SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  48
Télécharger pour lire hors ligne
อารยธรรมโรมัน
ความเป็ นมาของอารยธรรมโรมัน
ความเป็ นมาของอารยธรรมโรมัน
ความเป็ นมาของอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันมีแหล่ งกําเนิดจากบริเวณคาบสมุทรอิตาลี ซึ่ง
ตั้งอยู่ทางตอนใต้ ของทวีปยุโรปโดยมีลกษณะเป็ นแหลมยืนลงไป
ั
่
ในทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน ลักษณะภูมิประเทศส่ วนใหญ่ เป็ นภูเขา
และเนินเขา ได้ แก่ เทือกเขาแอลป์ ทางทิศเหนือ ซึ่งกั้นคาบสมุทร
อิตาลีออกจากดินแดนส่ วนอืนของทวีปยุโรป และเทือกเขาอเพน
่
ไนน์ ซึ่งเป็ นแกนกลางของคาบสมุทร ส่ วนบริเวณที่ราบมีน้อย
ที่ราบที่สําคัญ เช่ น ที่ราบชายฝั่งทะเลติร์เรเนียน (Tyrenian
Sea) ที่ราบลุ่มไทเบอร์ ซึ่งอยู่ทางเหนือ
ความเป็ นมาของอารยธรรมโรมัน
เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศบริเวณตอนกลางของคาบสมุทร
เป็ นที่ราบเล็กๆจึงทําให้ เกิดเป็ นชุมชนเล็กๆอยู่อย่ างกระจัด
กระจาย พืนที่เกษตรมีไม่ มากนัก และมีประชากรเพิมมากขึน
้
่
้
บริเวณดังกล่ าวจึงไม่ สามารถรองรับการกสิ กรรมที่ขยายตัว
ได้ จึงเป็ นสาเหตุให้ ชาวโรมันขยายดินแดนไปยังดินแดนอืนๆ
่
ความเป็ นมาของอารยธรรมโรมัน
โดยทั่วไปคาบสมุทรอิตาลีมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์ เรเนียน สภาพอากาศ
อบอุ่น มีฝนตกในฤดูหนาว และอากาศแห้ งแล้ งในฤดูแล้ งดินแดนใน
คาบสมุทรอิตาลีมีทรัพยากรแร่ ธาตุอุดมสมบูรณ์ พอสมควร เช่ น เหล็ก
สั งกะสี เงิน หินอ่ อน ยิปซัม เกลือ และโพแทช นอกจากนั้นยังมีทรัพยากร
ป่ าไม้ ส่ วนทรัพยากรดินมีจํานวนจํากัด เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศที่ไม่ มี
พืนที่เพียงพอต่ อการตั้งถิ่นฐาน และต้ องแย่ งชิงกับชนกลุ่มอืนๆที่อยู่ใน
้
่
ดินแดนแถบนี้ ในขณะเดียวกันยังสามารถเดินเรือค้ าขายในทะเลเมิดิเตอร์ เร
เนียนได้ อย่ างสะดวก
ความเป็ นมาของอารยธรรมโรมัน
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ส่งผลให้ ประชากรชาวโรมันเป็ นคนที่ขยัน อดทน มี
ระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่ างเคร่ งครัด สามารถขยายอาณาเขต
ยึดครองดินแดนของชนเผ่ าอืนๆ เช่ น ดินแดนของพวกอีทรัสกัน ดินแดน
่
รอบทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน ทําให้ ชาวโรมันได้ รับอารยธรรมจากดินแดน
ต่ างๆที่เข้ ายึดครองผสมผสานกับอารยธรรมโรมันของตนเอง
อารยธรรมโรมันกําเนิดที่คาบสมุทร
่
อิตาลี ซึ่ งตั้งอยูทางตอนใต้ของทวีปยุโรป
โดยมีลกษณะเป็ นแหลมยืนลงไปในทะเล
ั
่
เมดิเตอร์ เรเนียน ลักษณะภูมิประเทศส่ วน
ใหญ่เป็ นภูเขา และเนินเขา ได้แก่ เทือกเขา
แอลป์ ทางทิศเหนือซึ่ งกั้นคาบสมุทรอิตาลี
ออกจากดินแดนส่ วนอื่นของทวีปยุโรป และ
เทือกเขาแอเพนไนน์ซ่ ึ งเป็ นแกนกลางของ
คาบสมุทร ส่ วนบริ เวณที่ราบมีนอยจึงทําให้
้
่
การตั้งถิ่นฐานของชุมชนอยูอย่างกระจัด
กระจายเป็ นชุมชนเล็กๆ พื้นที่การเกษตรมีไม่
มากนัก แต่เมื่อประชากรเพิ่มขึ้น บริ เวณ
ดังกล่าวไม่สามารถรองรับการเกษตรที่
ขยายตัวได้ จึงเป็ นสาเหตุที่ชาวโรมันขยาย
ดินแดนไปยังดินแดนอื่นๆ
เทือกเขาแอลป์
เทือกเขาแอเพนไนน์
ทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน
สภาพภูมศาสตร์
ิ
คาบสมุทรอิตาลีมีลกษณะทางภูมิศาสตร์ 4 แบบคือ
ั
่
1. ทางตอนเหนือมีที่ราบอยูระหว่างภูเขาแอลป์ กับภูเขาแอปเพนไนส์ คือ ที่ราบ
ลอมบาร์ดี
2. ตอนกลางของคาบสมุทรอิตาลีมีแนวภูเขาแอปเพนไนส์ ทอดยาวในแนว
เหนือ-ใต้ มีความยาวประมาณ 800 ไมล์
3. ที่ราบด้านตะวันออกของภูเขาแอปเพนไนส์ขนานยาวไปกับชายฝั่งทะเล
4. ที่ราบด้านตะวันตกของภูเขาแอปเพนไนส์ขนานยาวไปกับชายฝั่งทะเล บริ เวณ
ตอนกลางมีที่ราบลุ่มบริ เวณแม่น้ าไทเบอร์ เรี ยกว่าที่ราบลุ่มละติอุม ซึ่ งเป็ นที่ต้ง
ํ
ั
ของกรุ งโรม
เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศที่ไม่มีพื ้นที่เพียงพอต่อ
การตังถิ่นฐาน และต้ องแย่งชิงกับชนกลุมอื่นๆที่อยูใน
้
่
่
ดินแดนแถบนี ้ ในขณะเดียวกันยังสามารถเดินเรื อ
ค้ าขายในทะเลเมิดิเตอร์ เรเนียนได้ อย่างสะดวก
ปั จจัยทางภูมิศาสตร์ สงผลให้ ประชากรชาวโรมันเป็ น
่
คนที่ขยัน อดทน มีระเบียบวินย ปฏิบติตาม
ั
ั
กฎระเบียบอย่างเคร่งครัด สามารถขยายอาณาเขต
ยึดครองดินแดนของชนเผ่าอื่นๆ เช่น ดินแดนของ
พวกอีทรัสกัน ดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน ทํา
ให้ ชาวโรมันได้ รับอารยธรรมจากดินแดนต่างๆที่เข้ า
ยึดครองผสมผสานกับ อารยธรรมโรมันของตนเอง
ภูมิอากาศ
โดยทัวไปคาบสมุทรอิตาลีมีภมิอากาศแบบเมดิเตอร์ เรเนียน
ู
่
สภาพอากาศอบอุ่น มีฝนตกในฤดูหนาว และอากาศแห้งแล้งในฤดูแล้ง
ดินแดนในคาบสมุทรอิตาลีมีทรัพยากรแร่ ธาตุอุดม สมบูรณ์พอสมควร
เช่น เหล็ก สังกะสี เงิน หิ นอ่อน และยิปซัม นอกจากนั้นยังมีทรัพยากรป่ า
ไม้ ส่ วนทรัพยากรดินมีจานวนจํากัด
ํ
ชาวโรมันได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมกรี กทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยผ่าน
จากชนชาติต่างๆที่เข้ามาติดต่อค้าขายในแหลมอิตาลีและโดยเฉพาะอย่างยิงพวก
่
อีทรัสกัน แม้ชาวโรมันจะด้อยกว่าชาวกรี กในเชิงจินตนาการ แต่พวกโรมันก็มีอุปนิสัย
เฉพาะตัวและความเฉลียวฉลาดในการดัดแปลง และเสริ มแต่งศิลปวัฒนธรรมของกรี ก
ให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมโรมันและระบอบการปกครองของประเทศ
ดังนั้นศิลปกรรมของโรมันจะสะท้อนให้เห็นบุคลิกภาพของชาวโรมันว่าเป็ นนักปฏิบติ
ั
มากกว่าชาวกรี ก ชาวโรมันไม่นิยมสร้างวิหารขนาดใหญ่ถวายเทพเจ้าอย่างกรี ก แต่
กลับสร้างอาคารต่างๆเพื่อสนองความต้องการของรัฐและประโยชน์ใช้สอยของงาน
อารยธรรมโรมัน
สมัยประวัตศาสตร์
ิ
ชาวโรมันมีความเชื่อตามตํานานว่า กรุ งโรมสถาปนาขึนบนเนินเขา๗ลูกเมื่อ๗๙๓ปี
้
ก่ อนคริสต์ ศักราช โดยพีน้องฝาแฝดคู่หนึ่งชื่อ โรมูลุส และเรมุส ซึ่งเติบโตจากนํ้านม
่
และการเลียงดูของสุ นัขป่ า แต่ ตามหลักฐานทางด้ านโบราณคดีและประวัติศาสตร์
้
ยืนยันว่าบริเวณที่ต้ังของกรุ งโรมในปัจจุบันมีพวกอีทรัสกัน ซึ่งได้ รับอารยธรรมของ
กรีกอยู่ก่อนครอบครอง พวกอีทรัสกันมีถิ่นเดิมอยู่ในเอเชียไมเนอร์ และเมื่ออพยพ
เข้ ามาในแหลมอิตาลีก็ได้ นําเอาความเชื่อในศาสนาของกรีก ศิลปะการแกะสลัก การ
ทําเครื่องปั้นดินเผา อักษรกรีก การหล่ อทองแดงและบรอนซ์ การปกครองแบบนคร
รัฐ การวางผังเมือง การสร้ างอารุ ธ และอื่นๆเข้ ามาเผยแพร่ ในคาบสมุทร
อิตาลี
อารยธรรมโรมันสมัยประวัตศาสตร์
ิ
นอกจากพวกอีทรัสกันแล้ ว ในบริเวณแหลมอิตาลียงเป็ นที่ต้ังถิ่นฐานของผู้
ั
อพยพจากเผ่ าอืนๆอีกที่สําคัญ ได้ แก่ พวกละตินซึ่งเป็ นบรรพบุรุษของชาว
่
โรมันในแถบบริเวณที่ราบละติอุม ทางตอนใต้ ของแอาแม่ นํ้าไทเบอร์ พวกนี้
มีอาชีพปลูกข้ าวและเลียงสั ตว์ และต่ อมาได้ มีการติดต่ อกับพวกอีทรัสกันใน
้
๕๐๙ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช พวกละตินได้ ขบไล่ กษัตริย์อทรัสกันออกจาก
ั
ี
บังลังก์ และจัดตั้งโรมมีรูปแบบการปกครองเป็ นแบบสาธารณรัฐ
อารยธรรมโรมันสมัยประวัตศาสตร์
ิ
อํานาจการปกครองยังเป็ นของชนชั้นสู งที่เรียกว่ า พวกพาทรีเชียน เท่ านั้น
ส่ วนราษฎรสามัญหรือประชาชนส่ วนใหญ่ ที่เรียกว่ า เพลเบียน ไม่ มีสิทธิใดๆ
ทั้งด้ านการเมืองและสั งคม ความขัดแย้ งระหว่ างพวกพาทรีเชียนและเพล
เบียนนําไปสู่ การต่ อสู้ ระหว่ างชนชั้นทั้งสองในปี ๔๔๙ ก่ อนคริสต์ ศักราช
พวกเพลเบียนได้ มีสิทธิออกกฎหมายร่ วมกับพวกพาทรีเชียน เป็ นการออก
ประมวลกฎหมายเป็ นลายลักษณ์ อกษรฉบับแรกของโรมัน เรียกว่ า กฎหมาย
ั
สิ บสองโต๊ ะ
อารยธรรมโรมันสมัยประวัตศาสตร์
ิ
ระหว่าง ๒๖๔ - ๑๔๖ ปี ก่อนคริ สต์ศกราช โรมันทําสงครามพิวนิก กับ
ั
พวกคาร์ เทจที่ต้ งอาณาจักรในบริ เวณภาคเหนือทวีปแอฟริ กา คาร์ เทจ
ั
เป็ นฝ่ ายพ่ายแพ้และต้องสูญเสี ยอาณาจักร เป็ นการเปิ ดโอกาสให้โรมัน
ได้เป็ นเจ้าทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน และเป็ นรัฐที่มีอานาจมากที่สุดใน
ํ
ขณะนั้น โดยผูกขาดการค้าระหว่างยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออก
และเอเชียไมเนอร์ จนมีฐานะมังคัง และมีอานาจปกครองดินแดนอัน
ํ
่ ่
กว้างใหญ่ไพศาล
อารยธรรมโรมันสมัยประวัตศาสตร์
ิ
เมือ ๒๗ ปี ก่อนคริสต์ ศักราช โรมันได้ ยุติการปกครองในระบอบสาธารณรัฐ
่
และหันมาใช้ การปกครองแบบจักรวรรดิอย่ างเป็ นทางการ ออคเทเวียนได้ รับ
สมญานามว่ า ออกุสตุส และสภาโรมันยกย่ องให้ เป็ นจักรพรรดิพระองค์ แรกของ
จักรวรรดิโรมัน โรมันเจริญถึงขีดสู งสุ ดและสามารถขยายอํานาจและอิทธิพลไป
ทัวทั้งทวีปยุโรป มีการสร้ างถนนทัวไปเพือสะดวกในการลําเลียงสิ นค้ าและทหาร
่
่
่
ตลอดจนส่ งเสริมศิลปวัฒนธรรมในแขนงต่ างๆในคริสต์ ศตวรรษที่ ๕ จักรวรรดิ
โรมันอ่อนแอลงตามลําดับจนในทีสุดกรุงโรมถูกพวกอนารยชนเผ่ าเยอรมันหรือ
่
เผ่ ากอท เข้ าปล้นสะดมหลายครั้ง จักรพรรดิของโรมันองค์ สุดท้ ายถูกอนารยชน
ขับออกจากบังลังก์ใน ค.ศ.๔๗๖ จึงถือกันว่ าปี ดังกล่าวเป็ นการสิ้นสุ ดของ
จักรวรรดิโรมัน
การปกครอง
การปกครอง
ระบบปกครอง ชาวโรมันได้สถาปนาการปกครองระบอบสาธารณรัฐขึ้นหลังจากรวม
อํานาจในแหลมอิตาลีได้ สร้างความเป็ นปึ กแผ่นให้แก่ชาวโรมัน เพราะเป็ นระบอบที่
เปิ ดโอกาสให้พลเมืองโรมันทุกคนทุกชนชั้น มีส่วนร่ วมในการปกครอง ด้วยการ
เลือกตั้งตัวแทนของกลุ่มตนเข้าไปบริ หารออกกฎหมาย กําหนดนโยบายต่างประเทศ
และประกาศสงคราม โดยมีกงสุ ล (Consull) ซึ่ งมาจากการเลือกตั้งทําหน้าที่
ประมุขและบริ หาร
การปกครอง
การปกครองทุกด้ าน การมีส่วนร่ วมในการปกครองของพลเมือง
โรมันทําให้ สาธารณรัฐโรมันแข็งแกร่ งมันคงและเจริญก้าวหน้ า
่
ต่ อมาเมือโรมันขยายอํานาจครอบครองดินแดนอืนๆอย่ าง
่
่
รวดเร็ว จึงเปลียนระบอบปกครองเป็ นจักรวรรดิ มีจักรวรรดิเป็ น
่
ผู้มอานาจสู งสุ ด จักรวรรดิได้ แต่ งตั้งชาวโรมันปกครองอาณา
ีํ
นิคมต่ างๆ โดยตรง ทําให้ สามารถควบคุมดินแดนต่ างๆ และ
ส่ งผลให้ จักรวรรดิโรมันมีอานาจยืนยาวหลายร้ อยปี
ํ
สถาปัตยกรรมโรมัน
ทางด้านสถาปั ตยกรรมจะเน้นความใหญ่โต แข็งแรง ทนทาน การ
ออกแบบภายในนิยมทําอย่างหรู หรา โรมันได้พฒนาเทคนิคในการ
ั
ออกแบบก่อสร้างของกรี กเป็ นประตูโค้ง และเปลี่ยนหลังคาแบบจัวเป็ นโดม
่
ซึ่งกลายเป็ นแบบอย่างในการก่อสร้างอาคารต่างๆในยุโรปสมัยกลาง
โฟรัม(Forum)
เป็ นย่านชุมนุมชน สถานที่ราชการ ตลาด คล้ายกันกับ อโกลา (agora)ของกรี ก โฟรัม
่
จะมีอยูในทุกๆเมืองมีลกษณะเป็ นลานกว้างแต่บางแห่งอาจจะมีหลังคา บริ เวณรอบๆจะ
ั
รายล้อมด้วย อาคาร สถานที่ราชการ วิหาร หอสมุด ที่มีชื่อเสี ยงคือโฟรัมของทราจัน
(Forum of Trajan) เป็ นที่จาหน่ายผักผลไม้ เป็ นที่เก็บไวน์และนํ้ามัน เป็ นร้านค้า
ํ
เป็ นที่เก็บอาหารและทรัพย์สินและเป็ นถังเก็บนํ้าจากท่อส่ งนํ้าด้วย
สะพานและท่อลําเลียงนํ้า
สร้างขึ้นมาเพื่อบริ การนํ้าสะอาดให้แก่ชาวโรมัน จัดเป็ นสาธารณูปโภคอย่างหนึ่ง
ที่รัฐต้องบริ การให้แก่ประชาชน ท่อลํา เลียงนํ้านี้จะนํานํ้าจากแม่น้ าหรื อลําธาร
ํ
ไหลเข้าสู่ ตวเมือง 12 แห่ง และมีท่อเล็กลําเลียงแยกจากท่อใหญ่อีกครั้งหนึ่ง ท่อ
ั
นํ้าส่ วนมากจะมีสะพานรองรับยกระดับให้สูง มิฉะนั้น นํ้าจะไหลออกหมด
บาซิลิกา(Basilica)
เป็ นชื่อเรี ยกอาคารขนาดใหญ่ซ่ ึ งใช้เป็ นศาลยุติธรรมและอาคารพาณิ ชย์ของรัฐ ที่มี
ชื่อเสี ยงมากคือ บาซิลิกา อุลปิ อา(Basilica Ulpia)สร้างโดยจักรพรรดิทราจัน
นามอุลปิ อามีที่มาจากสกุลของจักรพรรดิ์ สร้างติดกับโฟรัมทราจันหรื ออาจเป็ นส่ วน
หนึ่งของโฟรัม ผังเป็ นสี่ เหลี่ยมผืนผ้าด้านกว้างทั้งสองทําเป็ นรู ปครึ่ งวงกลม หลังคารู ป
จัว เสาแบบคอริ นเธียน บางครั้งที่แห่งนี้ใช้ทาพิธีสาคัญๆทางการเมืองและศาสนา
ํ
ํ
่
ปั จจุบนพังทลายไปมาก
ั
โรงละครและสนามกีฬา
เป็ นสถานที่พกผ่อนชมกีฬา ชาวโรมันมีดวยกันหลายแห่งแห่งที่มีชื่อคือ Colosseum เริ่ มต้นสร้าง
ั
้
ในสมัยราชวงศ์ฟราเวียน เป็ นโรงมหรสพรู ปวงกลมที่มีอฒจันทร์ ลอมรอบ สําหรับเกมกีฬาต่อสู ้และ
ั
้
ความบันเทิงของสาธารณชน สถาปนิกได้ดดแปลงจากโรงละครกลางแจ้งของกรี กให้กลายมาเป็ น
ั
สนามกีฬา เพื่อใช้เป็ นสถานที่ต่อสู ้ของคนกับคนและคนกับสัตว์โดยเน้นการฆ่าฟันถึงตาย มีที่นง
ั่
สําหรับคนดูได้ราว 50000 คนด้วยความที่เป็ นสนามกีฬาใหญ่จึงต้องคิดระบบระบายคนเข้าออกอย่าง
รวดเร็ วโดยการทําช่องทางเข้าออก 80 ช่องรอบๆสนาม
แมกซิมุส
ใช้เป็ นที่พกผ่อนหย่อนใจของโรมันอีกแห่ง ส่ วนใหญ่ใช้แข่งม้า สร้างสมัยจู
ั
เลียส ซีซาร์ ต่อมาอ็อคตาเวียนได้บูรณะขึ้นใหม่ ในสมัยจักรพรรดิเวสปา
เซียน ได้ตกแต่งให้งดงามขึ้นและปรับปรุ งเป็ นสนามแข่งรถบรรจุคนดูได้
25000 คน
วิหาร
วิหารที่สาคัญในยุคจักรวรรดิตนคือวิหารแพนเธออน(Pantheon) สร้างขึ้นสมัย
ํ
้
จักรพรรดิมาร์คุส วิบซานิอุส อะกริ บ ต่อมามีการสร้างใหม่ในสมัยจักรพรรดิฮาเดรี ยน
วัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็ นเทวสถานของเทพเจ้าโรมัน 7 องค์หรื อเทพแห่งดาวในระบบ
สุ ริยะ Apolloพระอาทิตย์ Diana พระจันทร์ Mars อังคาร Mercury พุธ
Jupiter พฤหัส Venus ศุกร์ Saturn เสาร์
โรงอาบนํ้าสาธารณะ
โรงอาบนํ้าสาธารณะหรือเธอเม(Thermae or Bath) Thermae เป็ น
สถานที่ที่ใช้สาหรับอาบนํ้ากับที่ออกกําลังกายในร่ มของชาวโรมัน ในบางครั้งอาจใช้
ํ
เป็ นที่พบปะ ประชุม พูดคุย ถกกันในเรื่ องต่างๆของชนทุกเธอเมที่สาคัญเป็ นของ
ํ
จักรพรรดิคาราคาราจุคนได้ 1600 คน
ประตูชัย
ประตูชัย(Triumphal Arch)จัดเป็ น
อนุสาวรี ยประเภทหนึ่ง สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลอง
์
ชัยชนะจากสงคราม สร้างโดยจักรพรรดินิยม
สร้างคร่ อมถนนโดยทําเป็ นแท่งสี่ เหลี่ยม ตรง
กลางทําเป็ นทางลอดและประตูโค้ง บริ เวณส่ วน
หน้าและหลังประดับด้วยประติมากรรมและ
ข้อความจารึ กเหตุการณ์หรื อวีรกรรมของผูสร้าง
้
ที่ได้ชยชนะจากสงคราม ประตูชยที่สาคัญๆ
ั
ั ํ
ได้แก่ ประตูชยของติตุสในโรม เพื่อรําลึกชัยชนะ
ั
ของพระองค์ที่มีต่อพวกจูดาห์ ประตูชยของทรา
ั
จันที่เบเนเวนโต นับเป็ นประตูชยแห่งเดียวที่
ั
ไม่ได้เน้นเรื่ องสงครามเหมือนประตูชยอื่นๆ
ั
ประติมากรรมของโรมัน
โรมันนํารู ปแบบประติมากรรมมาจากกรี ก พัฒนาการสอดแทรก
อุดมคติของโรมันเข้าไปด้วย เช่น ความเข็มแข็งแบบทหาร นิยมสร้างรู ป
ทหารนักการเมือง แม่ทพ จูเลียส และบุคคลสําคัญ ๆ ลักษณะเข็มแข็งเป็ น
ั
ผูดี เสื้ อผ้ามีรอยย่นมาก ภาพและสลักของโรมันยังมีรูปวีนสเอสไควไลน์
้
ั
และบางส่ วนนํามาจากกรี ก อย่างภาพเลาคูนและบุตรถูกงูรัด เป็ นต้น
ประติมากรรมของโรมัน จําแนกออกได้เป็ น 2 แบบ
1. นิยมทําภาพนูนสู งประดับอนุสาวรีย์หรือ
บันทึกเหตุการณ์ ประวัตศาสตร์ ในยุคนั้น
ิ
ประดับตัวสถาปัตยกรรม
-The Altar of Peace แท่นบูชาสันติภาพ
สร้างโดยจักรพรรดิ ออกุสตุส เป็ นอนุสรณ์การลับ
คืนสู่ โรมหลังจากการรบในต่างแดน ลักษณะเป็ น
วิหารเล็กๆ รอบๆกําแพงทั้งภายนอกและภายในมี
ประติมากรรมแบนประดับอยู่ แสดงเรื่ องราวของ
ั
จักรพรรดิกบข้าราชบริ พาร ประติมากรรมประดับ
อนุสรณ์สถานอีกชิ้นคือภาพประดับประตูชยติตุส ทํา
ั
ขึ้นราว ค.ศ. 81 บนถนน เวีย สาครา ตัวประตูชยเป็ น
ั
แบบคอริ นเธี ยน ลักษณะทัวไปคล้ายการสร้าง
่
โคลอสเซี ยม ประติมากรรมเป็ นแบบนูนสู งแสดง
เหตุการณ์ของติตุสที่ได้ชยชนะจากพวกยิว
ั
- เสาของทราจัน(The Column of Trajan)
ในช่วงแรกของการครองราชย์ Trajan ไปรบกับเด
เชี่ ยน Dacians พวกยุโรปตอนกลางทางตอนใต้
ของแม่น้ าดานูบ(ปัจุบนคือฮังการี และโรมาเนีย) ผู ้
ํ
ั
ชอบลอบจู่โจมจักรวรรดิโดยไม่รู้ตวอยูประจํา และได้
ั ่
ชัยถึง 2 ครั้ง ชัยชนะของเขาได้เฉลิมฉลองโดยใช้เสา
แห่ งชัยชนะเป็นอนุสาวรี ยอยูในกรุ งโรม บริ เวณด้าน
์ ่
นอกมีประติมากรรมนูนตํ่าสลักจากหิ นอ่อนทําเป็น
แถบคล้ายผ้าพันแผลหมุนเวียนจากซ้ายไปขวารอบเสา
เหมือนเกลียวสว่าน แถบประติมากรรมนี้มีรูปลักษณะ
ที่แบนและมีความต่อเนื่องกันไป ตัวประติมากรรม
เป็นเรื่ องราวของจักรพรรดิทราจันทําสงครามกับพวก
เดเชี่ ยน รู ปคนทั้งหมดมีประมาณ 2500 รู ปนอกจากนี้
ยังมีรูปรถ ม้า เรื อ และอาวุธต่างๆด้วย ประติมากรรม
นี้ เด่นตรงการบรรยายเหตุการณ์ต่างๆด้วยรู ปสลัก
ทั้งหมด ทั้งการสร้างป้ อม ค่ายต่างๆแต่ทุกตอนจะเน้น
บุคคลสําคัญในภาพคือจักรพรรดิทราจัน
2. ทํารู ปเหมือนบุคคล
ซึ่งนิยมมาตั้งแต่สมัยเป็ นสาธารณรัฐแล้ว มาถึงสมัยจักรวรรดินิยมก็ยงคง
ั
่
นิยมอยูแต่ต่างกันบ้างในรายละเอียดคือสมัยสาธารณรัฐนิยมทําภาพเหมือน
จริ งของบุคคลให้มีความเหมือนตามจริ งมากที่สุดแต่ในสมัยจักรวรรดินิยม
ชอบให้แสดงออกถึงลักษณะอันสง่างาม เป็ นอุดมคติ โดยเฉพาะรู ปชน
ชั้นสูงจะดูสง่างามราวเทพเจ้าของกรี ก เป็ นการผสมผสานระหว่างความ
เหมือนจริ ง Realism กับความเป็ นอุดมคติ Idealism ส่ วนรู ป
ประชาชนทัวไปก็ยงคงมีลกษณะแบบเหมือนจริ งเช่นเดิม
ั
ั
่
รู ปคนเหมือนที่มีชื่อเสียงคือรู ปของจักรพรรดิออกุสตุส เวสปาเชี่ยนและฮาเดรี ยน อีกรู ปที่สําคัญ
มากคือจักรพรรดิมาร์ คส ออเรลิอสทรงม้ า ที่สร้ างให้ จกรวรรดิโรมันรุ่ งโรจน์ สันนิษฐานว่าการ
ุ
ุ
ั
สร้ างรู ปแบบนี ้ได้ รับความนิยมจากจักรพรรดิทกองค์แต่เหตุที่เหลือเพียงจักรพรรดิออเรลิอสเพียง
ุ
ุ
องค์เดียวอาจเนื่องจากถูกพวกคริ สต์เตียนซึงเรื องอํานาจขึ ้นในสมัยกลาง นํารู ปเหล่านี ้มาหลอม
่
เพราะเห็นว่าศิลปะโรมันเป็ นของพวกนอกศาสนา และยังเคยเป็ นศัตรู แก่พวกคริ สเตียนด้ วย จึง
ทําลายรู ปต่างๆของโรมันโดยเฉพาะรู ปจักรพรรดิลงเกือบหมด และอาจเป็ นไปได้ วาเข้ าใจว่ารู ป
่
จักรพรรดิออเรลิอสคือรู ปจักรพรรดิคอนสแตนตินผู้ประกาศอิสรภาพในการนับถือศาสนาแก่คริ ส
ุ
เตียนและเป็ นจักรพรรดิเพียงองค์เดียวที่คริ สต์เตียนรัก ท่าทางของรู ปอยู่ในอากัปกิริยาของผู้ทรง
ความกรุ ณา มือขวาที่ยกขึ ้นคล้ ายสันตะปาปากําลังประทานพร มีท่าทางราวกับพระเจ้ า ซึง
่
สอดคล้ องกับความเชื่อที่วาจักรพรรดิมีฐานะราวกับเทพองค์หนึง ทังจักรพรรดิองค์นี ้ได้ ชื่อว่าเป็ น
่
่ ้
นักปราชญ์ มีสมาธิอนแกร่ งกล้ าและมีความเมตตาเหมือนนักบุญ ลักษณะดังกล่าวได้ แสดงออก
ั
ในงานประติมากรรมนี ้ รู ปออเรลิอสทรงม้ าก่อให้ เกิดแรงบันดาลใจแก่ศิลปิ นในยุคหลังๆเช่น ยุค
ุ
เรอเนซองที่นิยมสร้ างอนุสาวรี ย์รูปคนขี่ม้า และแพร่ หลายไปทัวโลก
่
จักรพรรดิออกุสตุส

จักรพรรดิเวสปาเชี่ยน

จักรพรรดิฮาเดรี ยน

จักรพรรดิมาร์ คส ออเรลิอส
ุ
ุ
วิศวกรรม
วิศวกรรม
โรมันประสบความสํ าเร็จในการสร้ างถนน
คอนกรีตที่มีความแข็งแรงทนทาน สองข้ าง
ถนนมีท่อระบายนํ้าและมีหลักบอก
ระยะทาง ถนนที่ยงใช้ มาถึงปัจจุบัน ได้ แก่
ั
ถนนแอปเพียน(Appian Ways) ใน
ประเทศอิตาลี นอกจากนียงสร้ างท่ อนํ้า
้ั
หลายแห่ งเพือนํานํ้าจากภูเขาไปสู่ เมือง
่
ใกล้ เคียง ท่ อส่ งนํ้าที่ปัจจุบันยังใช้ อยู่ เช่ น
ท่ อส่ งนํ้าที่เมืองนีมส์ ทางตอนใต้ ของ
ประเทศฝรั่งเศส
ปฏิทน
ิ
ปฏิทน
ิ
เดิมชาวโรมันใช้ปฏิทินจันทรคติ ปี หนึ่งมี 10 เดือน ภายหลังเพิ่มเป็ น 12 เดือน
็ั
แต่กยงมีความคลาดเคลื่อนไปจากฤดูกาล จนกระทังเมื่อ 45 ปี ก่อนคริ สต์ศกราช
ั
่
จูเลียส ซีซาร์ (Julius Caesar 100-44 ปี ก่อนคริ สต์ศกราช)
ั
นักประวัติศาสตร์และแม่ทพผูมีอานาจของโรมันให้ใช้ปฏิทินจูเลียนซึ่งเป็ นแบบ
ั ้ ํ
สุ ริยคติ ปี หนึ่งมี 12 เดือน แต่ละปี มี 365 วัน และให้เพิ่มวันในเดือนกุมภาพันธ์
ทุก 4 ปี ให้เป็ นปี ที่มี 366 วัน ปฏิทินจูเลียนใช้มานานถึง 1,600 ปี จึงมีการ
ปรับปรุ งเป็ นปฏิทินเกรกอเรี ยนใน ค.ศ. 1582
กฎหมาย
กฎหมาย
โรมันมีกฎหมายมาตั้งแต่สมัยสาธารณรัฐ
ในระยะแรกกฎหมายไม่ได้เขียนเป็ นลายลักษณ์ การบังคับใช้กฎหมายเป็ นไปตาม
วินิจฉัยของผูพิพากษาซึ่งเป็ นกลุ่มชน
้
ชั้นสู ง ดังนั้นพวกสามัญชนจึงเรี ยกร้องให้
เขียนกฎหมายเป็ นลายลักษณ์ ซึ่งต่อมาได้
แกะสลักบนแผ่นไม้รวม 12 แผ่นเรี ยกว่า
กฎหมายสิ บสองโต๊ะ (Twelve
Tables)
กฎหมาย
ความโดดเด่ นของกฎหมายโรมันคือ ความทันสมัย เพราะมีการปรับปรุ ง
แก้ ไขเพิมเติมให้ สอดคล้ องกับโครงสร้ างการปกครองที่เปลียนเป็ นระบอบ
่
่
จักรวรรดิและสภาพแวดล้ อมของประชาชนในทุกส่ วนของจักรวรรดิ
นอกจากนีตุลาการชาวโรมันยังมีส่วนทําให้ เกิดการยอมรับหลักการพืนฐาน
้
้
ของกฎหมายว่ า ประชาชนทุกคนมีความเสมอภาคกันภายใต้ กฎหมาย ซึ่ง
รวมถึงกระบวนการยุติธรรมทียดเป็ นแบบอย่ างปฏิบัติต่อมาถึงปัจจุบันคือ
่ึ
ให้ สันนิษฐานว่ าผู้ต้องหาทุกคนเป็ นผู้บริสุทธิ์ไว้ ก่อน จนกว่ าจะมีหลักฐาน
ยืนยันแน่ ชัดว่ ามีการกระทําความผิด
กฎหมาย
กฎหมายโรมันเป็ นมรดกทางอารยธรรมที่สําคัญ เพราะเป็ น
พืนฐานของหลักกฎหมายของประเทศต่ างๆในทวีปยุโรป และ
้
ยังมีอทธิพลอย่ างมากต่ อกฎและข้ อบังคับของศาสนาคริสต์
ิ
เพือใช้ บังคับให้ ชาวโรมันทุกคนปฎิบัติอยู่ในกรอบเดียวกันของ
่
กฎหมายและสั งคม
ภาษา
ภาษา
ภาษาละติน ชาวโรมันพัฒนาภาษาละตินจากตัวพยัญชนะในภาษากรี กที่พวก
ั
อีทรัสคันนํามาใช้ในแหลมอิตาลี ภาษาละตินมีพยัญชนะ 23 ตัว ใช้กนแพร่ หลาย
ในมหาวิทยาลัยของยุโรปสมัยกลาง และเป็ นภาษาทางราชการของศาสนาคริ สต์
นิกายโรมันคาทอลิกมาจนถึงศตวรรษ 1960 นอกจากนี้ภาษาละตินยังเป็ นภาษา
กฎหมายของประเทศในยุโรปตะวันตกนานหลายร้อยปี และเป็ นรากของภาษาใน
ยุโรป ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน โปรตุเกส และโรมาเนีย ภาษาละตินยัง
ถูกนําไปใช้เป็ นชื่อทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกับภาษากรี กด้วย
รายชื่อผูจดทํา
้ั

• ชนมน พรพินิจ ม.6.5 เลขที่ 5
• พรรณราย แก้วมะเรื อง ม.6.5 เลขที่ 29

Contenu connexe

Tendances

พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่Mind Mmindds
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางJuno Nuttatida
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 

Tendances (20)

พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 

Plus de Pannaray Kaewmarueang

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์Pannaray Kaewmarueang
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียPannaray Kaewmarueang
 

Plus de Pannaray Kaewmarueang (15)

ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
โอเปก
โอเปกโอเปก
โอเปก
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 

อารยธรรมโรมัน

  • 4. ความเป็ นมาของอารยธรรมโรมัน อารยธรรมโรมันมีแหล่ งกําเนิดจากบริเวณคาบสมุทรอิตาลี ซึ่ง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ ของทวีปยุโรปโดยมีลกษณะเป็ นแหลมยืนลงไป ั ่ ในทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน ลักษณะภูมิประเทศส่ วนใหญ่ เป็ นภูเขา และเนินเขา ได้ แก่ เทือกเขาแอลป์ ทางทิศเหนือ ซึ่งกั้นคาบสมุทร อิตาลีออกจากดินแดนส่ วนอืนของทวีปยุโรป และเทือกเขาอเพน ่ ไนน์ ซึ่งเป็ นแกนกลางของคาบสมุทร ส่ วนบริเวณที่ราบมีน้อย ที่ราบที่สําคัญ เช่ น ที่ราบชายฝั่งทะเลติร์เรเนียน (Tyrenian Sea) ที่ราบลุ่มไทเบอร์ ซึ่งอยู่ทางเหนือ
  • 5. ความเป็ นมาของอารยธรรมโรมัน เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศบริเวณตอนกลางของคาบสมุทร เป็ นที่ราบเล็กๆจึงทําให้ เกิดเป็ นชุมชนเล็กๆอยู่อย่ างกระจัด กระจาย พืนที่เกษตรมีไม่ มากนัก และมีประชากรเพิมมากขึน ้ ่ ้ บริเวณดังกล่ าวจึงไม่ สามารถรองรับการกสิ กรรมที่ขยายตัว ได้ จึงเป็ นสาเหตุให้ ชาวโรมันขยายดินแดนไปยังดินแดนอืนๆ ่
  • 6. ความเป็ นมาของอารยธรรมโรมัน โดยทั่วไปคาบสมุทรอิตาลีมีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์ เรเนียน สภาพอากาศ อบอุ่น มีฝนตกในฤดูหนาว และอากาศแห้ งแล้ งในฤดูแล้ งดินแดนใน คาบสมุทรอิตาลีมีทรัพยากรแร่ ธาตุอุดมสมบูรณ์ พอสมควร เช่ น เหล็ก สั งกะสี เงิน หินอ่ อน ยิปซัม เกลือ และโพแทช นอกจากนั้นยังมีทรัพยากร ป่ าไม้ ส่ วนทรัพยากรดินมีจํานวนจํากัด เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศที่ไม่ มี พืนที่เพียงพอต่ อการตั้งถิ่นฐาน และต้ องแย่ งชิงกับชนกลุ่มอืนๆที่อยู่ใน ้ ่ ดินแดนแถบนี้ ในขณะเดียวกันยังสามารถเดินเรือค้ าขายในทะเลเมิดิเตอร์ เร เนียนได้ อย่ างสะดวก
  • 7. ความเป็ นมาของอารยธรรมโรมัน ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ส่งผลให้ ประชากรชาวโรมันเป็ นคนที่ขยัน อดทน มี ระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่ างเคร่ งครัด สามารถขยายอาณาเขต ยึดครองดินแดนของชนเผ่ าอืนๆ เช่ น ดินแดนของพวกอีทรัสกัน ดินแดน ่ รอบทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน ทําให้ ชาวโรมันได้ รับอารยธรรมจากดินแดน ต่ างๆที่เข้ ายึดครองผสมผสานกับอารยธรรมโรมันของตนเอง
  • 8. อารยธรรมโรมันกําเนิดที่คาบสมุทร ่ อิตาลี ซึ่ งตั้งอยูทางตอนใต้ของทวีปยุโรป โดยมีลกษณะเป็ นแหลมยืนลงไปในทะเล ั ่ เมดิเตอร์ เรเนียน ลักษณะภูมิประเทศส่ วน ใหญ่เป็ นภูเขา และเนินเขา ได้แก่ เทือกเขา แอลป์ ทางทิศเหนือซึ่ งกั้นคาบสมุทรอิตาลี ออกจากดินแดนส่ วนอื่นของทวีปยุโรป และ เทือกเขาแอเพนไนน์ซ่ ึ งเป็ นแกนกลางของ คาบสมุทร ส่ วนบริ เวณที่ราบมีนอยจึงทําให้ ้ ่ การตั้งถิ่นฐานของชุมชนอยูอย่างกระจัด กระจายเป็ นชุมชนเล็กๆ พื้นที่การเกษตรมีไม่ มากนัก แต่เมื่อประชากรเพิ่มขึ้น บริ เวณ ดังกล่าวไม่สามารถรองรับการเกษตรที่ ขยายตัวได้ จึงเป็ นสาเหตุที่ชาวโรมันขยาย ดินแดนไปยังดินแดนอื่นๆ
  • 10. สภาพภูมศาสตร์ ิ คาบสมุทรอิตาลีมีลกษณะทางภูมิศาสตร์ 4 แบบคือ ั ่ 1. ทางตอนเหนือมีที่ราบอยูระหว่างภูเขาแอลป์ กับภูเขาแอปเพนไนส์ คือ ที่ราบ ลอมบาร์ดี 2. ตอนกลางของคาบสมุทรอิตาลีมีแนวภูเขาแอปเพนไนส์ ทอดยาวในแนว เหนือ-ใต้ มีความยาวประมาณ 800 ไมล์ 3. ที่ราบด้านตะวันออกของภูเขาแอปเพนไนส์ขนานยาวไปกับชายฝั่งทะเล 4. ที่ราบด้านตะวันตกของภูเขาแอปเพนไนส์ขนานยาวไปกับชายฝั่งทะเล บริ เวณ ตอนกลางมีที่ราบลุ่มบริ เวณแม่น้ าไทเบอร์ เรี ยกว่าที่ราบลุ่มละติอุม ซึ่ งเป็ นที่ต้ง ํ ั ของกรุ งโรม
  • 11. เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศที่ไม่มีพื ้นที่เพียงพอต่อ การตังถิ่นฐาน และต้ องแย่งชิงกับชนกลุมอื่นๆที่อยูใน ้ ่ ่ ดินแดนแถบนี ้ ในขณะเดียวกันยังสามารถเดินเรื อ ค้ าขายในทะเลเมิดิเตอร์ เรเนียนได้ อย่างสะดวก ปั จจัยทางภูมิศาสตร์ สงผลให้ ประชากรชาวโรมันเป็ น ่ คนที่ขยัน อดทน มีระเบียบวินย ปฏิบติตาม ั ั กฎระเบียบอย่างเคร่งครัด สามารถขยายอาณาเขต ยึดครองดินแดนของชนเผ่าอื่นๆ เช่น ดินแดนของ พวกอีทรัสกัน ดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน ทํา ให้ ชาวโรมันได้ รับอารยธรรมจากดินแดนต่างๆที่เข้ า ยึดครองผสมผสานกับ อารยธรรมโรมันของตนเอง
  • 12. ภูมิอากาศ โดยทัวไปคาบสมุทรอิตาลีมีภมิอากาศแบบเมดิเตอร์ เรเนียน ู ่ สภาพอากาศอบอุ่น มีฝนตกในฤดูหนาว และอากาศแห้งแล้งในฤดูแล้ง ดินแดนในคาบสมุทรอิตาลีมีทรัพยากรแร่ ธาตุอุดม สมบูรณ์พอสมควร เช่น เหล็ก สังกะสี เงิน หิ นอ่อน และยิปซัม นอกจากนั้นยังมีทรัพยากรป่ า ไม้ ส่ วนทรัพยากรดินมีจานวนจํากัด ํ
  • 13. ชาวโรมันได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมกรี กทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยผ่าน จากชนชาติต่างๆที่เข้ามาติดต่อค้าขายในแหลมอิตาลีและโดยเฉพาะอย่างยิงพวก ่ อีทรัสกัน แม้ชาวโรมันจะด้อยกว่าชาวกรี กในเชิงจินตนาการ แต่พวกโรมันก็มีอุปนิสัย เฉพาะตัวและความเฉลียวฉลาดในการดัดแปลง และเสริ มแต่งศิลปวัฒนธรรมของกรี ก ให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมโรมันและระบอบการปกครองของประเทศ ดังนั้นศิลปกรรมของโรมันจะสะท้อนให้เห็นบุคลิกภาพของชาวโรมันว่าเป็ นนักปฏิบติ ั มากกว่าชาวกรี ก ชาวโรมันไม่นิยมสร้างวิหารขนาดใหญ่ถวายเทพเจ้าอย่างกรี ก แต่ กลับสร้างอาคารต่างๆเพื่อสนองความต้องการของรัฐและประโยชน์ใช้สอยของงาน
  • 15. ชาวโรมันมีความเชื่อตามตํานานว่า กรุ งโรมสถาปนาขึนบนเนินเขา๗ลูกเมื่อ๗๙๓ปี ้ ก่ อนคริสต์ ศักราช โดยพีน้องฝาแฝดคู่หนึ่งชื่อ โรมูลุส และเรมุส ซึ่งเติบโตจากนํ้านม ่ และการเลียงดูของสุ นัขป่ า แต่ ตามหลักฐานทางด้ านโบราณคดีและประวัติศาสตร์ ้ ยืนยันว่าบริเวณที่ต้ังของกรุ งโรมในปัจจุบันมีพวกอีทรัสกัน ซึ่งได้ รับอารยธรรมของ กรีกอยู่ก่อนครอบครอง พวกอีทรัสกันมีถิ่นเดิมอยู่ในเอเชียไมเนอร์ และเมื่ออพยพ เข้ ามาในแหลมอิตาลีก็ได้ นําเอาความเชื่อในศาสนาของกรีก ศิลปะการแกะสลัก การ ทําเครื่องปั้นดินเผา อักษรกรีก การหล่ อทองแดงและบรอนซ์ การปกครองแบบนคร รัฐ การวางผังเมือง การสร้ างอารุ ธ และอื่นๆเข้ ามาเผยแพร่ ในคาบสมุทร อิตาลี
  • 16. อารยธรรมโรมันสมัยประวัตศาสตร์ ิ นอกจากพวกอีทรัสกันแล้ ว ในบริเวณแหลมอิตาลียงเป็ นที่ต้ังถิ่นฐานของผู้ ั อพยพจากเผ่ าอืนๆอีกที่สําคัญ ได้ แก่ พวกละตินซึ่งเป็ นบรรพบุรุษของชาว ่ โรมันในแถบบริเวณที่ราบละติอุม ทางตอนใต้ ของแอาแม่ นํ้าไทเบอร์ พวกนี้ มีอาชีพปลูกข้ าวและเลียงสั ตว์ และต่ อมาได้ มีการติดต่ อกับพวกอีทรัสกันใน ้ ๕๐๙ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช พวกละตินได้ ขบไล่ กษัตริย์อทรัสกันออกจาก ั ี บังลังก์ และจัดตั้งโรมมีรูปแบบการปกครองเป็ นแบบสาธารณรัฐ
  • 17. อารยธรรมโรมันสมัยประวัตศาสตร์ ิ อํานาจการปกครองยังเป็ นของชนชั้นสู งที่เรียกว่ า พวกพาทรีเชียน เท่ านั้น ส่ วนราษฎรสามัญหรือประชาชนส่ วนใหญ่ ที่เรียกว่ า เพลเบียน ไม่ มีสิทธิใดๆ ทั้งด้ านการเมืองและสั งคม ความขัดแย้ งระหว่ างพวกพาทรีเชียนและเพล เบียนนําไปสู่ การต่ อสู้ ระหว่ างชนชั้นทั้งสองในปี ๔๔๙ ก่ อนคริสต์ ศักราช พวกเพลเบียนได้ มีสิทธิออกกฎหมายร่ วมกับพวกพาทรีเชียน เป็ นการออก ประมวลกฎหมายเป็ นลายลักษณ์ อกษรฉบับแรกของโรมัน เรียกว่ า กฎหมาย ั สิ บสองโต๊ ะ
  • 18. อารยธรรมโรมันสมัยประวัตศาสตร์ ิ ระหว่าง ๒๖๔ - ๑๔๖ ปี ก่อนคริ สต์ศกราช โรมันทําสงครามพิวนิก กับ ั พวกคาร์ เทจที่ต้ งอาณาจักรในบริ เวณภาคเหนือทวีปแอฟริ กา คาร์ เทจ ั เป็ นฝ่ ายพ่ายแพ้และต้องสูญเสี ยอาณาจักร เป็ นการเปิ ดโอกาสให้โรมัน ได้เป็ นเจ้าทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน และเป็ นรัฐที่มีอานาจมากที่สุดใน ํ ขณะนั้น โดยผูกขาดการค้าระหว่างยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออก และเอเชียไมเนอร์ จนมีฐานะมังคัง และมีอานาจปกครองดินแดนอัน ํ ่ ่ กว้างใหญ่ไพศาล
  • 19. อารยธรรมโรมันสมัยประวัตศาสตร์ ิ เมือ ๒๗ ปี ก่อนคริสต์ ศักราช โรมันได้ ยุติการปกครองในระบอบสาธารณรัฐ ่ และหันมาใช้ การปกครองแบบจักรวรรดิอย่ างเป็ นทางการ ออคเทเวียนได้ รับ สมญานามว่ า ออกุสตุส และสภาโรมันยกย่ องให้ เป็ นจักรพรรดิพระองค์ แรกของ จักรวรรดิโรมัน โรมันเจริญถึงขีดสู งสุ ดและสามารถขยายอํานาจและอิทธิพลไป ทัวทั้งทวีปยุโรป มีการสร้ างถนนทัวไปเพือสะดวกในการลําเลียงสิ นค้ าและทหาร ่ ่ ่ ตลอดจนส่ งเสริมศิลปวัฒนธรรมในแขนงต่ างๆในคริสต์ ศตวรรษที่ ๕ จักรวรรดิ โรมันอ่อนแอลงตามลําดับจนในทีสุดกรุงโรมถูกพวกอนารยชนเผ่ าเยอรมันหรือ ่ เผ่ ากอท เข้ าปล้นสะดมหลายครั้ง จักรพรรดิของโรมันองค์ สุดท้ ายถูกอนารยชน ขับออกจากบังลังก์ใน ค.ศ.๔๗๖ จึงถือกันว่ าปี ดังกล่าวเป็ นการสิ้นสุ ดของ จักรวรรดิโรมัน
  • 21. การปกครอง ระบบปกครอง ชาวโรมันได้สถาปนาการปกครองระบอบสาธารณรัฐขึ้นหลังจากรวม อํานาจในแหลมอิตาลีได้ สร้างความเป็ นปึ กแผ่นให้แก่ชาวโรมัน เพราะเป็ นระบอบที่ เปิ ดโอกาสให้พลเมืองโรมันทุกคนทุกชนชั้น มีส่วนร่ วมในการปกครอง ด้วยการ เลือกตั้งตัวแทนของกลุ่มตนเข้าไปบริ หารออกกฎหมาย กําหนดนโยบายต่างประเทศ และประกาศสงคราม โดยมีกงสุ ล (Consull) ซึ่ งมาจากการเลือกตั้งทําหน้าที่ ประมุขและบริ หาร
  • 22. การปกครอง การปกครองทุกด้ าน การมีส่วนร่ วมในการปกครองของพลเมือง โรมันทําให้ สาธารณรัฐโรมันแข็งแกร่ งมันคงและเจริญก้าวหน้ า ่ ต่ อมาเมือโรมันขยายอํานาจครอบครองดินแดนอืนๆอย่ าง ่ ่ รวดเร็ว จึงเปลียนระบอบปกครองเป็ นจักรวรรดิ มีจักรวรรดิเป็ น ่ ผู้มอานาจสู งสุ ด จักรวรรดิได้ แต่ งตั้งชาวโรมันปกครองอาณา ีํ นิคมต่ างๆ โดยตรง ทําให้ สามารถควบคุมดินแดนต่ างๆ และ ส่ งผลให้ จักรวรรดิโรมันมีอานาจยืนยาวหลายร้ อยปี ํ
  • 23. สถาปัตยกรรมโรมัน ทางด้านสถาปั ตยกรรมจะเน้นความใหญ่โต แข็งแรง ทนทาน การ ออกแบบภายในนิยมทําอย่างหรู หรา โรมันได้พฒนาเทคนิคในการ ั ออกแบบก่อสร้างของกรี กเป็ นประตูโค้ง และเปลี่ยนหลังคาแบบจัวเป็ นโดม ่ ซึ่งกลายเป็ นแบบอย่างในการก่อสร้างอาคารต่างๆในยุโรปสมัยกลาง
  • 24. โฟรัม(Forum) เป็ นย่านชุมนุมชน สถานที่ราชการ ตลาด คล้ายกันกับ อโกลา (agora)ของกรี ก โฟรัม ่ จะมีอยูในทุกๆเมืองมีลกษณะเป็ นลานกว้างแต่บางแห่งอาจจะมีหลังคา บริ เวณรอบๆจะ ั รายล้อมด้วย อาคาร สถานที่ราชการ วิหาร หอสมุด ที่มีชื่อเสี ยงคือโฟรัมของทราจัน (Forum of Trajan) เป็ นที่จาหน่ายผักผลไม้ เป็ นที่เก็บไวน์และนํ้ามัน เป็ นร้านค้า ํ เป็ นที่เก็บอาหารและทรัพย์สินและเป็ นถังเก็บนํ้าจากท่อส่ งนํ้าด้วย
  • 25. สะพานและท่อลําเลียงนํ้า สร้างขึ้นมาเพื่อบริ การนํ้าสะอาดให้แก่ชาวโรมัน จัดเป็ นสาธารณูปโภคอย่างหนึ่ง ที่รัฐต้องบริ การให้แก่ประชาชน ท่อลํา เลียงนํ้านี้จะนํานํ้าจากแม่น้ าหรื อลําธาร ํ ไหลเข้าสู่ ตวเมือง 12 แห่ง และมีท่อเล็กลําเลียงแยกจากท่อใหญ่อีกครั้งหนึ่ง ท่อ ั นํ้าส่ วนมากจะมีสะพานรองรับยกระดับให้สูง มิฉะนั้น นํ้าจะไหลออกหมด
  • 26. บาซิลิกา(Basilica) เป็ นชื่อเรี ยกอาคารขนาดใหญ่ซ่ ึ งใช้เป็ นศาลยุติธรรมและอาคารพาณิ ชย์ของรัฐ ที่มี ชื่อเสี ยงมากคือ บาซิลิกา อุลปิ อา(Basilica Ulpia)สร้างโดยจักรพรรดิทราจัน นามอุลปิ อามีที่มาจากสกุลของจักรพรรดิ์ สร้างติดกับโฟรัมทราจันหรื ออาจเป็ นส่ วน หนึ่งของโฟรัม ผังเป็ นสี่ เหลี่ยมผืนผ้าด้านกว้างทั้งสองทําเป็ นรู ปครึ่ งวงกลม หลังคารู ป จัว เสาแบบคอริ นเธียน บางครั้งที่แห่งนี้ใช้ทาพิธีสาคัญๆทางการเมืองและศาสนา ํ ํ ่ ปั จจุบนพังทลายไปมาก ั
  • 27. โรงละครและสนามกีฬา เป็ นสถานที่พกผ่อนชมกีฬา ชาวโรมันมีดวยกันหลายแห่งแห่งที่มีชื่อคือ Colosseum เริ่ มต้นสร้าง ั ้ ในสมัยราชวงศ์ฟราเวียน เป็ นโรงมหรสพรู ปวงกลมที่มีอฒจันทร์ ลอมรอบ สําหรับเกมกีฬาต่อสู ้และ ั ้ ความบันเทิงของสาธารณชน สถาปนิกได้ดดแปลงจากโรงละครกลางแจ้งของกรี กให้กลายมาเป็ น ั สนามกีฬา เพื่อใช้เป็ นสถานที่ต่อสู ้ของคนกับคนและคนกับสัตว์โดยเน้นการฆ่าฟันถึงตาย มีที่นง ั่ สําหรับคนดูได้ราว 50000 คนด้วยความที่เป็ นสนามกีฬาใหญ่จึงต้องคิดระบบระบายคนเข้าออกอย่าง รวดเร็ วโดยการทําช่องทางเข้าออก 80 ช่องรอบๆสนาม
  • 28. แมกซิมุส ใช้เป็ นที่พกผ่อนหย่อนใจของโรมันอีกแห่ง ส่ วนใหญ่ใช้แข่งม้า สร้างสมัยจู ั เลียส ซีซาร์ ต่อมาอ็อคตาเวียนได้บูรณะขึ้นใหม่ ในสมัยจักรพรรดิเวสปา เซียน ได้ตกแต่งให้งดงามขึ้นและปรับปรุ งเป็ นสนามแข่งรถบรรจุคนดูได้ 25000 คน
  • 29. วิหาร วิหารที่สาคัญในยุคจักรวรรดิตนคือวิหารแพนเธออน(Pantheon) สร้างขึ้นสมัย ํ ้ จักรพรรดิมาร์คุส วิบซานิอุส อะกริ บ ต่อมามีการสร้างใหม่ในสมัยจักรพรรดิฮาเดรี ยน วัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็ นเทวสถานของเทพเจ้าโรมัน 7 องค์หรื อเทพแห่งดาวในระบบ สุ ริยะ Apolloพระอาทิตย์ Diana พระจันทร์ Mars อังคาร Mercury พุธ Jupiter พฤหัส Venus ศุกร์ Saturn เสาร์
  • 30. โรงอาบนํ้าสาธารณะ โรงอาบนํ้าสาธารณะหรือเธอเม(Thermae or Bath) Thermae เป็ น สถานที่ที่ใช้สาหรับอาบนํ้ากับที่ออกกําลังกายในร่ มของชาวโรมัน ในบางครั้งอาจใช้ ํ เป็ นที่พบปะ ประชุม พูดคุย ถกกันในเรื่ องต่างๆของชนทุกเธอเมที่สาคัญเป็ นของ ํ จักรพรรดิคาราคาราจุคนได้ 1600 คน
  • 31. ประตูชัย ประตูชัย(Triumphal Arch)จัดเป็ น อนุสาวรี ยประเภทหนึ่ง สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลอง ์ ชัยชนะจากสงคราม สร้างโดยจักรพรรดินิยม สร้างคร่ อมถนนโดยทําเป็ นแท่งสี่ เหลี่ยม ตรง กลางทําเป็ นทางลอดและประตูโค้ง บริ เวณส่ วน หน้าและหลังประดับด้วยประติมากรรมและ ข้อความจารึ กเหตุการณ์หรื อวีรกรรมของผูสร้าง ้ ที่ได้ชยชนะจากสงคราม ประตูชยที่สาคัญๆ ั ั ํ ได้แก่ ประตูชยของติตุสในโรม เพื่อรําลึกชัยชนะ ั ของพระองค์ที่มีต่อพวกจูดาห์ ประตูชยของทรา ั จันที่เบเนเวนโต นับเป็ นประตูชยแห่งเดียวที่ ั ไม่ได้เน้นเรื่ องสงครามเหมือนประตูชยอื่นๆ ั
  • 32. ประติมากรรมของโรมัน โรมันนํารู ปแบบประติมากรรมมาจากกรี ก พัฒนาการสอดแทรก อุดมคติของโรมันเข้าไปด้วย เช่น ความเข็มแข็งแบบทหาร นิยมสร้างรู ป ทหารนักการเมือง แม่ทพ จูเลียส และบุคคลสําคัญ ๆ ลักษณะเข็มแข็งเป็ น ั ผูดี เสื้ อผ้ามีรอยย่นมาก ภาพและสลักของโรมันยังมีรูปวีนสเอสไควไลน์ ้ ั และบางส่ วนนํามาจากกรี ก อย่างภาพเลาคูนและบุตรถูกงูรัด เป็ นต้น
  • 33. ประติมากรรมของโรมัน จําแนกออกได้เป็ น 2 แบบ 1. นิยมทําภาพนูนสู งประดับอนุสาวรีย์หรือ บันทึกเหตุการณ์ ประวัตศาสตร์ ในยุคนั้น ิ ประดับตัวสถาปัตยกรรม -The Altar of Peace แท่นบูชาสันติภาพ สร้างโดยจักรพรรดิ ออกุสตุส เป็ นอนุสรณ์การลับ คืนสู่ โรมหลังจากการรบในต่างแดน ลักษณะเป็ น วิหารเล็กๆ รอบๆกําแพงทั้งภายนอกและภายในมี ประติมากรรมแบนประดับอยู่ แสดงเรื่ องราวของ ั จักรพรรดิกบข้าราชบริ พาร ประติมากรรมประดับ อนุสรณ์สถานอีกชิ้นคือภาพประดับประตูชยติตุส ทํา ั ขึ้นราว ค.ศ. 81 บนถนน เวีย สาครา ตัวประตูชยเป็ น ั แบบคอริ นเธี ยน ลักษณะทัวไปคล้ายการสร้าง ่ โคลอสเซี ยม ประติมากรรมเป็ นแบบนูนสู งแสดง เหตุการณ์ของติตุสที่ได้ชยชนะจากพวกยิว ั
  • 34. - เสาของทราจัน(The Column of Trajan) ในช่วงแรกของการครองราชย์ Trajan ไปรบกับเด เชี่ ยน Dacians พวกยุโรปตอนกลางทางตอนใต้ ของแม่น้ าดานูบ(ปัจุบนคือฮังการี และโรมาเนีย) ผู ้ ํ ั ชอบลอบจู่โจมจักรวรรดิโดยไม่รู้ตวอยูประจํา และได้ ั ่ ชัยถึง 2 ครั้ง ชัยชนะของเขาได้เฉลิมฉลองโดยใช้เสา แห่ งชัยชนะเป็นอนุสาวรี ยอยูในกรุ งโรม บริ เวณด้าน ์ ่ นอกมีประติมากรรมนูนตํ่าสลักจากหิ นอ่อนทําเป็น แถบคล้ายผ้าพันแผลหมุนเวียนจากซ้ายไปขวารอบเสา เหมือนเกลียวสว่าน แถบประติมากรรมนี้มีรูปลักษณะ ที่แบนและมีความต่อเนื่องกันไป ตัวประติมากรรม เป็นเรื่ องราวของจักรพรรดิทราจันทําสงครามกับพวก เดเชี่ ยน รู ปคนทั้งหมดมีประมาณ 2500 รู ปนอกจากนี้ ยังมีรูปรถ ม้า เรื อ และอาวุธต่างๆด้วย ประติมากรรม นี้ เด่นตรงการบรรยายเหตุการณ์ต่างๆด้วยรู ปสลัก ทั้งหมด ทั้งการสร้างป้ อม ค่ายต่างๆแต่ทุกตอนจะเน้น บุคคลสําคัญในภาพคือจักรพรรดิทราจัน
  • 35. 2. ทํารู ปเหมือนบุคคล ซึ่งนิยมมาตั้งแต่สมัยเป็ นสาธารณรัฐแล้ว มาถึงสมัยจักรวรรดินิยมก็ยงคง ั ่ นิยมอยูแต่ต่างกันบ้างในรายละเอียดคือสมัยสาธารณรัฐนิยมทําภาพเหมือน จริ งของบุคคลให้มีความเหมือนตามจริ งมากที่สุดแต่ในสมัยจักรวรรดินิยม ชอบให้แสดงออกถึงลักษณะอันสง่างาม เป็ นอุดมคติ โดยเฉพาะรู ปชน ชั้นสูงจะดูสง่างามราวเทพเจ้าของกรี ก เป็ นการผสมผสานระหว่างความ เหมือนจริ ง Realism กับความเป็ นอุดมคติ Idealism ส่ วนรู ป ประชาชนทัวไปก็ยงคงมีลกษณะแบบเหมือนจริ งเช่นเดิม ั ั ่
  • 36. รู ปคนเหมือนที่มีชื่อเสียงคือรู ปของจักรพรรดิออกุสตุส เวสปาเชี่ยนและฮาเดรี ยน อีกรู ปที่สําคัญ มากคือจักรพรรดิมาร์ คส ออเรลิอสทรงม้ า ที่สร้ างให้ จกรวรรดิโรมันรุ่ งโรจน์ สันนิษฐานว่าการ ุ ุ ั สร้ างรู ปแบบนี ้ได้ รับความนิยมจากจักรพรรดิทกองค์แต่เหตุที่เหลือเพียงจักรพรรดิออเรลิอสเพียง ุ ุ องค์เดียวอาจเนื่องจากถูกพวกคริ สต์เตียนซึงเรื องอํานาจขึ ้นในสมัยกลาง นํารู ปเหล่านี ้มาหลอม ่ เพราะเห็นว่าศิลปะโรมันเป็ นของพวกนอกศาสนา และยังเคยเป็ นศัตรู แก่พวกคริ สเตียนด้ วย จึง ทําลายรู ปต่างๆของโรมันโดยเฉพาะรู ปจักรพรรดิลงเกือบหมด และอาจเป็ นไปได้ วาเข้ าใจว่ารู ป ่ จักรพรรดิออเรลิอสคือรู ปจักรพรรดิคอนสแตนตินผู้ประกาศอิสรภาพในการนับถือศาสนาแก่คริ ส ุ เตียนและเป็ นจักรพรรดิเพียงองค์เดียวที่คริ สต์เตียนรัก ท่าทางของรู ปอยู่ในอากัปกิริยาของผู้ทรง ความกรุ ณา มือขวาที่ยกขึ ้นคล้ ายสันตะปาปากําลังประทานพร มีท่าทางราวกับพระเจ้ า ซึง ่ สอดคล้ องกับความเชื่อที่วาจักรพรรดิมีฐานะราวกับเทพองค์หนึง ทังจักรพรรดิองค์นี ้ได้ ชื่อว่าเป็ น ่ ่ ้ นักปราชญ์ มีสมาธิอนแกร่ งกล้ าและมีความเมตตาเหมือนนักบุญ ลักษณะดังกล่าวได้ แสดงออก ั ในงานประติมากรรมนี ้ รู ปออเรลิอสทรงม้ าก่อให้ เกิดแรงบันดาลใจแก่ศิลปิ นในยุคหลังๆเช่น ยุค ุ เรอเนซองที่นิยมสร้ างอนุสาวรี ย์รูปคนขี่ม้า และแพร่ หลายไปทัวโลก ่
  • 39. วิศวกรรม โรมันประสบความสํ าเร็จในการสร้ างถนน คอนกรีตที่มีความแข็งแรงทนทาน สองข้ าง ถนนมีท่อระบายนํ้าและมีหลักบอก ระยะทาง ถนนที่ยงใช้ มาถึงปัจจุบัน ได้ แก่ ั ถนนแอปเพียน(Appian Ways) ใน ประเทศอิตาลี นอกจากนียงสร้ างท่ อนํ้า ้ั หลายแห่ งเพือนํานํ้าจากภูเขาไปสู่ เมือง ่ ใกล้ เคียง ท่ อส่ งนํ้าที่ปัจจุบันยังใช้ อยู่ เช่ น ท่ อส่ งนํ้าที่เมืองนีมส์ ทางตอนใต้ ของ ประเทศฝรั่งเศส
  • 41. ปฏิทน ิ เดิมชาวโรมันใช้ปฏิทินจันทรคติ ปี หนึ่งมี 10 เดือน ภายหลังเพิ่มเป็ น 12 เดือน ็ั แต่กยงมีความคลาดเคลื่อนไปจากฤดูกาล จนกระทังเมื่อ 45 ปี ก่อนคริ สต์ศกราช ั ่ จูเลียส ซีซาร์ (Julius Caesar 100-44 ปี ก่อนคริ สต์ศกราช) ั นักประวัติศาสตร์และแม่ทพผูมีอานาจของโรมันให้ใช้ปฏิทินจูเลียนซึ่งเป็ นแบบ ั ้ ํ สุ ริยคติ ปี หนึ่งมี 12 เดือน แต่ละปี มี 365 วัน และให้เพิ่มวันในเดือนกุมภาพันธ์ ทุก 4 ปี ให้เป็ นปี ที่มี 366 วัน ปฏิทินจูเลียนใช้มานานถึง 1,600 ปี จึงมีการ ปรับปรุ งเป็ นปฏิทินเกรกอเรี ยนใน ค.ศ. 1582
  • 43. กฎหมาย โรมันมีกฎหมายมาตั้งแต่สมัยสาธารณรัฐ ในระยะแรกกฎหมายไม่ได้เขียนเป็ นลายลักษณ์ การบังคับใช้กฎหมายเป็ นไปตาม วินิจฉัยของผูพิพากษาซึ่งเป็ นกลุ่มชน ้ ชั้นสู ง ดังนั้นพวกสามัญชนจึงเรี ยกร้องให้ เขียนกฎหมายเป็ นลายลักษณ์ ซึ่งต่อมาได้ แกะสลักบนแผ่นไม้รวม 12 แผ่นเรี ยกว่า กฎหมายสิ บสองโต๊ะ (Twelve Tables)
  • 44. กฎหมาย ความโดดเด่ นของกฎหมายโรมันคือ ความทันสมัย เพราะมีการปรับปรุ ง แก้ ไขเพิมเติมให้ สอดคล้ องกับโครงสร้ างการปกครองที่เปลียนเป็ นระบอบ ่ ่ จักรวรรดิและสภาพแวดล้ อมของประชาชนในทุกส่ วนของจักรวรรดิ นอกจากนีตุลาการชาวโรมันยังมีส่วนทําให้ เกิดการยอมรับหลักการพืนฐาน ้ ้ ของกฎหมายว่ า ประชาชนทุกคนมีความเสมอภาคกันภายใต้ กฎหมาย ซึ่ง รวมถึงกระบวนการยุติธรรมทียดเป็ นแบบอย่ างปฏิบัติต่อมาถึงปัจจุบันคือ ่ึ ให้ สันนิษฐานว่ าผู้ต้องหาทุกคนเป็ นผู้บริสุทธิ์ไว้ ก่อน จนกว่ าจะมีหลักฐาน ยืนยันแน่ ชัดว่ ามีการกระทําความผิด
  • 45. กฎหมาย กฎหมายโรมันเป็ นมรดกทางอารยธรรมที่สําคัญ เพราะเป็ น พืนฐานของหลักกฎหมายของประเทศต่ างๆในทวีปยุโรป และ ้ ยังมีอทธิพลอย่ างมากต่ อกฎและข้ อบังคับของศาสนาคริสต์ ิ เพือใช้ บังคับให้ ชาวโรมันทุกคนปฎิบัติอยู่ในกรอบเดียวกันของ ่ กฎหมายและสั งคม
  • 47. ภาษา ภาษาละติน ชาวโรมันพัฒนาภาษาละตินจากตัวพยัญชนะในภาษากรี กที่พวก ั อีทรัสคันนํามาใช้ในแหลมอิตาลี ภาษาละตินมีพยัญชนะ 23 ตัว ใช้กนแพร่ หลาย ในมหาวิทยาลัยของยุโรปสมัยกลาง และเป็ นภาษาทางราชการของศาสนาคริ สต์ นิกายโรมันคาทอลิกมาจนถึงศตวรรษ 1960 นอกจากนี้ภาษาละตินยังเป็ นภาษา กฎหมายของประเทศในยุโรปตะวันตกนานหลายร้อยปี และเป็ นรากของภาษาใน ยุโรป ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน โปรตุเกส และโรมาเนีย ภาษาละตินยัง ถูกนําไปใช้เป็ นชื่อทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกับภาษากรี กด้วย
  • 48. รายชื่อผูจดทํา ้ั • ชนมน พรพินิจ ม.6.5 เลขที่ 5 • พรรณราย แก้วมะเรื อง ม.6.5 เลขที่ 29