Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

ธรรมภาคปฏิบัติ ๕

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité

Consultez-les par la suite

1 sur 35 Publicité

ธรรมภาคปฏิบัติ ๕

Télécharger pour lire hors ligne

Publicité
Publicité

Plus De Contenu Connexe

Diaporamas pour vous (20)

Les utilisateurs ont également aimé (10)

Publicité

Similaire à ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ (20)

Plus par วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

Publicité

Plus récents (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ ๕

  1. 1. ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ บรรยายโดย พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร,ดร.
  2. 2. บทที่ ๑ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๑. ความหมายและความสำาคัญของ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๑) ความหมายของธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน
  3. 3. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน แยกตาม รูปศัพท์ได้ดังนี้ คือ ธรรม + อนุปัส สนา + สติปัฏฐาน ธรรม คือ สภาวธรรมทั้งหลาย อนุ ปัสสนา คือ การพิจารณา การตาม
  4. 4. เห็นด้วยปัญญา และสติปัฏฐาน คือ ฐานอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ เมื่อรวมเป็น ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน จึงมีความ หมายโดยรวมว่า การต้ัังสติ พิจารณาธรรมการใช้สติตั้งมั่น
  5. 5. ในการพิจารณาธรรมหรือการ พิจารณาธรรมภายใน พิจารณา ธรรมภายนอก หรือพิจารณาธรรม ทั้งภายในและภายนอก ที.ม.(ไทย) ๑๐/๒๐๕/๑๖๕.
  6. 6. ๒) ความสำาคัญของธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีความ สำาคัญอย่างยิ่งในการปฏิบัติธรรม ปรากฏอย่างน้อย ๔ ประการ คือ
  7. 7. (๑) ความสำาคัญในฐานะเป็นเครื่อง มือปฏิบัติ (๒) ความสำาคัญในฐานะเป็นแก่น พุทธศาสน์
  8. 8. (๓) ความสำาคัญในฐานะเป็น ทางเอก “ภิกษุทั้งหลายหนทางนี้เป็นที่ไปอัน เอกเพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะเพื่อ
  9. 9. เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และ โทมนัสเพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้องเพื่อ ทำาให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน หนทางนี้ คือสติปัฏฐาน ๔” ม.มู.(ไทย) ๑๒/๓๕๓_๓๖๐/๒๖๔_๒๗๐.
  10. 10. (๔) ความสำาคัญในฐานะเกี่ยวข้อง กับธรรมนิยาม นิยาม ๕ ๑) อุุุตุนิยาม กฏของธรรมชาติของ สรรพสุ่ิง
  11. 11. ๒) พีชนิยาม กฏธรรมชาติของการ ทำางานทางกาย ชีวภาพของสุ่ิงมี ชีวิต ๓) จิตนิยาม กฏการทำางานของจิต ๔) กรรมนิยาม กฏการแสดงเหตุ​
  12. 12. และผลตามมาจากเหตุ ๕) ธรรมนิยาม กฏของธรรมชาติ การพิจารณานิยาม ๕ ด้วยธรรมคือ ไตรลักษณ์ ธรรมนิยาม ๕ ก็จะ ปรากฏเป็นหลักธรรมในนิมิตของ
  13. 13. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
  14. 14. ๓. หลักการและวิธีการปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติ ปัฏฐาน ๑) หลักการปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติ ปัฏฐาน (๑) หลักการพิจารณาธรรม ภายนอกกับธรรมภายในเชื่อมโยง กัน สาระ ขันธ์ ๕ คนอื่นกับขันธ์ ๕ ตัว เอง
  15. 15. (๒) การเห็นไตรลักษณ์ หลักไตรลักษณ์ ได้แก่ ก. สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไม่เที่ยง ข. สังขารทั้งหลายทั้งปวง เป็นทุกข์ ค. ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็น อนัตตา
  16. 16. ธรรมมีความหมายกว้างกว่าสังขาร ธรรมแยกออกเป็น ๒ ประเภท คือ สังขตธรรมและอสังขตธรรม สังขตธรรม คือสรรพสิ่งที่ถูกปรุง แต่ง
  17. 17. อสังขตธรรม คือสุ่ิงที่ไม่มีปัจจัย ปรุงแต่ง (๓) การเกิดวิราคะ ก. วิราคานุปัสสี พิจารณาเห็นขันธ์ ๕ เปลี่ยนแปลงไปตามกฏ ไตรลักษณ์
  18. 18. ข. ปฏินิสสัคคานุปัสสี พิจารณาเห็นความเกิดดับแม้แต่ ความพิจารณาเห็นก็เกิดดับ ก็จะ สละคืนความยึดมั่นถือมั่น
  19. 19. ๒) วิธีการปฏิบัติธัมมานุปัสสนาสติ ปัฏฐาน (๑) วิธีการพิจารณาหลักธรรม ภายนอกเข้าสู่ภายใน ก. พิจารณาขันธ์ ๕
  20. 20. ข. พิจารณาอุปาทานขันธ์ ๕ ค. พิจารณาอายตนะภายใน ๖ และ อายตนะภายนอก ๖ ง.
  21. 21. (๒) วิธีการพิจารณาหลักธรรม ภายในออกสู่หลักธรรมภายนอก สาระ : พิจารณาสภาวธรรมที่เกิด ขึ้นขณะปฏิบัติเชื่อมโยงกับ กาย เวทนา จิต ธรรม
  22. 22. (๓) การพิจารณาสภาวะที่เกิดขึ้น ด้วยหลักไตรลักษณ์ หลักไตรลักษณ์ ได้แก่ ก. สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไม่เที่ยง ข. สังขารทั้งหลายทั้งปวง เป็นทุกข์
  23. 23. ค. ธรรมทั้งหลายทั้งปวง เป็น อนัตตา (๔) การพิจารณาเห็นความเบื่อ หน่าย (นิพพิทา)
  24. 24. ๔. อานิสงส์ของการปฏิบัติตามธัมมานุปัสสนา อานิสงส์ ๒ ระดับ คือ ๑) ระดับโลกิยะ ๒) ระดับโลกุตตระ
  25. 25. ๑)​ ระดับโลกิยะ แบ่งเป็น ๓ ประเภท (๑) ได้พัฒนาตนเองและสังคม ๓ ด้าน คือ ศีล สมาธิ ปัญญา
  26. 26. (๒) การบรรลุวิชชา ๘ ๑) วิปัสสนาวิชชา ๒) มโนมยิทธิ ๓) อิทธิวิธี ๔)​ ทิพพโสต
  27. 27. ๕) เจโตปริยญาณ ๖) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ๗) ทิพพจักขุ ๘) อาสวักขยญาณ
  28. 28. (๓) ได้รักษาแก่นพระพุทธศาสนา ๒)​ ระดับโลกุตตระ (๑) สตฺตานํ วิสุทฺธิยา เพื่อความ บริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งหลาย
  29. 29. (๒) โสกปริเทวานํ สมติกฺกมาย เพื่อ ข้ามพ้นความโศก และความรํา่่ไร (๓) ทุกฺขโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมาย เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และ โทมนัส
  30. 30. (๔)​ ญายสฺส อธิคมาย เพื่อบรรลุ ธรรมที่ควรรู้ (๕) นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิ่ิริยาย เพื่อ ทํานิพพานให้แจ้ง
  31. 31. ระดับของพระอริยบุคคล ๔ ระดับ (๑) พระโสดาบัน (๒) พระสกทาคามี (๓) พระอนาคามี (๔) พระอรหันต์
  32. 32. ๕. การนําหลักธรรมไปประยุกต์ใช้ ๑)​ การนําหลักธรรมไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจําวัน (๑) การแก้ปัญหาชีวิตส่วนบุคคล และสังคม ใน ๓ ระดับ คือ ก. ระดับศีล
  33. 33. ข. ระดับสมาธิ ค. ระดับปัญญา
  34. 34. (๒) การแก้ปัญหาสังคมในระดับ โครงสร้าง พุทธทาสภิกขุ พระพรหมคุณาภรณ์ พระติช นัท ฮันท์
  35. 35. ๒) การนําไปประยุกต์ในการเผยแผ่

×