SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
บาลีเสริม ๑๑
                         หลักสัมพันธ์ไทย

 บรรยาย โดย พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร
น.ธ.เอก, ป.ธ. ๘. พธ.บ. (อังกฤษ), พธ.ม. (บาลี),
           พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
บทที่ ๑
                      ชือ สัม พัน ธ์
                        ่


                คุณนาม

แปลว่า ผู้ ตัว อัน เรียกว่า วิเสสนะ
นามนามและสัพพนาม

           ปฐมาวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง

•๑.​เป็นประธานในประโยคกัตตุวาจก เรียกว่า สยกัตตา
•๒. เป็น ปธ. ใน ปย. เหตุกัตตุวาจก เรียกว่า เหตุกัตตา
•๓. เป็น ปธ. ใน ปย. กัมม. หรือ เหตุกัมม. ,, วุตตกัมมะ
•๔. เป็น ปธ. ใน ปย. กิริยาปธานนัย (ตฺวา ปัจจัยคุมพากย์
เรียกว่า ปกติกัตตา
•๕. เป็น ปธ. ใน ปย. ที่ไม่มกิริยาคุมพากย์ เรียกว่า ลิงคัตถะ
                            ี
•๖. เป็น ปธ. ใน ปย. เปรียบเทียบ (ควบด้วย วิย, อิว, ยถา
ศัพท์) เรียกว่า อุปมาลิงคัตถะ
ทุตยาวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับกิริยา
        ิ


• ๑. แปลว่า   ซึ่ง เรียกว่า อวุตตกัมมะ
• ๒. แปลว่า   สู่    เรียกว่า สัมปาปุณิยกัมมะ
• ๓.​แปลว่า   ยัง        ,,        การิตกัมมะ
• ๔. แปลว่า   สิน, ตลอด
                  ้                อัจจันต
  สังโยคะ
• ๕. แปลว่า   กะ         ,,        อกถิตกัมมะ
• ๖. แปลไม่ออกสำาเนียงอายตนิบาต กิริยาวิเสสนะ
ตติยาวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง


•   ๑. แปลว่า      ด้วย           เรียกว่า    กรณะ
•   ๒. แปลว่า โดย, ตาม, ทาง, ข้าง          ตติยาวิเสสนะ
•   ๓.​แปลว่า      อัน        เรียกว่า      อนภิหิตกัตตา
•   ๔. แปลว่า      เพราะ          ,,       เหตุ
•   ๕. แปลว่า      มี (เข้ากับนาม),
•                   ด้วยทัง (เข้ากับกิริยา) อิตถัมภูตะ
                           ้
•   ๖. แปลว่า ด้วย (เข้ากับ สห หรือ สทฺธึ สหัตถตติยา
จตุตถีวิภัตติใช้ในอรรถอย่างเดียว เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง



• แปลว่า แก่, เพื่อ, ต่อ, แด่ เรียกว่า สัมปาทานะ
ปัญจมีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง



• ๑. แปลว่า        แต่, จาก, กว่า เรียกว่า อปาทา
  นะ
• ๒. แปลว่า        เหตุ, เพราะ        เรียกว่า เหตุ
ฉัฏฐีวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับนาม


• ๑. แปลว่า แห่ง, ของ เนืองด้วยเป็นเจ้าของ เรียก
                         ่
  ว่า สามีสัมพันธะ
• ๒. แปลว่า แห่ง, ของ เข้ากับภาวศัพท์ และศัพท์
  ที่แปลว่า ความ, การ, อัน ,, ภาวาทิสัมพันธะ
• ๓. แปลว่า แห่ง เนืองในหมู่ ,, สมุหสัมพันธะ
                     ่
• ๔. แปลว่า แห่ง... หนา (ประโยคถอน)
• เรียกว่า นิทธารณะ (มี นิทธารณียะ มารับ)
ฉัฏฐีวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับนาม (ต่อ)


• ๕ แปลว่า เมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก
  เรียกว่า อนาทร
• ๖. แปลว่า ซึ่ง เข้ากับนามกิตก์ (ณวุ ตุ ยุ) เรียก
  ว่า ฉัฏฐีกัมมะ
สัตตมีวิภัตติใช้ในอรรถ ๑๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง



• ๑. แปลว่า ใน เป็นที่กำาบัง, เป็นที่ปกปิด เรียก
  ว่า ปฏิจฉันนาธาระ
• ๒. แปลว่า ใน เป็นที่ซึมซาบ เรียกว่า
• พฺยาปิกาธาระ
• ๓. แปลว่า ใน เป็นที่อยู่อาศัย เรียกว่า
• วิสยาธาระ
• ๔. แปลว่า ใน เข้ากับกิริยา ไม่ลงในอรรถไหน
  เรียกว่า อาธาระ
• ๕. แปลว่า ใน เข้ากับนาม ไม่ลงในอรรถไหน
   เรียกว่า ภินนาธาระ
• ๖. แปลว่า ใน, ณ เกี่ยวกับกาลเวลา เรียกว่า
  กาลสัตตมี
• ๗. แปลว่า ใกล้, ณ เป็นที่ใกล้เคียง เรียกว่า
  สมีปาธาระ
• ๘. แปลว่า ในเพราะ          เรียกว่า
• นิมิตตสัตตมี
• ๙. แปลว่า ครั้นเมือ เป็นประธานในประโยค
                      ่
  แทรก เรียกว่า ลักขณะ
• ๑๐. แปลว่า เหนือ, บน ที่ เป็นที่รองรับไว้
• เรียกว่า อุปสิเลสิกาธาระ
• ๑๑. แปลว่า ใน...หนา (ประโยคถอน)
• เรียกว่า นิทธารณะ
• ๑๒. แปลว่า อันว่า (อ.) ลงในอรรถปฐมาวิภัตติ
  เป็นประธาน เรียกว่า สัตตมีปจัจัตตสยกัตตา
อาลปนะ

  อาลปนะ
  สัมพันธ์แล้วปล่อย

  แปลว่า แนะ, ดูกอน, ข้าแต่, ข้าแด่
                 ่
  เรียกว่า อาลปนะ




  หมายเหตุ. ถ้าอาลปนนาม มาคู่กับ
  อาลปนนิบาต ให้สัมพันธ์อาลปน
  นิบาต เป็น วิเสสนะของ อาลปนนาม
  เช่น อาวุโส โมคฺคลฺลาน
        ดูก่อนโมคคัลลานะ ผู้มอายุ
                             ี
  สัมพันธ์ อาวุโส วิเสสนะ ของ โมคฺคลฺ
  ลาน ๆ อาลปนะ
วิเสสนะ เข้ากับนามนามบ้าง สัพพนามบ้าง


• ๑. คุณนาม       เรียกว่า   วิเสสนะ
• ๒. วิเสสนสัพพนาม ,,        วิเสสนะ
• ๓. นามกิตก์ทเป็นคุณนาม วิเสสนะ
               ี่
• ๔. อนฺต และ มาน ปัจจัย อยู่หน้าตัวประธาน หรือ
  ประกอบด้วยวิภัตติอน จากปฐมาวิภัตติ จะอยู่หน้า
                      ื่
  หรือหลังตัวประธานก็ตาม เรียกว่า
• วิเสสนะ
• ๕. ต อนีย และ ตพฺพ ปัจจัย ที่ไม่ได้เป็นกิริยาคุม
  พากย์ หรือ วิกติกัตตา เรียกว่า วิเสสนะ
วิเสสนะ (ต่อ)


• ๖. ตูนาทิปจจัย แปลไม่ออกสำาเนียงปัจจัย หลัง
            ั
  นาม เรียกว่า วิเสสนะ
• ๗. สมาสคุณนามและตัทธิตคุณนาม เรียกว่า
• วิเสสนะ
ประธานพิเศษไม่แจกวิภัตตินาม


• ๑. ตถา อ. เหมือนอย่างนัน เรียกว่า ลิงคัตถะ
                            ้
• ๒. เอวำ อ. อย่างนั้น        ,, สัจจวาจกลิงคัต
  ถะ
• ๓. อลำ อ. อย่าเลย ,, ปฏิเสธลิงคัตถะ
• ๔. อลำ อ. พอละ      ,, ลิงคัตถะ
• ๕.​ อชฺช อ. วันนี้ ,, สัตตมีปัจจัตตสยกัตตา
• ๖. อิทานิ อ. กาลนี้ ,, สัตตมีปัจจัตตสยกัตตา
• ๗. ตทา อ. กาลนั้น ,, สัตตมีปจจัตตสยกัตตา
                                    ั
ประธานพิเศษไม่แจกวิภัตตินาม


• ๘.​สาธุ อ. ดีละ       เรียกว่า ลิงคัตถะ
• ๙. ตุำ ปัจจัย ใช้เป็นประธาน ตุมัตถกัตตา
กิรยาคุมพากย์
                    ิ


• กิริยาคุมพากย์ ได้แก่ กิริยาดังต่อไปนี้
• ๑. กิริยาอาขยาต เรียกว่า อาขฺยาตบท
  – กัตตุวาจก เช่น ปจติ       ,,   อาขยาตบท
    กัตตุวาจก
  – กัมมวาจก เช่น ปจิยเต     ,, อาขยาตบท กัมม
    วาจก
  – ภาววาจก เช่น ภูยเต         ,, อาขยาตบท ภาว
    วาจก
  – เหตุกัตตุวาจก เช่น ปาเจติ ,,
  –                                   อาขยาตบท
    เหตุกัตตุวาจก
กิรยาคุมพากย์
                    ิ


• ๒. นามกิตก์ ได้แก่ ณฺย ปัจจัย ใช้คมพากย์
                                      ุ
  เช่น คารยฺหา เรียกว่า กิตบท กมฺมวาจก
• ๓. กิริยากิตก์ ได้แก่ ต อนีย ตพฺพ ปัจจัยใช้คม
                                              ุ
  พากย์ เรียกว่า กิตบท
  – กัตตุวาจก เช่น ปวิฏโฐ เรียกว่า กิตบท
                       ฺ
    กัตตุวาจก
  – กัมมวาจก เช่น อธิคโต      ,, กิตบท กัมม
    วาจก
  – ภาววาจก เช่น ภวิตพฺพํ     ,, กิตบท ภาว
    วาจก
  – เหตุกัตตุวาจก เช่น ตารยนฺโต ,,
กิรยาคุมพากย์
                   ิ


– เหตุกัมมวาจก เช่น ปติฏฐาปิโต เรียกว่า
                         ฺ
–                  กิตบท เหตุกัมมวาจก
๔ . ตฺวา ปัจจัย คุมพากย์ เรียกว่า กิริยาปธานนัย
๕.​สกฺกา และ อลํ ใช้คุมพากย์ เรียกว่า กิริยาบท
  ภาววาจก บ้าง กิริยาบท กัมมวาจก บ้าง
๖. อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยฉัฏฐีวิภตติเป็น
                                           ั
  กิริยาของประโยคอนาทร เรียกว่า อนาทรกิริยา
๗.​อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยสัตตมีวิภตติเป็น
                                             ั
  กิริยาของประโยคลักขณะ เรียกว่า ลักขณกิริยา
กิรยาคุมพากย์
                   ิ


• หมายเหตุ. ณฺย ต อนีย ตพฺพ ปัจจัย และ สักกา
  ใช้คมพากย์ได้เมื่อตัวประธานเป็นประถมบุรุษ
       ุ
  เท่าน้ััน ถ้าตัวประธานเป็นมัธยมบุรุษหรืออุต
  ตมบุรุษ ให้แปล ณฺย ต อนีย ตพฺพ ปัจจัย หรือ
  สกฺกา เป็นวิกติกัตตา ในกิริยาอาขยาต
กิริยาในระหว่าง


• กิริยาในระหว่าง ได้แก่ กิริยาดังต่อไปนี้
• ๑. อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยปฐมา
  วิภัตติ อยู่หลังตัวประธาน เรียกว่า
• อัพภันตรกิริยา
• ๒. ตูน ตฺวา ตฺวาน ปัจจัย ที่เรียกว่า ตูนาทิปั
  จจัย แปลว่า แล้ว แปลหลังลําดับกิริยา เรียก
  ว่า ปุพพกาลกิริยา
• แปลว่า แล้ว แปลหลังกิริยาคุมพากย์ เรียกว่า
  อปรกาลกิริยา
กิริยาในระหว่าง


• แปลว่า เพราะ แปลหลังกิริยาคุมพากย์ เรียก
  ว่า เหตุ
• แปลไม่ออกสําเนียงปัจจัย ตามลําดับกิริยา
  เรียกว่า สมานกาลกิริยา
• แปลไม่ออกสําเนียงปัจจัย หลังกิริยา เรียกว่า
  กิริยาวิเสสนะ
• แปลว่า ครั้น...แล้ว เรียกว่า
• ปริโยสานกาลกิริยา

Contenu connexe

Tendances

ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์Tongsamut vorasan
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)Tongsamut vorasan
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์Prasit Koeiklang
 

Tendances (20)

บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ดบทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติหลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
 
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
1 14+ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์+(สำหรับเปรียญธรรมตรี)
 
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
 
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 

En vedette

Three dangerous sins
Three dangerous sinsThree dangerous sins
Three dangerous sinsAdrian Buban
 
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01Pierre Ringborg
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การเลือกซื้อกล้องวงจรปิด
การเลือกซื้อกล้องวงจรปิดการเลือกซื้อกล้องวงจรปิด
การเลือกซื้อกล้องวงจรปิดAvtech Thai
 
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 Randublatung
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 RandublatungHasil Sementara PPDB SMAN 1 Randublatung
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 RandublatungRaden Asmoro
 
Don’t ever compromise
Don’t ever compromiseDon’t ever compromise
Don’t ever compromiseAdrian Buban
 
Global issue 2012 2013
Global issue 2012 2013Global issue 2012 2013
Global issue 2012 2013William GOURG
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Let your light shine
Let your light shineLet your light shine
Let your light shineAdrian Buban
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Three dangerous sins part 2
Three dangerous sins   part 2Three dangerous sins   part 2
Three dangerous sins part 2Adrian Buban
 
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016) Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016) William GOURG
 

En vedette (20)

Modelo tutela
Modelo tutelaModelo tutela
Modelo tutela
 
Three dangerous sins
Three dangerous sinsThree dangerous sins
Three dangerous sins
 
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
 
Death msg
Death msgDeath msg
Death msg
 
A wise builder
A wise builderA wise builder
A wise builder
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
 
การเลือกซื้อกล้องวงจรปิด
การเลือกซื้อกล้องวงจรปิดการเลือกซื้อกล้องวงจรปิด
การเลือกซื้อกล้องวงจรปิด
 
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 Randublatung
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 RandublatungHasil Sementara PPDB SMAN 1 Randublatung
Hasil Sementara PPDB SMAN 1 Randublatung
 
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ดบทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
 
Don’t ever compromise
Don’t ever compromiseDon’t ever compromise
Don’t ever compromise
 
Global issue 2012 2013
Global issue 2012 2013Global issue 2012 2013
Global issue 2012 2013
 
Eresloquecomes
EresloquecomesEresloquecomes
Eresloquecomes
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
 
Let your light shine
Let your light shineLet your light shine
Let your light shine
 
He was abandon
He was abandonHe was abandon
He was abandon
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
Three dangerous sins part 2
Three dangerous sins   part 2Three dangerous sins   part 2
Three dangerous sins part 2
 
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016) Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
 
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
 

Similaire à บาลีเสริม ๑๑

การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงSatheinna Khetmanedaja
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80Rose Banioki
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Wataustin Austin
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์Tongsamut vorasan
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘Tongsamut vorasan
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)Prasit Koeiklang
 

Similaire à บาลีเสริม ๑๑ (20)

บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด ๓
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
หลักการเรียงบทกิริยา
หลักการเรียงบทกิริยาหลักการเรียงบทกิริยา
หลักการเรียงบทกิริยา
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 
หลักการเรียงบทวิกติกัตตา
หลักการเรียงบทวิกติกัตตาหลักการเรียงบทวิกติกัตตา
หลักการเรียงบทวิกติกัตตา
 
หลักการเรียงบทวิเสสนะ
หลักการเรียงบทวิเสสนะหลักการเรียงบทวิเสสนะ
หลักการเรียงบทวิเสสนะ
 
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการหลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 

Plus de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Plus de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 

บาลีเสริม ๑๑

  • 1. บาลีเสริม ๑๑ หลักสัมพันธ์ไทย บรรยาย โดย พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร น.ธ.เอก, ป.ธ. ๘. พธ.บ. (อังกฤษ), พธ.ม. (บาลี), พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
  • 2. บทที่ ๑ ชือ สัม พัน ธ์ ่ คุณนาม แปลว่า ผู้ ตัว อัน เรียกว่า วิเสสนะ
  • 3. นามนามและสัพพนาม ปฐมาวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง •๑.​เป็นประธานในประโยคกัตตุวาจก เรียกว่า สยกัตตา •๒. เป็น ปธ. ใน ปย. เหตุกัตตุวาจก เรียกว่า เหตุกัตตา •๓. เป็น ปธ. ใน ปย. กัมม. หรือ เหตุกัมม. ,, วุตตกัมมะ •๔. เป็น ปธ. ใน ปย. กิริยาปธานนัย (ตฺวา ปัจจัยคุมพากย์ เรียกว่า ปกติกัตตา •๕. เป็น ปธ. ใน ปย. ที่ไม่มกิริยาคุมพากย์ เรียกว่า ลิงคัตถะ ี •๖. เป็น ปธ. ใน ปย. เปรียบเทียบ (ควบด้วย วิย, อิว, ยถา ศัพท์) เรียกว่า อุปมาลิงคัตถะ
  • 4. ทุตยาวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับกิริยา ิ • ๑. แปลว่า ซึ่ง เรียกว่า อวุตตกัมมะ • ๒. แปลว่า สู่ เรียกว่า สัมปาปุณิยกัมมะ • ๓.​แปลว่า ยัง ,, การิตกัมมะ • ๔. แปลว่า สิน, ตลอด ้ อัจจันต สังโยคะ • ๕. แปลว่า กะ ,, อกถิตกัมมะ • ๖. แปลไม่ออกสำาเนียงอายตนิบาต กิริยาวิเสสนะ
  • 5. ตติยาวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง • ๑. แปลว่า ด้วย เรียกว่า กรณะ • ๒. แปลว่า โดย, ตาม, ทาง, ข้าง ตติยาวิเสสนะ • ๓.​แปลว่า อัน เรียกว่า อนภิหิตกัตตา • ๔. แปลว่า เพราะ ,, เหตุ • ๕. แปลว่า มี (เข้ากับนาม), • ด้วยทัง (เข้ากับกิริยา) อิตถัมภูตะ ้ • ๖. แปลว่า ด้วย (เข้ากับ สห หรือ สทฺธึ สหัตถตติยา
  • 6. จตุตถีวิภัตติใช้ในอรรถอย่างเดียว เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง • แปลว่า แก่, เพื่อ, ต่อ, แด่ เรียกว่า สัมปาทานะ
  • 7. ปัญจมีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง • ๑. แปลว่า แต่, จาก, กว่า เรียกว่า อปาทา นะ • ๒. แปลว่า เหตุ, เพราะ เรียกว่า เหตุ
  • 8. ฉัฏฐีวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับนาม • ๑. แปลว่า แห่ง, ของ เนืองด้วยเป็นเจ้าของ เรียก ่ ว่า สามีสัมพันธะ • ๒. แปลว่า แห่ง, ของ เข้ากับภาวศัพท์ และศัพท์ ที่แปลว่า ความ, การ, อัน ,, ภาวาทิสัมพันธะ • ๓. แปลว่า แห่ง เนืองในหมู่ ,, สมุหสัมพันธะ ่ • ๔. แปลว่า แห่ง... หนา (ประโยคถอน) • เรียกว่า นิทธารณะ (มี นิทธารณียะ มารับ)
  • 9. ฉัฏฐีวิภัตติใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับนาม (ต่อ) • ๕ แปลว่า เมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก เรียกว่า อนาทร • ๖. แปลว่า ซึ่ง เข้ากับนามกิตก์ (ณวุ ตุ ยุ) เรียก ว่า ฉัฏฐีกัมมะ
  • 10. สัตตมีวิภัตติใช้ในอรรถ ๑๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง • ๑. แปลว่า ใน เป็นที่กำาบัง, เป็นที่ปกปิด เรียก ว่า ปฏิจฉันนาธาระ • ๒. แปลว่า ใน เป็นที่ซึมซาบ เรียกว่า • พฺยาปิกาธาระ • ๓. แปลว่า ใน เป็นที่อยู่อาศัย เรียกว่า • วิสยาธาระ • ๔. แปลว่า ใน เข้ากับกิริยา ไม่ลงในอรรถไหน เรียกว่า อาธาระ
  • 11. • ๕. แปลว่า ใน เข้ากับนาม ไม่ลงในอรรถไหน เรียกว่า ภินนาธาระ • ๖. แปลว่า ใน, ณ เกี่ยวกับกาลเวลา เรียกว่า กาลสัตตมี • ๗. แปลว่า ใกล้, ณ เป็นที่ใกล้เคียง เรียกว่า สมีปาธาระ • ๘. แปลว่า ในเพราะ เรียกว่า • นิมิตตสัตตมี
  • 12. • ๙. แปลว่า ครั้นเมือ เป็นประธานในประโยค ่ แทรก เรียกว่า ลักขณะ • ๑๐. แปลว่า เหนือ, บน ที่ เป็นที่รองรับไว้ • เรียกว่า อุปสิเลสิกาธาระ • ๑๑. แปลว่า ใน...หนา (ประโยคถอน) • เรียกว่า นิทธารณะ • ๑๒. แปลว่า อันว่า (อ.) ลงในอรรถปฐมาวิภัตติ เป็นประธาน เรียกว่า สัตตมีปจัจัตตสยกัตตา
  • 13. อาลปนะ อาลปนะ สัมพันธ์แล้วปล่อย แปลว่า แนะ, ดูกอน, ข้าแต่, ข้าแด่ ่ เรียกว่า อาลปนะ หมายเหตุ. ถ้าอาลปนนาม มาคู่กับ อาลปนนิบาต ให้สัมพันธ์อาลปน นิบาต เป็น วิเสสนะของ อาลปนนาม เช่น อาวุโส โมคฺคลฺลาน ดูก่อนโมคคัลลานะ ผู้มอายุ ี สัมพันธ์ อาวุโส วิเสสนะ ของ โมคฺคลฺ ลาน ๆ อาลปนะ
  • 14. วิเสสนะ เข้ากับนามนามบ้าง สัพพนามบ้าง • ๑. คุณนาม เรียกว่า วิเสสนะ • ๒. วิเสสนสัพพนาม ,, วิเสสนะ • ๓. นามกิตก์ทเป็นคุณนาม วิเสสนะ ี่ • ๔. อนฺต และ มาน ปัจจัย อยู่หน้าตัวประธาน หรือ ประกอบด้วยวิภัตติอน จากปฐมาวิภัตติ จะอยู่หน้า ื่ หรือหลังตัวประธานก็ตาม เรียกว่า • วิเสสนะ • ๕. ต อนีย และ ตพฺพ ปัจจัย ที่ไม่ได้เป็นกิริยาคุม พากย์ หรือ วิกติกัตตา เรียกว่า วิเสสนะ
  • 15. วิเสสนะ (ต่อ) • ๖. ตูนาทิปจจัย แปลไม่ออกสำาเนียงปัจจัย หลัง ั นาม เรียกว่า วิเสสนะ • ๗. สมาสคุณนามและตัทธิตคุณนาม เรียกว่า • วิเสสนะ
  • 16. ประธานพิเศษไม่แจกวิภัตตินาม • ๑. ตถา อ. เหมือนอย่างนัน เรียกว่า ลิงคัตถะ ้ • ๒. เอวำ อ. อย่างนั้น ,, สัจจวาจกลิงคัต ถะ • ๓. อลำ อ. อย่าเลย ,, ปฏิเสธลิงคัตถะ • ๔. อลำ อ. พอละ ,, ลิงคัตถะ • ๕.​ อชฺช อ. วันนี้ ,, สัตตมีปัจจัตตสยกัตตา • ๖. อิทานิ อ. กาลนี้ ,, สัตตมีปัจจัตตสยกัตตา • ๗. ตทา อ. กาลนั้น ,, สัตตมีปจจัตตสยกัตตา ั
  • 17. ประธานพิเศษไม่แจกวิภัตตินาม • ๘.​สาธุ อ. ดีละ เรียกว่า ลิงคัตถะ • ๙. ตุำ ปัจจัย ใช้เป็นประธาน ตุมัตถกัตตา
  • 18. กิรยาคุมพากย์ ิ • กิริยาคุมพากย์ ได้แก่ กิริยาดังต่อไปนี้ • ๑. กิริยาอาขยาต เรียกว่า อาขฺยาตบท – กัตตุวาจก เช่น ปจติ ,, อาขยาตบท กัตตุวาจก – กัมมวาจก เช่น ปจิยเต ,, อาขยาตบท กัมม วาจก – ภาววาจก เช่น ภูยเต ,, อาขยาตบท ภาว วาจก – เหตุกัตตุวาจก เช่น ปาเจติ ,, – อาขยาตบท เหตุกัตตุวาจก
  • 19. กิรยาคุมพากย์ ิ • ๒. นามกิตก์ ได้แก่ ณฺย ปัจจัย ใช้คมพากย์ ุ เช่น คารยฺหา เรียกว่า กิตบท กมฺมวาจก • ๓. กิริยากิตก์ ได้แก่ ต อนีย ตพฺพ ปัจจัยใช้คม ุ พากย์ เรียกว่า กิตบท – กัตตุวาจก เช่น ปวิฏโฐ เรียกว่า กิตบท ฺ กัตตุวาจก – กัมมวาจก เช่น อธิคโต ,, กิตบท กัมม วาจก – ภาววาจก เช่น ภวิตพฺพํ ,, กิตบท ภาว วาจก – เหตุกัตตุวาจก เช่น ตารยนฺโต ,,
  • 20. กิรยาคุมพากย์ ิ – เหตุกัมมวาจก เช่น ปติฏฐาปิโต เรียกว่า ฺ – กิตบท เหตุกัมมวาจก ๔ . ตฺวา ปัจจัย คุมพากย์ เรียกว่า กิริยาปธานนัย ๕.​สกฺกา และ อลํ ใช้คุมพากย์ เรียกว่า กิริยาบท ภาววาจก บ้าง กิริยาบท กัมมวาจก บ้าง ๖. อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยฉัฏฐีวิภตติเป็น ั กิริยาของประโยคอนาทร เรียกว่า อนาทรกิริยา ๗.​อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยสัตตมีวิภตติเป็น ั กิริยาของประโยคลักขณะ เรียกว่า ลักขณกิริยา
  • 21. กิรยาคุมพากย์ ิ • หมายเหตุ. ณฺย ต อนีย ตพฺพ ปัจจัย และ สักกา ใช้คมพากย์ได้เมื่อตัวประธานเป็นประถมบุรุษ ุ เท่าน้ััน ถ้าตัวประธานเป็นมัธยมบุรุษหรืออุต ตมบุรุษ ให้แปล ณฺย ต อนีย ตพฺพ ปัจจัย หรือ สกฺกา เป็นวิกติกัตตา ในกิริยาอาขยาต
  • 22. กิริยาในระหว่าง • กิริยาในระหว่าง ได้แก่ กิริยาดังต่อไปนี้ • ๑. อนฺต และ มาน ปัจจัย ประกอบด้วยปฐมา วิภัตติ อยู่หลังตัวประธาน เรียกว่า • อัพภันตรกิริยา • ๒. ตูน ตฺวา ตฺวาน ปัจจัย ที่เรียกว่า ตูนาทิปั จจัย แปลว่า แล้ว แปลหลังลําดับกิริยา เรียก ว่า ปุพพกาลกิริยา • แปลว่า แล้ว แปลหลังกิริยาคุมพากย์ เรียกว่า อปรกาลกิริยา
  • 23. กิริยาในระหว่าง • แปลว่า เพราะ แปลหลังกิริยาคุมพากย์ เรียก ว่า เหตุ • แปลไม่ออกสําเนียงปัจจัย ตามลําดับกิริยา เรียกว่า สมานกาลกิริยา • แปลไม่ออกสําเนียงปัจจัย หลังกิริยา เรียกว่า กิริยาวิเสสนะ • แปลว่า ครั้น...แล้ว เรียกว่า • ปริโยสานกาลกิริยา

Notes de l'éditeur

  1. This presentation demonstrates the new capabilities of PowerPoint and it is best viewed in Slide Show. These slides are designed to give you great ideas for the presentations you’ll create in PowerPoint 2011! For more sample templates, click the File menu, and then click New From Template. Under Templates, click Presentations.