Accueil
Explorer
Soumettre la recherche
Mettre en ligne
S’identifier
S’inscrire
Publicité
Check these out next
Pancreatic cancer Нойр булчирхайн хорт хавдар
AaronAagii
การจำแนกสาร
Saowanee Sondech
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
pentanino
ДОХ
Batbaatar Everlastinghero
Mya em
Chuluunchimegubuns
ходоод,12 хуруу гэдэс,бүдүүн гэдэсний хавдарын маркер
Б. Цэцээ
การฝึกวิ่ง
Ch Khankluay
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
Wilawun Wisanuvekin
1
sur
10
Top clipped slide
คุณธรรมสำหรับครู
17 Sep 2014
•
0 j'aime
3 j'aime
×
Soyez le premier à aimer ceci
afficher plus
•
7,417 vues
vues
×
Nombre de vues
0
Sur Slideshare
0
À partir des intégrations
0
Nombre d'intégrations
0
Télécharger maintenant
Télécharger pour lire hors ligne
Signaler
Formation
คุณธรรมสำหรับครู
suwantan
Suivre
Publicité
Publicité
Publicité
Recommandé
วิจัยชั้นเรียนรุสดี
Muhammadrusdee Almaarify
11.9K vues
•
3 diapositives
жирэмсний явцад илэрч болох аюултай шинж тэмдэг хичээл
Yanjaabzd
9.6K vues
•
13 diapositives
บทที่5 การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน
Sakda Hwankaew
18.7K vues
•
35 diapositives
Ulamj idee undaa
Chuluunchimegubuns
2.4K vues
•
29 diapositives
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Meaw Sukee
1.8K vues
•
5 diapositives
บทที่ 3 การวัดและประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย
ืnattakamon thongprung
4.4K vues
•
15 diapositives
Contenu connexe
Présentations pour vous
(20)
Pancreatic cancer Нойр булчирхайн хорт хавдар
AaronAagii
•
3.1K vues
การจำแนกสาร
Saowanee Sondech
•
4.8K vues
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
pentanino
•
5.3K vues
ДОХ
Batbaatar Everlastinghero
•
5.6K vues
Mya em
Chuluunchimegubuns
•
1.2K vues
ходоод,12 хуруу гэдэс,бүдүүн гэдэсний хавдарын маркер
Б. Цэцээ
•
2.1K vues
การฝึกวิ่ง
Ch Khankluay
•
35.9K vues
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
Wilawun Wisanuvekin
•
10.5K vues
идээ цээрлэх ёс
swetabna
•
5.1K vues
арьс салстаар хордох
Haliunaa Battulga
•
4.2K vues
บทที่1จำแนกสารม 2
Wichai Likitponrak
•
54.7K vues
Durs ylga 12
muuduu
•
9.8K vues
Nyarai huuhded uzleh hiih
Sosoo Byambaa
•
20.4K vues
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
•
38.1K vues
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
Teacher Sophonnawit
•
213.8K vues
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
Taraya Srivilas
•
1.5K vues
Жирэмслэлт ба зүрх судасны өвчин
Munkhtulga Gantulga
•
5.1K vues
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
Thanyamon Chat.
•
702 vues
хүнсний бүтээгдэхүүний хадгалалт
Zorigo Zorigo
•
15.5K vues
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
พัน พัน
•
106K vues
En vedette
(20)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาชีพครู (เก่าแล้วใช้ได้บางส...
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
•
13.7K vues
คุณลักษณะของครูที่ดี
niralai
•
37K vues
คุณธรรม จรรยาบรรณ
อมรรัตน์ ประดับศรี
•
1.6K vues
คู่มือครูมืออาชีพ
Ekachai Seeyangnok
•
18.5K vues
6 สมรรถนะของครูok
Tophit Sampootong
•
12.2K vues
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
Mansong Manmaya สุทธการ
•
19.8K vues
ถ้าฉันเป็นครู
niralai
•
5K vues
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
pimkhwan
•
13.1K vues
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
Apiruk Kaewkanjanawan
•
12K vues
ครูที่ดี
ธีรศิลป์ นิยมสุข
•
3.8K vues
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
Decode Ac
•
28.3K vues
บรรยายวินัยเชิงบวก
Wiwat Ch
•
7.6K vues
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
•
289.2K vues
สรุปวิชาการศึกษา
คน ขี้เล่า
•
144.9K vues
งานกลุ่ม+..
jiraporn1
•
1.1K vues
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
Tophit Sampootong
•
998 vues
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
Tattsanee Meeyaeb
•
1.5K vues
Ebooksint มนต์พิธี
Rose Banioki
•
14K vues
กฏหมาย
Tophit Sampootong
•
1.9K vues
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
•
5.8K vues
Publicité
Similaire à คุณธรรมสำหรับครู
(20)
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)
โสภณ ศุภวิริยากร
•
712 vues
หลักธรรม ของ นักบริหาร
Panuwat Beforetwo
•
14.6K vues
ปรัชญาการศึกษา
หวาน จัง กฤษณ์
•
1.2K vues
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
•
11K vues
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
ffhantr
•
94 vues
กฏแห่งกรรม
june_yenta4
•
2.1K vues
คุณธรรม
Watcharapon Donpakdee
•
4K vues
09 moral education
etcenterrbru
•
1.3K vues
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
pentanino
•
17.1K vues
Strategic planning
Monthon Sorakraikitikul
•
486 vues
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
Taraya Srivilas
•
1K vues
Administration4 M
tiffany14021975
•
299 vues
13 life
etcenterrbru
•
2.6K vues
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
ฟองเพียร ใจติ๊บ
•
3.8K vues
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
•
13.6K vues
คุณธรรมข้าราชการ
Theeraphisith Candasaro
•
554 vues
05 ethics
etcenterrbru
•
302 vues
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
niralai
•
6.8K vues
11 ethics and lifestyle
etcenterrbru
•
680 vues
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
pentanino
•
3.4K vues
Dernier
(20)
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
Dr.Woravith Chansuvarn
•
33 vues
ที่พักแนะนำใกล้เคียงสถานที่จัดงาน
Postharvest Technology Innovation Center
•
117 vues
ประมวลจริยธรรม กระทรวงการอุดมศึกษาฯ.pdf
Postharvest Technology Innovation Center
•
27 vues
ส30108 ประวัติศาสตร์ไทย 1 ปี 58.pdf
aholicmyaholic
•
0 vue
Luận văn thạc sĩ toán học.
ssuser499fca
•
7 vues
if-clause.ppt
Nicole Robin
•
6 vues
Lat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdf
Bangkok University
•
7 vues
How to play welcome to.pptx
RawichW
•
2 vues
Luận văn thạc sĩ toán học.
ssuser499fca
•
8 vues
Water_Cycle_watcchakrnam.pdf
Kru Bio Hazad
•
5 vues
คุณเป็นใคร 2.docx
SunnyStrong
•
22 vues
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
Bangkok University
•
4 vues
โครงงานวิทย์(แพ ฟอร์มาลีน).ppt
Supat Buddee
•
7 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 2.pdf
PhanumatPH
•
15 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 5.pdf
PhanumatPH
•
12 vues
รายละเอียดการสอบคัดเลือก 2566 (รอบ3).pdf
Siraphop Ratanasuban
•
2 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
PhanumatPH
•
13 vues
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 6.pdf
PhanumatPH
•
10 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 4.pdf
PhanumatPH
•
6 vues
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 3.pdf
PhanumatPH
•
14 vues
Publicité
คุณธรรมสำหรับครู
ดร.พจน์์ พจนพาณิชย์์กุล 1
`` รราาชบบัณฑฑิตยสถถาาน ไไดด้ใใหห้คววาามหมมาายของคคุณธรรมไไวว้วว่าา เเปปน็นสภภาาพคคุณงงาาม ความดี ` กู๊ด (Good) ได้ให้ความหมายของคุณธรรม (Virtue) ไว้ดังนี้้ คือ • 1. คุุณธรรม คือ ความดีงามของลักษณะนิสัยหรือพฤติกรรมที่ได้กระทำ จนเคยชิน •• 2. คคุณธรรม คคือ คคุณภภาาพทที่บบุคคลไไดด้กรระะททำาตตาามคววาามคคิดแแลละะมมาาตรฐฐาาน ของสังคมซึ่งเกี่ยวข้องกับความประพฤติและศีลธรรม • 3. คุณธรรม คือ คุณสมบัติที่ยึดมั่นในการปฏิบัติทางจรรยาต่อสังคม 2 ` ท่านพุุทธทาสภิกขุุ ได้อธิบายไว้ดังนี้ ` คำว่า “คุณ” หมายถึง ค่าที่มีอยู่ในแต่ละสิ่งซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือ เเปป็นไไปปไไดด้ททั้งททาางดดีแแลละะททาางรร้าาย คคือ ททำาใใหห้จจิตใใจจยยินดดีกก็เเรรียกวว่าา คคุณ ททำาใใหห้จจิตใใจจ ยินร้ายก็เรียกว่า คุณ ซึ่งเป็นไปตามธรรมชาติของมัน ผู้มีจิตหลุดพ้นแล้ว ด้้วยประการทัั้งปวงจะอยู่เ่หนืือความหมายของคํำคํำนีี้ ` ส่วนคำว่า “ธรรมะ” มีความหมาย 4 อย่าง คือ • 1.ธรรมะ คือ ธรรมชาติ เรามีหน้าที่ต้องเกี่ยวข้อง • 2.ธรรมมะะ คคือ กฎของธรรมชชาาตติ เเรราามมีหนนา้าทที่ตอ้องเเรรียนรรู้ • 3.ธรรมะ คือ หน้าที่ตามกฎของธรรมชาติ เรามีหน้าที่ต้องปฏิบัติ • 4.ธรรมะ คืือ ผลจากการปฏิิบััติิหน้้าทีี่นัั้น เรามีีหน้า้ทีี่จะต้้องมีีหรืือใใช้มัั้น • อย่างถูกต้อง 3 `` คคุณธรรม คคือ ออุปนนิสสัยออันดดีงงาามทที่อยยู่ใในนจจิตใใจจของคน อยยู่ใในนคววาามรรู้สสึกผผิด ชอบชั่วดี ซึ่งเป็นสิ่งที่จะควบคุมพฤติกรรมที่แสดงออกสนองความ ปรารถนาคุณธรรมแบ่่งออกเป็น 2 ลักษณะ คืือ ` 1. คุุณธรรมแบบทาส (Slave Virtue) เป็นลักษณะคุุณธรรมที่ยึดถือและ ปฏิบัติตามแบบอย่างของผู้ที่ทรงไว้ด้วยคุณงามความดี เช่น ถือ แแบบบอยยา่างทที่ดดีจจาากผผู้ใใหหญญ่ ผผู้บบังคคับบบัญชชาาเเปปน็นตต้น ` 2. คุณธรรมแบบนาย (Master Virtue) เป็นลักษณะคุณธรรมที่ยึดถือ และปฏิิบััติิตามมโโนธรรมของตนเองทีี่เห็็นว่่าถูกต้้องดีีงาม เช่่น การใให้้ ความยุติธรรมแก่ลูกน้อง หรือ บุคคลรอบข้าง เป็นต้น 4
` คุณธรรมมีีความสํำคััญต่่อบุคคล สัังคม
และชาติิ บบ้าานเเมมือง เเพพรราาะะถถ้าาใในนสสังคมใใดดมมีสมมาาชชิกทที่ไไรร้ คุุณธรรม สังคมก็จะมีแต่ความวุุ่นวาย และยากต่อ การพัฒนา เช่นเดียวกับในสังคมของครู ถ้าครูเป็นผู้ ไร้คุณธรรม นอกจากจะทำให้ตนเองและสถาบัน ววิชชาาชชีพตกตต่ำาแแลล้ว ยยังจจะะททำาใใหห้สสังคมแแลละะชชาาตติ บบา้านเเมมืองตอ้องตกตต่ำาไไปปดด้วย 5 ยนตต์ ชชุ่มจจิต กลล่าาววว่าา ครรูทที่มมีคคุณธรรมยย่อมททำาใใหห้เเกกิดปรระะโโยยชนน์แแลละะมมี ความสำคัญหลายประการ ดังนี้ คือ ` 1. ด้านตัวครู 1.1 ททำาใใหหค้ครรูมมีคววาามเเจจรริญกก้าาวหนน้าาแแลละะมมีคววาามมมั่นคงใในนออาาชชีพ 1.2 ได้รับคำยกย่องสรรเสริญจากบุคคลทั่วไป เป็นที่เคารพเชื่อฟัง ของศิษย์ 1.3 มีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ไร้ภยันตรายใด ๆ เพราะ แวดล้อมด้วยความรักและนับถือจากศิษย์และประชาชนทั่่วไป 6 `` 2. ด้้านสถาบัันวิิชาชีีพ • 2.1 ทำให้ชื่อเสียงของคณะครููเป็นที่ศรัทธาเลื่อมใสของปวงชน • 2.2 งานวิชาชีพครูมีความเจริญก้าวหน้า เพราะครูอาจารย์ ทํำงานเต็็มกํำลัังความสามารถ มีีความคิิดริิเริิ่มสร้้างสรรค์ส์ิิ่งทีี่ เป็นประโยชน์ใหม่ ๆ • 2.3 สถาบันการศึกษาได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ เพราะได้รับ ความร่่วมมืือช่่วยเหลืือจากประชาชนเต็็มทีี่ 7 `` 3. ด้้านสัังคม / ชุมชน • 3.1 สมาชิกของสังคมเป็นคนดีมีคุุณธรรมสููง รูู้จักสิทธิและ หน้าที่อย่างถูกต้อง • 3.2 สัังคมมีีสัันติิสุข เพราะสมาชิิกของสัังคมมีีคุณธรรม • 3.3 สังคมได้รับการพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วใน ทุก ๆ ด้าน 8
`` 4. ด้้านความมัั่นคงของชาติิ
• 4.1 สถาบันชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีความมั่นคงเพราะประชาชน มีความรักความเข้าใจและเห็นความสำคัญอย่างแท้จริง • 4.2 ขนบธรรมเนีียมประเพณีี และวััฒนธรรมของชาติิมีีความ มั่นคงถาวรเพราะครููอาจารย์ได้อบรมสั่งสอนศิษย์ให้มีความรูู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 9 `` พรระะบบาาทสมเเดด็จพรระะเเจจ้าาอยยู่หหัวภภูมมิพลอดดุลยเเดดชมหหาารราาช ไไดด้ทรงพรระะรราาชททาาน หลักคุณธรรมสำหรับคนไทยไว้ 4 ประการ คือ • ประการแรก คือ การรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตัวเองที่่จะประพฤติ ปฏฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม • ประการที่สอง คือ การรู้จักข่มใจตัวเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ ใในนคววาามสสัตยย์ คววาามดดี • ประการที่สาม คือ การอดทน อดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วง ทุจริิตไไม่ว่่า่จะด้ว้ยเหตุประการใใด • ประการที่สี่ คือ การรูู้จักละวางความชั่ว ความทุุจริต และรูู้จักสละ ประโยชน์ส่วนน้อยของตนเพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง 10 `` ทท่าานพพุทธททาาสภภิกขขุ ไไดด้มมีททัศนนะะเเกกี่ยวกกับคคุณธรรมครรูวว่าา ครรูควรจจะะตต้องมมี คุณธรรม 4 ประการ ตามพระพุทธองค์ ดังนี้ ` 1. พระวิสุทธิคุณ คือ ครูจะต้องมีจิตใจบริสุทธิ์์ปราศจากกิเลส ปราศจาก โลภะโทสะโมหะไม่อาฆาตพยาบาท รูู้จักการให้อภัยและมีมุุทิตาจิตต่อศิษย์ ` 2. พระปัญญาคุณ คือ ครูจะต้องมีปัญญาที่เฉียบแหลม สามารถช่วย แแกกป้ปญัญหหาาใใหห้ศศิษยย์ไไดด้ ` 3. พระกรุณาธิคุณ คือ ครูจะต้องมีความเมตตากรุณาต่อศิษย์ ` 4. ขันติ คือ ครูจะต้องมีความอดทนต่อความเหน็ดเหน่ื่อยท้ั้งร่างกายและ จิตใจ 11 ` สำหรับคุุณธรรมหรือหลักธรรมที่ครููควรยึดถือ และปฏิบัติตัวเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ ลูกศิษย์ โดยอาศัย หลักธรรมที่่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า โดยเลือก ธรรมที่เหมาะแก่หน้าที่การงานของครู เช่น ขันติ (คววาามอดทน) สสัมปชชัญญญะะ (คววาามรรู้สสึกตตัว) พรหม วิหาร 4 ตัวอย่างเช่น 12
` อิิทธิิบาท 4
คืือ คุณธรรมที่นำไไปสู่ความสำเร็จ หมายถึง การทำงานที่ บรรลุุตามวัตถุุประสงค์ ซึ่งอาจเป็นเรื่อง หน้าที่ การศึกษา รวมทั้งชีวิต ส่วนตัว มีอยู่ 4 อย่าง คือ `` 1) ฉฉันททะะ – คววาามพอใใจจใในนสสิ่งนนั้น คคือ พอใใจจรรักทที่จจะะเเปป็นครรู ททำางงาาน ด้านการสอนด้วยความชอบ ตั้งใจในการสอน มีการเตรียมการสอนทีั เหมาะสมกั่บวััยและความแตกต่่างของเด็็ก มีีการสอนทีี่ทำใให้้เด็็กไได้้ทัั้ง ความรู้และคุณธรรม มีเมตตากรุณาต่อเด็ก ไม่ลงโทษเด็กโดยไม่มีเหตุผล เช่นตีเด็กจนเกินขอบเขต ไม่ปล่อยปละละเลยเมื่อเด็กทำความผิด 13 `` 2) ววิรริยยะะ – เเพพียรปรระะกอบสสิ่งนนั้น คคือ คววาามพยยาายยาามปรระะกอบออาาชชีพครรู ด้วยความขยันหมั่นเพียร ตัวครูก็ต้องพยายามหาความรู้เพิ่มเติม มีการ พัฒนาความรู้้และตนเองตลอดเวลา ` 3) จิตตะ – เอาใจฝักใฝ่ไม่ทอดธุุระ คือ เอาใจฝักใฝ่ในความเป็นครูู คิด ตลอดเวลาว่า ครูเป็นอาชีพที่สำคัญในการจะพัฒนาเด็กให้เป็นผู้ใหญ่ที่มี คคุณคค่าา เเปป็นปรระะโโยยชนน์ตต่อสสังคม แแลละะปรระะเเททศชชาาตติ มมีคววาามตตั้งใใจจทที่จจะะททำา หน้าที่ครูให้ดีที่สุด ` 4) วิิมัังสา – การหมัั่นตริิตรองพิิจารณาเหตุผลสิิ่งนัั้น คืือ พิิจารณา เหตุผลในอาชีพครูว่า ทำได้ดีมีประสิทธิภาพแล้วหรือไม่ สอนดีเพียงใด และควรหาแนวทางใดมาปรับปรุงวิธีการสอนให้ดียิ่่งขึ้้น 14 `โโลกปปาลธรรม ธรรมคุ้มครองโลก คือ ธรรมที่ช่วยให้โลกมี คววาามเเปป็นรระะเเบบียบเเรรียบรร้อย ไไมม่เเดดือดรร้อนแแลละะววุ่นววาาย มมี 2 อยย่าาง คือ ` 1) หิริ แปลว่า ความละอายต่อบาป คือ ละอายใจต่อการทำ คววาามชชั่วไไมมย่ยอมททำาบบาาป ` 2) โอตตัปปะ แปลว่า ความกลัวบาป คือ เกรงกลัวต่อความ ชั่่ว และผลของความช่ั่วต่าง ๆท้ั้ง “หิริ” กับ “โอตตัปปะ” เป็น ธรรมทที่สรร้าางพพื้นฐฐาานของจจิตใใจจไไมมใ่ใหหค้คนททำาคววาามชชั่ว 15 ``พรหมววิหหาาร 4 หรรือ ธรรมปรระะจจำาใใจจของผผู้ปรระะเเสสรริฐ หรรือ ผผู้มมีจจิตใใจจ ยิ่งใหญ่ คือ คุณธรรมที่ควรใช้ปกครองลูกศิษย์ มี 4 ประการ • 1) เมตตา คือ มีความรัก ความปรารถนาดี มีไมตรีและต้องการช่วยให้ทุก คนได้ประโยชน์และมีความสุขุ • 2) กรุณา คือ ความสงสารอยากช่วยผู้อื่นให้พ้นทุกข์ ใฝ่ใจที่จะปลดเปลื้อง บบำาบบัดคววาามททุกขย์ยาาก คววาามเเดดือดรอ้อนของคนแแลละะสสัตวท์ทั้งหลลาาย • 3) มุทิตา คือ ความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี มีจิตใจผ่องใส แช่มชื่นเบิกบานอยูิ เสมอ และยิ่นดีีเมืื่อผู้้อืื่นไได้ดีี้และเจริิญก้า้วหน้า้ • 4) อุเบกขา คือ ความมีใจเป็นกลาง มีจิตเที่ยงธรรม ไม่เอนเอียงด้วยความ รักความชัง ปฏิบัติตนตามหลักการและเหตุผล 16
` อคติ 4
คืคไม่เที่ต คอ วามไมเทยงตรง คววาามลลำาเเออียง ผผู้ทที่เเปป็นครรูออาาจจาารยย์ แแลละคน ทั่วไปควรเว้นอคติ 4 อย่างนี้ • 1) ฉันทาคติ - ลำเอียงเพราะรัก, ชอบ คือ การช่วยเหลือเข้าข้างคนที่ตนรัก ทำ ให้เสียความเที่ยงธรรม • 2) โทสาคติ - ลำเอียงเพราะความไม่ชอบ คือ การกลั่นแกล้งให้โทษคนที่เรา เเกกลลียดชชัง • 3) โมหาคติ - ลำเอียงเพราะความหลง ความเขลา คือ การกลั่นแกล้งให้คนที่เรา เเกกลลียดชชัง • 4) ภยาคติ - ลำเอียงเพราะความกลัว คือ การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อ ช่่วยเหลืือคนทีี่มีีอำนาจหรืืออิิทธิิพลเหนืือเรา ทำใให้เ้สีียความยุติิธรรม 17 ``ทศพพิธรราาชธรรม หรือ ราชธรรม 10 หมายถึง หลักธรรม สำหรับพระราชา นักบริหาร และผูู้ทำหน้าที่ปกครองคนอื่น เช่น ครู อาจารย์ เป็นต้น ทศพิธราชธรรม มี 10อย่าง คือ • 1. ทาน คืือ การใให้ ้การสละทรััพย์์สิิ่งของ การช่่วยเหลืือ • 2. ศีล คือ ความประพฤติเรียบร้อยทางกาย วาจา • 3. บริจาคะ คือ การเสียสละความสุขของตน เพื่อประโยชน์สุขของผู้อื่น • 4. ออาาชววะะ คคือ คววาามซซื่อตรง มมีคววาามจรริงใใจจ ปฏฏิบบัตติงงาานดด้วยคววาามสสุจรริต • 5. มัททวะ คือ ความสุภาพอ่อนโยน มีอัธยาศัยงดงาม 18 `` 6. ตบบะะ คคือ กกาารรระะงงับยยับยยั้งมมิใใหห้กกิเเลลสเเขขา้าครอบงงำา มมีคววาามเเปป็นอยยู่ธรรมดดาา ` อักโกธะ คือ ความไม่โกรธ ไม่ลุแก่อำนาจความโกรธ มีเมตตา ประจำใจ ` 8. อวิหิงสา คือ ความไม่เบียดเบียน ไม่บีบบังคับกดขี่ ไม่หลงระเริง ออำานนาาจ ` 9. ขันติ คือ ความอดทน อดทนต่อความยากลำบาก ต่อคำยั่วยุและ เยาะ เย้ยต่าง ๆ ` 10. อวิโรธนะ คือ ความไม่ประพฤติผิดธรรม ไม่หวั่นไหวต่อลาภ ยึดมั่น อยู่ในธรรม 19 ` หลัักธรรมคำสอนใในพระพุทธศาสนานีี้ เปป็็นเพีียงธรรมะขัั้น พื้นฐฐานที่ครูู อาจารย์ ทั้งหลายควรนำไปยึดถือปฏฏิบัติในฐฐานะที่ เป็นครู เพื่อจะได้ประพฤติตัวให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกศิษย์ คุณธรรมสํำคััญหลััก ๆ เช่น ขัันติิโโสรััจจะ คืือ ผู้้ทีี่เปป็็นครูต้้องมีี ความอดทนอย่างมากในการจะเป็นครููที่ดี ต้องมีความสงบเสงี่ยม สำ รวมกาย วาจา ใจ เพื่อทำ หน้าที่ครูที่ดี และครูต้องมี หหิรริโโออตตตัปปปะะ คคือ มมีคววาามลละะออาายแแลละะคววาามกลลัวทที่จจะะททำาคววาามชชั่วททั้ง ในที่ลับและที่แจ้ง ครูต้องทำตัวในฐานะที่ควรได้รับการเคารพ ยกย่องสมกับเป็นครูที่่ดีของสังคม 20
เสนีีย์์ มีีทรััพย์์ (2530:
240-245) ไได้้ศึึกษาคุณธรรม ของครููที่เรียกว่า “คุรุธรรมนิยม” ซึ่งประกอบด้วยคุณธรรม ของครูใน 4 ด้าน คือ • 1. อุดมคติของครู (Teacher’s Will) • 2. ววิญญญาาณของครรู (Teacher’s Spirit) • 3. คุณธรรมของครู (Teacher’s Qualification) • 4. จริยธรรมของครู (Teacher’s Function) 21 หมวดที่ 1 อุดมคติของครู (Teacher’s Will) หมายถึง สิ่งที่ครูมีความ ตัั้งใใจใในสิิ่งทีี่ดีีทีี่สุดทีี่พึึงยึึดถืือมีี 1.ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 2.รัักและศรััทธาใในอาชีีพครู 3.ยินดีที่จะทำงานโดยไม่เห็นแก่ความยากลำบาก แม้อยู่ในแห่งใดก็ตาม 4.ตั้งใใจทำงานอย่่างหนักเพืื่อความเจริิญก้้าวหน้้าของนักเรีียน 5.เป็นสมาชิกและร่วมทำงานในสมาคมที่เกี่ยวกับการศึกษา 6.ดำรงตนให้้เหมาะสมกับสภาพของอาชีพครู ไไม่หรูหราฟุ่มเฟือย 7.ธำรงไว้ซึ่งชื่อเสียงและเกียรติคุณแห่งอาชีพครู 8.ปรับปรุงแก้ไขตนเองอยู่เสมอ 9.ใฝ่หาความรู้ใส่ตนเองอยู่เสมอ 10.ต้ั้งใจทำงานเพื่่อพัฒนาสังคมและประเทศชาติ 11.เชื่อมั่นว่าครูคือ ปูชนียบุคคล 12.อุทิศตนให้แก่การศึกษาด้วยความเต็มใจโดยไม่คำนึงถึงผลตอบแทน 22 หมวดที่ 2 วิญญาณของครู (Teacher’s Spirit) หมายถึง ลักษณะที่เป็น แก่นแท้ในสภาวะของความเป็นครู ซ่ึ่งประกอบด้วยรายละเอียดดังต่อไปนี้้ 1.อดทน อดกลั้นต่อพฤติกรรมต่าง ๆ ของนักเรียน 2.อบรมนักเรียนให้เป็นคนดีของสังคม 3.หหาาททาางขจจัดปปัญหหาาของนนักเเรรียนใใหห้หมดไไปป 4.รักและหวังดีต่อนักเรียนเสมือนบุตรธิดาของตน 5.เปป็นมิตรกับนักเรียน 6.ให้กำลังใจนักเรียนทั้งด้านการเรียนและความประพฤติ 7.ให้เกียรติแก่นักเรียนโดยไม่เลือกชาติ ศาสนา ฐานะครอบครัว เพศและวัย 8.สนใจและร่วมกิจกรรมเสริมหลักสููตรของนักเรียนสม่ำเสมอ 9.กระตือรือร้นในการอบรมสั่งสอนและทำงานในหน้าที่ 10.รรับฟฟังคววาามคคิดเเหห็นของนนักเเรรียนแแลละะนนำามมาาพพิจจาารณณาาไไตตรร่ตรอง 23 11.พยายามหาทางแก้ปมด้อยของนักเรียน 12.เปปดิิโโอกาสใให้้นัักเรีียนไได้ป้ปรึึกษาหารืืออย่า่งสม่ํำเสมอ 13.แสดงความชื่นชมยินดีต่อความก้าวหน้าของนักเรียน 14.สนใจและติดตามความเป็นอยู่ของนักเรียนอยู่เสมอ 15.เอาใจใส่ต่อการเรียนของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ 16.เอาใจใส่ด้านความประพฤติและแนะแนวการเรียนให้นักเรียน 17.เเออาาใใจจใใสส่ตต่อคววาามปป่วยไไขข้ของนนักเเรรียน 18.ไม่ย่อท้อต่อความยากลำบากและความเหนื่อยหน่ายในงาน 19.ช่่วยเหลืือนัักเรีียนทีี่ขาดแคลน 20.ยินดีสอนพิเศษให้นักเรียนโดยไม่หวังผลตอบแทน 21.เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ประเมินผลการสอนของครู 22.ร่วมมือกับผูู้ปกครองในการอบรมสั่งสอนนักเรียนอย่างใกล้ชิด 23.ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 24
24.ให้กำลังใจและปลุกปลอบใจนักเรียนอยู่เสมอ 25.หมมั่นสสำารวจตนเเอองแแลละปรรับปรรุงตนเเอองเเสสมอ 26.ภูมิใจและรับผิดชอบต่ออาชีพของตน
27.ขยันหมั่นเพียรในการสอนและศึึกษาหาความรู้้เพิ่มเติมอยู่เสมอ 28.ยึดมั่นในกิจกรรมที่ส่งเสริมประชาธิปไตย 29.พยายามใช้ความเพียรทุกอย่างเพื่อให้หน้าที่ของครูประสบ ผลสสำาเเรร็จ 30.เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน 31.รรู้จรริงแแลละะตตั้งใใจจสอนจนเเปปน็นแแบบบอยยา่างทที่ดดีไไดด้ 25 หมวดที่ 3 คุณธรรมของครู (Teacher’s Qualification) คือ คุณสมบัติ หรือคุณภาพดี ตลอดจนความสามารถที่่มีอยู่ภายในตัวครู มีลักษณะดังนี้้ 1. มีความรูู้เพียงพอและถููกต้องในระดับที่สอน 2. รับฟังและเคารพเหตุผลของผู้อื่น 3. พพิจจาารณณาาคคุณคค่าาของนนักเเรรียนแแตตล่ละะคนดด้วยเเหหตตุผล 4. ตัดสินหรือลงโทษนักเรียนอย่างมีเหตุผล 5. ยืดหยุน่ต่อปปัญหาตา่ง ๆ และหาทางแก้ไไขด้วยสสันติวิธี 6. มีความคิดริเริ่ม 7. นำวิธีการใหม่ ๆ มาใช้ปรับปรุงการทำงานของตน 8. มีความยุติธรรม ไม่ลำเอียง 9. มีอารมณ์มั่นคงและสามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ตลอดเวลา 10. ไไมม่คคิดแแสสวงหหาาปรระะโโยยชนน์ททาางววัตถถุเเกกินคววาามจจำาเเปป็น 11. ซื่อสัตย์สุจริตและจริงใจ 26 12.ภูมิใจในความสำเร็จของตนเอง 13.ใใหห้เเกกียรตติแแกกเ่เพพื่อนรร่วมออาาชชีพแแลละะบบุคคลททั่วไไปป 14.ไม่ดูหมิ่นศาสนาอื่น 15.มมีคววาามกรรุณณาาแแลละะสนใใจจเเดด็กเเปป็นรราายบบุคคล 16.รักษาความลับของนักเรียน 17.เอืื้อเฟฟืื้อเผืื่อแผ่่ช่่วยเหลืือนัักเรีียนตามสมควร 18.เสียสละเพื่อประโยชน์ของสังคม 19.ไม่อาฆาตพยาบาทนักเรียน 20.ใใหห้คววาามไไววว้วาางใใจจแแกกผ่ผู้รร่วมงงาาน 27 หมวดที่ 4 จริยธรรมของครู (Teacher’s Function) หมายถึง การแสดงออก ใในสิิ่งทีี่ควรปฏิิบััติิ อัันเปปน็็หน้า้ทีี่ทีี่ครูควรจะทํำ ซึึ่งมีีรายละเอีียดดัังต่อ่ไไปปนีี้ 1.ประพฤติตนดีสม่ำเสมอ 2.ดํำรงชีีวิิตและปฏิิบััติิตนเปปน็็ตััวอย่า่งทีี่ดีีของชุมชน 3.ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคมในด้านศีลธรรม วัฒนธรรมกิิจนิิสัยสุขนิิสัย และอุปนิิสัย 4.นำนักเรียนให้พ้นจากทางเสื่อมเสีย 5.ไไม่ทำโทษนักเรียนจนเกินกว่าเหตุ 6.เป็นคนตรงต่อเวลา 7.สร้างความก้าวหน้าในอาชีพตามความสามารถของตน 8.เว้นการกระทำผิดเรื่องชู้สาว 9.รักษาช่ื่อเสียงและค่านิยมของโรงเรียนและคณะครู 10.ทำงานเป็นหมู่คณะได้ดี 28
11.ให้ความช่วยเหลือแก่เพื่อนร่วมอาชีพเดียวกัน 12.รัับผิิดชอบต่อ่อาชีีพทีี่ไได้รัั้บมอบหมาย 13.รับผิดชอบต่อการกระทำของตนเอง
14.มีอารมณ์ขันแต่ไม่ตลกเหลวไหล 15.แต่งกายเรียบร้อยเสมอ 16.มีระเบียบวินัย 17.มมีกรริยยาาววาาจจาาสสุภภาาพ ออ่อนโโยยน ยยิ้มงงา่าย 18.แสดงกริยาวาจาสุภาพ ใช้ภาษาสุภาพและถูกต้อง 19.วางตนเหมาะสมเข้้ากัับชนทุกชัั้น 20.ปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ 21.สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครูและผู้ปกครอง 22.แนะนำให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 23.ส่งเสริมให้นักเรียนมีความเมตตา กรุณา อดทน ซื่อสัตย์ และสุภาพอ่อนโยน29 24. ไไม่่ใให้นัั้กเรีียนทํำใในสิิ่งทีี่เกิินความสามารถและเกิินความศรััทธา 25. ปฏิบัติกับนักเรียนได้เหมาะสมกับเพศและวัย 26. ทำหน้าที่การงานด้วยความรวดเร็วและถูกต้อง 27. รู้จักวิพากษ์วิจารณ์เพื่อปรับปรุงการศึกษาและการงานด้วยถ้อยคำที่ สุภาพไม่ให้ผู้อื่นเสียกำลังใจ 28. สรร้าางชชื่อเเสสียงแแลละะเเกกียรตติคคุณใใหห้แแกก่ตนเเออง เเพพื่อนรร่วมงงาานแแลละะสถถาาบบัน 29. หลีกเลี่ยงสิ่งที่ก่อให้เกิดความแตกร้าวในหมู่คณะ เช่น ความริษยาและ พยาบาท 30. ใช้กลวิธีสอนที่ทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้จริง ประกอบด้วยคุณธรรม ซึ่ง สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างมีความสุข 30 `` 1. กกาารพพัฒนนาาตนเเอองใใหห้มมีเเมมตตตาาธรรมใในนดวงจจิต บบุคคลใใดดทที่มมี คุณธรรมมีความเมตตาอยู่ในดวงจิตก็ย่อมมีสำนึกที่ดีต่อเพื่อน มนุษย์์ทุกคน ไไม่ว่่า่ตนเองจะอยู่ใ่ในบทบาทหรืือฐานะใใดก็็ตาม ` 2. การพัฒนาตนเองให้มีความเชื่อมั่นในเรื่องคุุณงามความดี มากกว่าวัตถุหรือปัจจัยภายนอก ไม่ว่าจะเป็นลาภ ยศ สรรเสริญ มมีคววาามนนับถถือตนแแลละะววิชชาาชชีพของตนเเอองไไมม่เเหห็นแแกก่ไไดด้ ` 3. การพัฒนาความคิดให้รู้จักแยกแยะความดี ความชั่ว และรู้จัก เลืือกใใช้เ้หตุผลใในทางทีี่เหมาะสม 31 `` 4. กกาารพพัฒนนาากกาารเเรรียนรรู้ใในนททาางคคุณธรรมแแลละะจรริยธรรมททั้ง จากประสบการณ์ จากความจริงของชีวิตและสังคม เพื่อ สร้างความพร้อมและพัฒนาการดำเนินชีวิตท้ั้งตนเองและ ใในนกกาารททำางงาานใใหหม้มีคคุณภภาาพ ` 5. การพัฒนาคุณธรรมให้ตนเองด้วยการมองตนเอง วิเคราะห์์ตนเอง ควบคุมและฝึกฝนตนเองให้มีความ เเปป็นอยยู่ทที่ถถูกตต้องตตาามคววาามเเปป็นจรริงจนพพัฒนนาาคคุณธรรมใในน ตนเองได้ 32
พระครูพุทธิธรรมสุธี (จังหวัดนครราชสีมา) ไได้บรรยายธรรม
เกี่ยวกับ หลักการในการพัฒนาตนเอง เพื่อให้ตนเองมีคุณธรรม จะต้องมีหลักการอยู่ 5 ประการ คือ ™™(1) กกาารดดับไไฟฟ คคือ กกาารดดับไไฟฟใในนตตัวเเออง ไไดด้แแกก่คววาามโโลลภ คววาามโโกกรธ และความหลง โดยเฉพาะความโกรธ เปรียบเสมือนลูกระเบิด ลูก ระเบิดจะทำลายตัวเองก่อน ความโกรธก็เช่นกัน ก็จะทำลายตัวผู้ที่ โโกกรธกก่อน ดดังปรริศนนาาธรรมโโบบรราาณกลลา่าวไไววว้วา่า..แแขขกดดีมมาาททีลละะหนสอง หน แขกฉิบหายขายตนมาทุกวัน.. 33 ™™(2) การไไล่โโจร คือ สิ่งที่จะมาปล้นเอาความดีของเราไไปป สิ่งไไหนก็ ตามที่จะมาปล้นเอาความดีของเราไป สิ่งนั้นถือว่า เป็นโจร เช่น สิ่งที่ไม่ดีต่าง ๆ เราควรขับไล่ออกไปจากชีวิต ™™(3) กกาารขนขยยะ คคือ สสิ่งไไมม่ดดีกกับตตัวเเรราาตต่าาง ๆๆ ขยยะจจะมมีอยยู่ 2 อยย่าาง คคือ ขยะดี กับ ขยะไม่ดี เช่น หน้าบูด อารมณ์ไม่ดี อย่างนี้เรียกว่าคน เน่าใน เราต้องกวาดขยะสิ่งไม่ดีออกไป ถ้าวันไหนเรากวาดขยะ เเหหลล่าานนี้ออกไไปปไไดด้ ววันนนั้นเเรราากก็สบบาาย ออาารมณณ์กก็ดดี หนน้าาตตาายยิ้มแแยย้ม แจ่มใส ภายในก็ไร้ขยะ การพัฒนาก็ง่ายขึ้น 34 `` (4) การสละลมพิษ คือ การพูดของเรา จะต้องพูดแต่สิ่งที่ดี มีประโยชน์ ประกอบด้วยเมตตา ถูกกาลเทศะ ถูกเวลา ถูกคน และ ถูกสถานที่ ดังบัณฑิตท่านว่า ““อยยู่คนเเดดียวใใหหร้ระะววังยยั้งคววาามคคิด อยยู่รร่วมมมิตรใใหหร้ระะววังยยั้งคคำาขขาาน อยู่ร่วมเหล้าระวังยั้งสตินาน อยู่ร่วมพาลให้ระวังทุกอย่างเอย..” ` (5) การพิชิตความเมา คือ การละเว้นจากสุรา ยาเสพติด ฝิ่่น กัญชา แแลละะของมมึนเเมมาาตต่าาง ๆๆ เเพพรราาะะเเปป็นสสาาเเหหตตุใใหห้ไไปปกก่อกรรมกรระะททำา ความผิดต่าง ๆ ยากต่อการจะพัฒนาคุณธรรมให้เจริญขึ้น 35 ` คุณธรรมสำหรับครูเป็นสิ่งจำเป็น และสำคัญสำหรับผู้ที่เป็น ครู ครูได้รับการยกย่องว่าเป็นปูชนียบุคคล เป็นคนที่ควร เเคคาารพบบูชชาา ครรูทที่ดดีตต้องเเปป็นททั้งนนักปรราาชญญ์แแลละะผผู้มมีคคุณธรรม แสดงว่า คุณธรรมของคนเป็นครูเป็นเรื่องสำคัญมาก ถ้าครู คนใดขาดคุณธรรม เช่น ขาดความเสียสละ ขาดความมี นํํ้าใใจงาม ขาดความเกรงใใจ ความยุติิธรรม คนนั้นจะเปป็็นครู ที่สมบููรณ์ไม่ได้ 36
การเปป็นครู เปปน็ไได้ เพราะใใจสูง
เเหหมมือนหนนึ่งยยูง มมีดดี ทที่แแวววขน ถ้าใจต่ำ เป็นได้ แต่เพียงคน ย่อมเสียที ที่ตน เฝ้าเป็นครู 37 ` คุณธรรม หมายถึง คุณสมบัติที่เป็นความดี ความถูกต้องซึ่งมีอยู่ภายใน จิิตใใจของบุคคล ซึึ่งจะเปป็็นเครืื่องเหนีี่ยวรัั้ง หรืือ ผลัักดัันใให้้บุคคลกระทํำ พฤติกรรมต่าง ๆ คุณธรรมนั้นเป็นคุณงามความดีที่อยู่ในลักษณะนิสัย เป็น ความรู้้สึึกผิิดชอบชัั่วดีีทีี่อยู่่ใในจิิตสํำนึึก ` คุณธรรมของครู คือ คุณธรรมความดีที่ครูจะต้องศึกษาให้เข้าใจ และนำเอา หลักธรรมต่าง ๆ มาปฏิบัติด้วยตนเองให้เกิดผลดีแก่ตนเอง และนำคุณธรรม เหล่านั้นมาสั่งสอน อบรม ตักเตือนลูกศิษย์ให้เป็นผู้มีความรู้คู่คุณธรรมดังนั้้น จึงเป็นหน้าที่่ของครูที่่จะต้องสนใจศึกษาหาความรู้ในเรื่่องคุณธรรม ต่าง ๆ ก่อน ` หลักคุณธรรมที่ครูควรยึดถือเป็นหลักปฏิบัตินั้น สามารถนำหลักธรรมใน พุุทธศาสนา หลักคุุณธรรมและจริยธรรมในสังคม ตลอดจนอุุดมคติใน วิชาชีพมาประกอบกันและสร้างสมในจิตสำนึก และปฏิบัติตาม 38
Publicité