจะ ถาม ในรายละเอียดของบริษัท/สินค้า/บริการ ต่าง ๆ พร้อมกันไปด้วย
  • 9. NPS (Net Promoter Score)  Promoters คือกลุ่มของลูกค้าที่ให้คะแนน 9 - 10 กลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มลูกค้าที่ ซื่อสัตย์และนอกจากจาก ซื้อหรือใช้สินค้าหรือบริการขององค์กรแล้ว ยังเป็นผู้ที่จะแนะนาสินค้าหรือบริการขององค์กรต่อไปด้วย  Passives คือกลุ่มลูกค้าที่ให้คะแนน 7 - 8 หรือกลุ่มลูกค้าที่พร้อมจะเปลี่ยนใจไปจากองค์กรหากพบ สินค้าหรือบริการที่ดีกว่า กลุ่มลูกค้ากลุ่มนี้จะไม่ค่อยมีความซื่อสัตย์ต่อองค์กรมากนัก และอาจจะถูกชักจูงจาก คู่แข่งได้ง่าย  Detractors คือกลุ่มลูกค้าที่ให้คะแนนตั้งแต่ 0 – 6 หรือกลุ่มลูกค้าที่ไม่พึงพอใจต่อสินค้าหรือบริการ ขององค์กร กลุ่ม นี้นอกจากจะไม่แนะนาสินค้าหรือบริการขององค์กรแล้ว ยังเป็นกลุ่มที่อาจจะทาลายชื่อเสียง ขององค์กรด้วย กลุ่มนี้อาจจะยังคงซื้อ สินค้าหรือบริการจากองค์กรอยู่แต่ทาไปด้วยความจาเป็น เช่นไม่มี ทางเลือกอื่น ๆ เป็นต้น
  • 10. Productivity Forum สาหรับค่าของ NPS นั้น จะสามารถคานวณได้จาก NPS = %ของลูกค้าที่เป็น Promoters - % ของลูกค้าที่เป็น Detractors