SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  77
Télécharger pour lire hors ligne
Tanapat LimsaipromTanapat Limsaiprom
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
1STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
ความหมายของสถิติ
สถิติที่เป็นตัวเลข
สถิติที่เป็นศาสตร์
2STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
ประเภทของสถิติ
สถิติพรรณนา (descriptive statistics)
สถิติอนุมาน (inference statistics)
3STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
สถิติพรรณนา (descriptive statistics)
ร้อยละ (percentage)
การแจกแจงความถี่ (frequency)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (central of tendency)
ัการวัดการกระจาย (dispersion)
4STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
ร้อยละ (percentage)
ประเภทอาชีพ ความถี่ (คน) ร้อยละ
ราชการ 25 50
ค้าขาย 15 30
รับจ้าง 10 20
รวม 50 100รวม 50 100
5STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การแจกแจงความถี่ (frequency) ทางเดียว
ประเภทอาชีพ ความถี่ (คน)
ราชการ 25
ค้าขาย 15
รับจ้าง 10
รวม 50
6STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การแจกแจงความถี่ (frequency) สองทาง
เพศ/ความเห็น เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย รวม
ชาย 30 (75%) 10 (25%) 40 (100%)
หญิง 5 (20%) 20 (80%) 25 (100%)หญง 5 (20%) 20 (80%) 25 (100%)
รวม 35 (53 8%) 30 (46 2%) 65 (100%)รวม 35 (53.8%) 30 (46.2%) 65 (100%)
7STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การวัดแนวโน้มเข้าส่ส่วนกลาง (central ofการวดแนวโนมเขาสูสวนกลาง (central of
tendency)
ตัวกลางเลขคณิต (Arithmetic Mean)
ฐานนิยม (Mode)
ัมัธยฐาน (Median)
ควอไทล์ (Quartiles)ควอไทล (Quartiles)
เดไซล์ (Deciles)
เปอร์เซ็นไทล์ (Percentiles)
8STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
ตัวกลางเลขคณิต (Arithmetic Mean)
จํานวนที่1 จํานวนที่2 จํานวนที่3 จํานวนที่4 จํานวนที่5 ค่าเฉลี่ยจานวนท1 จานวนท2 จานวนท3 จานวนท4 จานวนท5 คาเฉลย
5 7 9 4 5 30/5 = 6
ื ่ ี่ ั ิ6 คือ ค่าเฉลียตัวกลางเลขคณิต
9STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
ฐานนิยม (Mode)
จํานวนที่1 จํานวนที่2 จํานวนที่3 จํานวนที่4 จํานวนที่5 จํานวนที่ซํ้า
ฐ
จานวนท1 จานวนท2 จานวนท3 จานวนท4 จานวนท5 จานวนทซา
มากที่สุด
5 7 9 4 5 5
ื ิ5 คือ ฐานนิยม
10STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
มัธยฐาน (Median)
จํานวนที่1 จํานวนที่2 จํานวนที่3 จํานวนที่4 จํานวนที่5 จํานวนที่อย่
ฐ
จานวนท1 จานวนท2 จานวนท3 จานวนท4 จานวนท5 จานวนทอยู
ตรงกลาง
5 7 9 4 5 5
4 5 5 7 9 5
ื ่
11
5 คือ ค่ามัธยฐาน
STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
ควอไทล์ (Quartiles)
Q1 Q2 Q3
1/4 2/4 3/4
มี Q1-Q3
12STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
เดไซล์ (Deciles)
D1 D5 D9
มี D1-D9
13STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
เปอร์เซ็นต์ไทล์ (Quartiles)
P25 P50 P75
มี P1-P99
14STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การวัดการกระจาย (dispersion)
พิสัย (range)
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation)
ค่าแปรปรวน (variance)
15STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
ิ ั ( )
จํานวนที่ ค่าที่วัดได้
พสย (range)
1 2
2 4
3 63 6
4 7
5 8
6 9
พิสัย คือ 9-2 = 7
16STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
่จํานวนที่ ค่าที่วัดได้ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation)
1 2 (2-6)2 = 16
4 22 4 (4-6)2 = 4
3 6 (6-6)2 = 03 (6 6) 0
4 7 (7-6)2 = 1
5 8 (8-6)2 = 4
6 9 (9-6)2 = 9
ค่าเฉลี่ย 2+4+6+7+8+9 = 36/6 = 6 16+4+0+1+4+9 = 34/6 (รากที่คาเฉลย 2+4+6+7+8+9 = 36/6 = 6 16+4+0+1+4+9 = 34/6 (รากท
สอง) = 2.6
17STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
จํานวนที่ ค่าที่วัดได้ ค่าแปรปรวน
ค่าแปรปรวน (variance)
1 2 (2-6)2 = 16
2 4 (4-6)2 = 4
3 6 (6-6)2 = 03 (6-6) = 0
4 7 (7-6)2 = 1
5 8 (8-6)2 = 4
6 9 (9-6)2 = 9
่ ี่ 2 4 6 7 8 9 36/6 6 16 4 0 1 4 9 34/6 ( ี่คาเฉลย 2+4+6+7+8+9 = 36/6 = 6 16+4+0+1+4+9 = 34/6 (รากท
สอง) = 2.62 = 6.8
18STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
สถิติอนุมาน (inference statistics)ุ
การอนุมานแบบมีพารามิเตอร์ (parametric inference)
การอนุมานแบบไม่มีพารามิเตอร์ (non-parametric inference)
19STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การอนุมานแบบมีพารามิเตอร์ (parametric inference)ุ
เป็นการนําค่าที่ได้จากตัวอย่าง (sample) ซึ่งเป็นค่าสถิติ
่(statistics) ไปอธิบายคุณลักษณะประชากร (population) ซึ่งเป็น
ค่า พารามิเตอร์ (parameter)คา พารามเตอร (parameter)
ดังนั้น การอนุมานแบบมีพารามิเตอร์ จึงเป็นการนําค่าสถิติที่
ได้ศึกษาจากบางส่วนของข้อมูลมาอธิบายลักษณะข้อมูล
เหมือนกับว่า ค่านั้นมาจากข้อมลทั้งหมดเหมอนกบวา คานนมาจากขอมูลทงหมด
20STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การอนมานแบบมีพารามิเตอร์การอนุมานแบบมพารามเตอร
(parametric inference)
คุณลักษณะประชากร
(population) ตัวอย่าง (sample)
การสุ่มตัวอย่าง (sampling)
นําผลมาอธิบายคุณลักษณะประชากร
21STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การอนุมานแบบมีพารามิเตอร์ (parametric inference)ุ
ค่าของประชากรควรมีการแจกแจงแบบปกติ (normal
distribution)
การเลือกตัวอย่าง ( li ) เป็นไปอย่างอิสระ และไม่มีความการเลอกตวอยาง (sampling) เปนไปอยางอสระ และไมมความ
เอนเอียง (unbiased)
ค่าของข้อมูลที่วัดได้ควรอยู่ในระดับช่วง (interval scale) หรือ
ร ดับอัตราส่วน ( i l )ระดบอตราสวน (ratio scale)
22STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การอนุมานแบบไม่มีพารามิเตอร์ (non-parametric inference)ุ p
เป็นวิธีการอนุมานข้อมูลจากตัวอย่างไปอธิบายลักษณะของ
่ ่ประชากร ในกรณีที่ข้อมูลไม่เป็นไปตามเงื่อนไขหรือข้อกําหนด
ตามวิธีการอนมานแบบพารามิเตอร์ เช่น ไม่ทราบค่าข้อมลของตามวธการอนุมานแบบพารามเตอร เชน ไมทราบคาขอมูลของ
ประชากร ไม่ทราบว่ามีการแจกแจงแบบใด และข้อมูลอยู่ใน
ั ั ั ิ ื ั ี ั ัระดับนามบัญญัติ (nominal scale) หรือระดับเรียงอันดับ
(ordinal scale) โดยเฉพาะกลุ่มตัวอย่างที่เลือกมามีขนาดเล็ก( ) ุ
23STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบค่าทางสถิติ
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับหนึ่งกลุ่มตัวอย่าง
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับสองกลุ่มตัวอย่าง
่ ั ่ ี่ ป็ ิ ักลุ่มตวอย่างทีเป็นอิสระจากกน
กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระจากกันุ
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับหลายกลุ่มตัวอย่าง
24STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับหนึ่งกล่มตัวอย่างการทดสอบคาเฉลยสาหรบหนงกลุมตวอยาง
(One Sample T- Test)
เป็นการทดสอบว่าค่าเฉลี่ยของประชากรหรือกลุ่มตัวอย่าง ทีค่าแตกต่างไปจาก
ค่าที่กําหนดไว้หรือไม่ ซึ่งอาจจะมีการทดสอบแบบสองทาง (Two‐Tail) คาทกาหนดไวหรอไม ซงอาจจะมการทดสอบแบบสองทาง (Two Tail) 
หรือการทดสอบแบบทางเดียว (One‐Tail)
การตั้งสมมติฐานฐ
H0 : เกรดเฉลี่ยของนักศึกษาเท่ากับ 2.50 หรือ H0 : μ = 2.50
H1 : เกรดเฉลี่ยของนักศึกษาไม่เท่ากับ 2.50 หรือ H1 : μ ≠ 2.50
สมมติว่า เกรดของนักศึกษา 10 คน มีดังนี้ 2.70 2.80 2.90 2.40 2.90 2.50 2.60
2.40 2.70 2.80
25STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
่ ี่ ํ ั ึ่ ่ ั ่การทดสอบค่าเฉลียสําหรับหนึงกลุ่มตัวอย่าง
(One Sample T‐ Test)( p )
26STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
่ ี่ ํ ั ึ่ ่ ั ่การทดสอบค่าเฉลียสําหรับหนึงกลุ่มตัวอย่าง
(One Sample T‐ Test)( p )
27STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
่ ี่ ํ ั ึ่ ่ ั ่การทดสอบค่าเฉลียสําหรับหนึงกลุ่มตัวอย่าง
(One Sample T‐ Test)( p )
28STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
่ ี่ ํ ั ึ่ ่ ั ่การทดสอบค่าเฉลียสําหรับหนึงกลุ่มตัวอย่าง
(One Sample T‐ Test)( p )
29STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
่ ี่ ํ ั ึ่ ่ ั ่การทดสอบค่าเฉลียสําหรับหนึงกลุ่มตัวอย่าง
(One Sample T- Test)( p )
One-Sample Statistics
10 2.6700 .18886 .05972เกรด
N Mean Std. Deviation
Std. Error
Mean
One-Sample Test
95% C fid
Test Value = 2.5
2.847 9 .019 .1700 .0349 .3051เกรด
t df Sig. (2-tailed)
Mean
Difference Lower Upper
95% Confidence
Interval of the
Difference
2.847 9 .019 .1700 .0349 .3051
30STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบคาเฉลยสาหรบสองกลุมตวอยาง
กล่มตัวอย่างที่เป็นอิสระจากกันกลุมตวอยางทเปนอสระจากกน
เป็นการทดสอบว่าค่าเฉลี่ยของประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่
ป็ ิ ั ี ่ ่ ั ื ไ ่ ึ่ ีเป็นอิสระจากกัน มีค่าแตกต่างกันหรือไม่ ซึงอาจจะมีการทดสอบแบบ
สองทาง (Two-Tail) หรือการทดสอบแบบทางเดียว (One-
T il)Tail)
การตั้งสมมติฐาน
H0 : อายุเฉลี่ยของนักศึกษาชายเท่ากับนักศึกษาหญิง หรือ H0 : μ1 = μ2
H1 : อายเฉลี่ยของนักศึกษาชายไม่เท่ากับนักศึกษาหญิง หรือ H1 : μ1 ≠ μ2H1 : อายุเฉลยของนกศกษาชายไมเทากบนกศกษาหญง หรอ H1 : μ1 ≠ μ2
สมมติว่า อายุของนักศึกษาชาย 5 คน มีดังนี้ 20 20 21 19 20 และ
นักศึกษาหญิงมีดังนี้ 21 20 23 24 22
31
นกศกษาหญงมดงน 21 20 23 24 22
STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบคาเฉลยสาหรบสองกลุมตวอยาง
กล่มตัวอย่างที่เป็นอิสระจากกันกลุมตวอยางทเปนอสระจากกน
32STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบคาเฉลยสาหรบสองกลุมตวอยาง
กล่มตัวอย่างที่เป็นอิสระจากกันกลุมตวอยางทเปนอสระจากกน
33STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบคาเฉลยสาหรบสองกลุมตวอยาง
กล่มตัวอย่างที่เป็นอิสระจากกันกลุมตวอยางทเปนอสระจากกน
34STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบคาเฉลยสาหรบสองกลุมตวอยาง
กล่มตัวอย่างที่เป็นอิสระจากกันกลุมตวอยางทเปนอสระจากกน
35STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบคาเฉลยสาหรบสองกลุมตวอยาง
กล่มตัวอย่างที่เป็นอิสระจากกันกลุมตวอยางทเปนอสระจากกน
Group Statistics
Std. Error
5 20.0000 .70711 .31623
5 22.0000 1.58114 .70711
เพศ
ชาย
หญิง
อายุ
N Mean Std. Deviation Mean
Independent Samples Test
Levene's Test for
Equality of Variances t-test for Equality of Means
3.200 .111 -2.582 8 .033 -2.0000 .77460 -3.78622 -.21378Equal variances assumed
Equal variances not
อายุ
F Sig.
Equality of Variances
t df Sig. (2-tailed)
Mean
Difference
Std. Error
Difference Lower Upper
95% Confidence
Interval of the
Difference
t test for Equality of Means
-2.582 5.538 .045 -2.0000 .77460 -3.93432 -.06568
Equal variances not
assumed
36STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบคาเฉลยสาหรบสองกลุมตวอยาง
กล่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระจากกันกลุมตวอยางทไมเปนอสระจากกน
ป็ ่ ่ ี่ ป ื ่ ั ่ ่ ี่ไ ่เป็นการทดสอบวาคาเฉลียของประชากรหรือกลุมตัวอยางสองกลุมทีไม
เป็นอิสระจากกัน มีค่าแตกต่างกันหรือไม่ ซึ่งอาจจะมีการทดสอบแบบ
(T T il) ื ี (Oสองทาง (Two-Tail) หรือการทดสอบแบบทางเดียว (One-
Tail)
้การตั้งสมมติฐาน
H0 : คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการฝึกอบรมเท่ากัน หรือ H0 : μ1 = μ20 0 μ1 μ2
H1 : คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการฝึกอบรมไม่เท่ากัน หรือ H1 : μ1 ≠ μ2
สมมติว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนการฝึกอบรมของผ้เข้าอบรม 10 คนมีดังนี้ 45สมมตวา คะแนนเฉลยกอนการฝกอบรมของผูเขาอบรม 10 คนมดงน 45
47 49 50 35 38 24 39 44 40 และคะแนนเฉลี่ยหลังการฝึกอบรมมีดังนี้
50 60 70 80 85 75 55 60 65 85
37
50 60 70 80 85 75 55 60 65 85
STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบคาเฉลยสาหรบสองกลุมตวอยาง
กล่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระจากกันกลุมตวอยางทไมเปนอสระจากกน
38STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบคาเฉลยสาหรบสองกลุมตวอยาง
กล่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระจากกันกลุมตวอยางทไมเปนอสระจากกน
39STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบคาเฉลยสาหรบสองกลุมตวอยาง
กล่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระจากกันกลุมตวอยางทไมเปนอสระจากกน
40STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับสองกลุ่มตัวอย่าง
่ ั ่ ี่ไ ่ ป็ ิ ักลุ่มตัวอย่างทีไม่เป็นอิสระจากกัน
P i d S l St ti tiPaired Samples Statistics
Mean N Std. Deviation
Std. Error
Mean
41.1000 10 7.78103 2.46058
68.5000 10 12.48332 3.94757
ก่อนอบรม
หลังอบรม
Pair 1
Paired Samples CorrelationsPaired Samples Correlations
10 .105 .774ก่อนอบรม & หลังอบรมPair 1
N Correlation Sig.
Paired Samples Test
95% C fid
Paired Differences
-27.4000 14.00159 4.42769 -37.4161 -17.3839 -6.188 9 .000ก่อนอบรม - หลังอบรมPair 1
Mean Std. Deviation
Std. Error
Mean Lower Upper
95% Confidence
Interval of the
Difference
t df Sig. (2-tailed)
41STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับหลายกลุ่มตัวอย่าง
ิ ์ ป ปการวิเคราะห์ความแปรปรวน
(One-Way Analysis of Variance)y y
เป็นการทดสอบค่าเฉลี่ยจากข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างหลาย ๆ กลุ่มตัวอย่าง
คือมากกว่าสองกล่มตัวอย่าง โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน โดยค่าสถิติ F-คอมากกวาสองกลุมตวอยาง โดยการวเคราะหความแปรปรวน โดยคาสถต F
test
การตั้งสมมติฐานฐ
H0 : ค่าเฉลี่ยความสูงของนักศึกษาแต่ละมหาวิทยาลัยไม่ต่างกัน หรือ
H0 : μ1 = μ2 = μ3 = μ4 … = μk
H1 : ค่าเฉลี่ยความสูงของนักศึกษาแต่ละมหาวิทยาลัยต่างกัน หรือ
H1 : μi ≠ μj (I ≠ j)
42STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับหลายกลุ่มตัวอย่าง
ิ ์ ป ปการวิเคราะห์ความแปรปรวน
(One-Way Analysis of Variance)y y
สมมติความสูงของนักศึกษา 4 มหาวิทยาลัยมีดังนี้
ิ ั A 156 160 161 163 165 164 145 146มหาวทยาลย A = 156 160 161 163 165 164 145 146
มหาวิทยาลัย B = 166 161 162 164 168 174 140 142
ิ ัมหาวิทยาลย C = 176 170 171 173 175 165 176 185
มหาวิทยาลัย D = 146 150 151 153 165 154 141 149
43STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับหลายกลุ่มตัวอย่าง
ิ ์ ป ปการวิเคราะห์ความแปรปรวน
(One-Way Analysis of Variance)y y
44STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับหลายกลุ่มตัวอย่าง
ิ ์ ป ปการวิเคราะห์ความแปรปรวน
(One-Way Analysis of Variance)y y
45STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับหลายกลุ่มตัวอย่าง
ิ ์ ป ปการวิเคราะห์ความแปรปรวน
(One-Way Analysis of Variance)y y
46STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับหลายกลุ่มตัวอย่าง
ิ ์ ป ปการวิเคราะห์ความแปรปรวน
(One-Way Analysis of Variance)y y
ANOVA
ความสูง
2212.344 3 737.448 10.055 .000
2053 625 28 73 344
Between Groups
Within Groups
Sum of
Squares df Mean Square F Sig.
2053.625 28 73.344
4265.969 31
Within Groups
Total
47STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับหลายกลุ่มตัวอย่าง
ิ ์ ป ปการวิเคราะห์ความแปรปรวน
(One-Way Analysis of Variance)y y
48
LSD = Least Significant Difference)
STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบค่าเฉลี่ยสําหรับหลายกลุ่มตัวอย่าง
ิ ์ ป ปการวิเคราะห์ความแปรปรวน
(One-Way Analysis of Variance)y y
Multiple Comparisons
Dependent Variable: ความสูง
LSD
Mean
Difference 95% Confidence Interval
-2.1250 4.28205 .624 -10.8964 6.6464
-16.3750* 4.28205 .001 -25.1464 -7.6036
6.3750 4.28205 .148 -2.3964 15.1464
2.1250 4.28205 .624 -6.6464 10.8964
14 2500* 4 28205 002 23 0214 5 4786
(J) มหาลัย
B
C
D
A
C
(I) มหาลัย
A
B
(I-J) Std. Error Sig. Lower Bound Upper Bound
-14.2500* 4.28205 .002 -23.0214 -5.4786
8.5000 4.28205 .057 -.2714 17.2714
16.3750* 4.28205 .001 7.6036 25.1464
14.2500* 4.28205 .002 5.4786 23.0214
22.7500* 4.28205 .000 13.9786 31.5214
-6 3750 4 28205 148 -15 1464 2 3964
C
D
A
B
D
A
C
D -6.3750 4.28205 .148 -15.1464 2.3964
-8.5000 4.28205 .057 -17.2714 .2714
-22.7500* 4.28205 .000 -31.5214 -13.9786
A
B
C
D
The mean difference is significant at the .05 level.*.
49STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐานสมมติฐาน เขตปฏิเสธสมมติฐาน H จากผล SPSS
ฐสมมตฐาน เขตปฏเสธสมมตฐาน H0 จากผล SPSS
ทดสอบ 2 ด้าน Sig. (2-tailed) < α
H0 : µ1 = µ2
H1 : µ1 ≠ µ2
ทดสอบด้านเดียว
H0 : µ1 ≤ µ2
Sig. (2-tailed) < α และ
2
H1 : µ1 > µ2
t > 0
ทดสอบด้านเดียว Si (2 t il d) < α และทดสอบดานเดยว
H0 : µ1 ≥ µ2
H1 : µ1 < µ2
Sig. (2-tailed) < α และ
2
H1 : µ1 < µ2
t < 0
50STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐานฐ
51STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐานฐ
52STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐานฐ
53STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐานฐ
54STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐานฐ
55STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐานฐ
56STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐานฐ
57STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐานฐ
แบบสองทาง (Two-tailed test)
Sig. 2-tailed < α
58STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐานฐ
แบบทางเดียว (One-tailed test)
Sig. 2-tailed < α
22
t > 0t. > 0
H0 1 ≤ 2H0 : µ1 ≤ µ2
H1 : µ1 > µ2
59STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐานฐ
แบบทางเดียว (One-tailed test)
Sig. 2-tailed < α
22
t < 0t. < 0
H0 : µ1 ≥ µ2
H1 : µ1 < µ2
60STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การหาความสัมพันธ์การหาความสมพนธ
(Relationships)
การหาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีค่าไม่ต่อเนื่อง
การหาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีค่าต่อเนื่อง
61STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การหาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีค่าไม่ต่อเนื่องู
เป็นการวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสองชุดหรือมากกว่าสองชุดขึ้น
ไป โดยจะดว่ามีความเกี่ยวข้องกันหรือไม่ การหาความสัมพันธ์ของข้อมลที่ไม่ไป โดยจะดูวามความเกยวของกนหรอไม การหาความสมพนธของขอมูลทไม
ต่อเนื่อง (discrete data) ดังกล่าว มักจะเป็นข้อมูลระดับบัญญัติ (Nominal Scale)
และระดับเรียงอันดับ (Ordinal Scale) ซึ่งการหาความสัมพันธ์จะใช้วิธีการแจงและระดบเรยงอนดบ (Ordinal Scale) ซงการหาความสมพนธจะใชวธการแจง
นับเป็นสําคัญ
การหาความสัมพันธ์สําหรับข้อมลที่มีค่าไม่ต่อเนื่องจะเรียกว่าเป็นการหาการหาความสมพนธสาหรบขอมูลทมคาไมตอเนองจะเรยกวาเปนการหา
Association
62STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การหาความสัมพันธ์ของข้อมลที่มีค่าไม่ต่อเนื่องการหาความสมพนธของขอมูลทมคาไมตอเนอง
(Association)
เป็นการหาความสัมพันธ์โดยใช้วิธีการแจงนับจํานวนข้อมูล
่ ่หรือความถี่ข้อมูล และนําเสนอในรูปของตารางแจกแจงความถี่
แบบสองทางแบบสองทาง
สําหรับการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวแปรนั้น นิยม
ใช้สถิติ ไค-สแควร์ (Chi-Squares: χ2)
63STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
สถิติ ไค-สแควร์ (Chi-Squares: χ2)χ
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อใช้ในการทดสอบสมมติฐานด้วยวิธี ไค-สแควร์ จะกระทํา
โดยการหาความแตกต่างระหว่าง ค่าสังเกต (Observed Value) กับค่าคาดหวังโดยการหาความแตกตางระหวาง คาสงเกต (Observed Value) กบคาคาดหวง
(Expected Value)
การตั้งสมมติฐาน มักจะเป็นการทดสอบความเป็นอิสระของตัวแปรทั้งสอง ว่ามีการตงสมมตฐาน มกจะเปนการทดสอบความเปนอสระของตวแปรทงสอง วาม
ความเป็นอิสระจากกันหรือไม่
H ตัวแปรต้นและตัวแปรตามเป็นอิสระต่อกัน (I d d t)H0: ตวแปรตนและตวแปรตามเปนอสระตอกน (Independent)
H1: ตัวแปรต้นและตัวแปรตามไม่เป็นอิสระต่อกัน (Dependent)
64STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
สถิติ ไค-สแควร์ (Chi-Squares: χ2)χ
ตัวอย่าง มีการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างระกับการศึกษากับความพึง
พอใจของกล่มตัวอย่างต่อการรับบริการของสถานพยาบาล โดยมีกล่มพอใจของกลุมตวอยางตอการรบบรการของสถานพยาบาล โดยมกลุม
ตัวอย่าง 21 ราย
ั้ ิ ป็ ิ ่ ั ึ ั ัการตังสมมติฐาน จะหาความเป็นอิสระระหว่างระดับการศึกษากับระดับ
ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง
H0: ระดับการศึกษาและความพึงพอใจในการรับบริการเป็นอิสระต่อกัน
H1: ระดับการศึกษาและความพึงพอใจในการรับบริการไม่เป็นอิสระต่อ1
กัน
65STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐาน ไค-สแควร์ฐ
66STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐาน ไค-สแควร์ฐ
67STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐาน ไค-สแควร์ฐ
68STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐาน ไค-สแควร์ฐ
69STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐาน ไค-สแควร์ฐ
70STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐาน ไค-สแควร์ฐ
71STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐาน ไค-สแควร์ฐ
Case Processing Summary
N P t N P t N P t
Valid Missing Total
Cases
21 100.0% 0 .0% 21 100.0%การศึกษา * ความพอใจ
N Percent N Percent N Percent
72STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐาน ไค-สแควร์ฐ
การศึกษา * ความพอใจ Crosstabulation
ใ
6 1 1 8
75.0% 12.5% 12.5% 100.0%
1 5 1 7
14 3% 71 4% 14 3% 100 0%
Count
% within การศึกษา
Count
% within การศึกษา
ประถม
มัธยม
การศึกษา
พอใจน ้อย พอใจปานกลาง พอใจมาก
ความพอใจ
Total
14.3% 71.4% 14.3% 100.0%
1 1 4 6
16.7% 16.7% 66.7% 100.0%
8 7 6 21
38.1% 33.3% 28.6% 100.0%
% within การศกษา
Count
% within การศึกษา
Count
% within การศึกษา
อุดมศึกษา
Total
73STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐาน ไค-สแควร์ฐ
Chi-Square Tests
13.485a 4 .009Pearson Chi-Square
Value df
Asymp. Sig.
(2-sided)
12.526 4 .014
6.396 1 .011
Likelihood Ratio
Linear-by-Linear
Association
21N of Valid Cases
9 cells (100.0%) have expected count less than 5.
The minimum expected count is 1.71.
a.
74STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การทดสอบสมมติฐาน ไค-สแควร์ฐ
สรุปว่า ค่าที่ได้จากการคํานวณได้เท่ากับ .009 ซึ่งน้อยกว่าค่าอัลฟ่าที่กําหนดไว้ 0.5
ทําให้ต้องปฏิเสธสมมติฐาน H ที่ระบว่า ระดับการศึกษาและความพึงพอใจในการทาใหตองปฏเสธสมมตฐาน H0 ทระบุวา ระดบการศกษาและความพงพอใจในการ
รับบริการเป็นอิสระต่อกัน และยอมรับสมมติฐาน H1 ที่ระบุว่า ระดับการศึกษา
และความพึงพอใจในการรับบริการไม่เป็นอิสระต่อกันและความพงพอใจในการรบบรการไมเปนอสระตอกน
75STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
การหาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีค่าต่อเนื่องู
เป็นการวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสองชุดหรือมากกว่าสองชุดขึ้น
ไป โดยจะดว่ามีความเกี่ยวข้องกันหรือไม่ การหาความสัมพันธ์ของข้อมลที่ไป โดยจะดูวามความเกยวของกนหรอไม การหาความสมพนธของขอมูลท
ต่อเนื่อง (Continuous data) ดังกล่าว มักจะเป็นข้อมูลระดับช่วง (Interval Scale)
และระดับอัตราส่วน (Ratio Scale) ซึ่งการหาความสัมพันธ์จะใช้วิธีการคํานวณและระดบอตราสวน (Ratio Scale) ซงการหาความสมพนธจะใชวธการคานวณ
เป็นสําคัญ
การหาความสัมพันธ์สําหรับข้อมลที่มีค่าต่อเนื่องจะเรียกว่าเป็นการหาการหาความสมพนธสาหรบขอมูลทมคาตอเนองจะเรยกวาเปนการหา
Correlation
76STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom
END
77STAT101-Module1 Tanapat Limsaiprom

Contenu connexe

Tendances

ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
สรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายสรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายKittepot
 
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551taem
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackTrauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackKrongdai Unhasuta
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมนWichai Likitponrak
 

Tendances (20)

ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
Cal 2
Cal 2Cal 2
Cal 2
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
สรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายสรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลาย
 
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
TAEM11: พระราชบัญญัติ (พ.วิทยา)2551
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
Add m3-1-chapter4
Add m3-1-chapter4Add m3-1-chapter4
Add m3-1-chapter4
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
Weather Radar_ppt_may60
Weather Radar_ppt_may60Weather Radar_ppt_may60
Weather Radar_ppt_may60
 
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast TrackTrauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
Trauma Care System and Role of Nurses in Trauma Fast Track
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 

Similaire à Stat101 Module 1 สถิติเบื้องต้น

Similaire à Stat101 Module 1 สถิติเบื้องต้น (6)

บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdf
 
s
ss
s
 
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผลStat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
 
สถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนาสถิติเชิงพรรณนา
สถิติเชิงพรรณนา
 
Spc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiSpc basic for training in thai
Spc basic for training in thai
 
บทที่6.pdf
บทที่6.pdfบทที่6.pdf
บทที่6.pdf
 

Plus de ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม

Plus de ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม (20)

Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdfTanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
Tanapat-AWS-Certifacate-6-10.pdf
 
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdfTanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
Tanapat-AWS-certificate-1-5.pdf
 
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaipromAWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
AWS Identity and access management , tanapat limsaiprom
 
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat LimsaipromAWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
AWS Technical Essential , Tanapat Limsaiprom
 
AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB AWS Amazon DynamoDB
AWS Amazon DynamoDB
 
Hr clinic2
Hr clinic2Hr clinic2
Hr clinic2
 
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
ฺBig Data 101Chapter 8 Module 2
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 
Mt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulizationMt60307 ch7-data visulization
Mt60307 ch7-data visulization
 
Chapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive AnalyticsChapter 6 predictive Analytics
Chapter 6 predictive Analytics
 
Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4Ch4 e retailing strategy v62-a4
Ch4 e retailing strategy v62-a4
 
Chapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statisticChapter5 descriptive statistic
Chapter5 descriptive statistic
 
Ch2 bi gdata
Ch2 bi gdataCh2 bi gdata
Ch2 bi gdata
 
Chapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data ManagementChapter 2 : Data Management
Chapter 2 : Data Management
 
Ch1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation conceptCh1 Business Information foundation concept
Ch1 Business Information foundation concept
 
Chapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailingChapter2 e-retailing
Chapter2 e-retailing
 
Chapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 PeoplewareChapter2 module 4 Peopleware
Chapter2 module 4 Peopleware
 
Chapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 HardwareChapter 2 Module 2 Hardware
Chapter 2 Module 2 Hardware
 
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 febChapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
 
Tv Rating
Tv RatingTv Rating
Tv Rating
 

Stat101 Module 1 สถิติเบื้องต้น