Publicité
Publicité

Contenu connexe

Présentations pour vous(20)

En vedette(20)

Publicité

Similaire à กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑(20)

Plus de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์(20)

Publicité

Dernier(20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑

  1. พระมหานิพนธ์ มหาธมฺมรกฺขิโต ป.ธ.๙, พธ.บ., ศษ.บ., พธ.ม. บรรยายประจาวิชา
  2. กรรมฐาน Buddhist Meditation ๖๐๐ ๒๐๕ (๒) (๒ - ๐ - ๔)
  3. • ศึกษาหลักสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานที่ ปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา และ ปกรณ์วิเสส • ลาดับขั้นตอนของการเจริญกรรมฐาน
  4. • ผลที่เกิดจากการเจริญกรรมฐาน ได้แก่ สมาบัติ ๘ และวิปัสสนาญาณ ๑๖ เป็นต้น • รูปแบบการปฏิบัติกรรมฐานของสานักต่างๆ ใน สังคมไทย โดยเน้นศึกษาอารมณ์ของสมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน
  5. ความหมายของ “กรรมฐาน” ในพระไตรปิฎก • ในพระไตรปิฎกใช้คาว่า กมฺมฏฺฐาน ตรงตัว • ฐานะแห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน • การประกอบอาชีพการงาน เช่น กสิกรรม พานิชยกรรมเป็นต้น • การปฏิบัติหน้าที่หรือการทากิจวัตรทุกอย่างที่บรรพชิตควร ประพฤติไปจนถึงการบาเพ็ญเพียรทางจิตเพื่อละกิเลส โดยใช้ คาว่า บรรพชากรรมฐาน พระไตรปิฎก (ม.ม.๑๓/๔๖๔/๔๕๕-๔๕๖)
  6. หัวข้อธรรมเกี่ยวกับการฝึกอบรมจิตในพระไตรฯ • วิชชาภาคิยธรรม ธรรมอันเป็นส่วนแห่งการรู้แจ้ง • ภาวนา หรือ ภาเวตัพพธรรม ธรรมที่ควรทาให้เกิดขึ้นในตน • อภิญญาธรรม ธรรมที่ควรรู้ยิ่ง • อสังขตคามิมรรค ทางส่งผลให้ถึงอสังขตธรรม(นิพพาน) แบ่งออกได้เป็น ๒ อย่าง คือ สมถะ และ วิปัสสนา
  7. กรรมฐานในคัมภีร์อรรถกถา • ยุคอรรถกถาได้อธิบายจากัดความหมายของกรรมฐานให้ แคบเข้าโดยมุ่งเน้นไปที่การฝึกฝนจิตเพื่อให้เกิดสมาธิและ ปัญญาจนเข้าถึงจุดมุ่งหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนาโดย แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ • สมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน
  8. • ในยุคต่อ ๆ มาจึงรับรู้ความหมายของกรรมฐานตาม แนวการอธิบายของพระอรรถกถาจารย์ว่าเป็นงาน สาหรับฝึกจิตเท่านั้น • คณาจารย์ในยุคหลังก็ได้เผยแผ่สั่งสอนกรรมฐานสืบ ทอดกันต่อ ๆ มาตามแนวความหมายที่พระอรรถกถา จารย์แสดงไว้
  9. • กรรมฐานตามแนวอธิบายของพระอรรถกถาจารย์จึงมี ความหมายตรงกับหมวดธรรมที่พระพุทธองค์ทรงแสดง ไว้ในคัมภีร์พระไตรปิฎกคือ วิชชาภาคิยธรรม ภาวนาหรือภาเวตัพพธรรม อภิญญาธรรม อสังขตคามิมรรค
  10. กรรมฐาน จึงเป็นงานพัฒนาจิต เพื่อให้เกิดสมาธิและ ปัญญาจนสามารถกาจัด กิเลสทั้งหมดออกไปจาก จิตใจได้ สมถกรรมฐาน พัฒนาจิต ให้เกิดความสงบ มั่นคง พร้อมใช้งาน วิปัสสนากรรมฐาน พัฒนาจิตให้เกิดปัญญารู้ เห็นตามความเป็นจริง
  11. แนวการปฏิบัติกรรมฐานในประเทศไทยปัจจุบัน • แนวการปฏิบัติบริกรรมภาวนาพุทโธ • แนวการปฏิบัติแบบพอง-ยุบ • แนวการปฏิบัติแบบเคลื่อนไหว • แนวการปฏิบัติ แบบวิชชาธรรมกาย • แนวการปฏิบัติแบบอานาปานสติ • แนวการปฏิบัติแบบกาหนดรูป-นาม
Publicité