SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  41
Télécharger pour lire hors ligne
เส้นทาง.........
เวทีที่ชักชวนคนรุ่นใหม่ใช้
จินตนาการทางความคิด
มองภาพอนาคตประเทศ
ไทยในอีก 10 ปี ข้างหน้า
เพื่อออกแบบสังคมและ
วัฒนธรรมใหม่
ประเด็นชวนคิด
ครอบคลุม
สังคม วัฒนธรรม
การเมือง เศรษฐกิจ
การศึกษา
เทคโนโลยีและการ
สื่อสาร
รวมเสียงฝัน..….………......
จ.สงขลา
ณ มหาวิทยาลัย
ราชภัฎสงขลา
200 คน
จ.ขอนแก่น
ณ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น
200 คน
จ.เพชรบุรี
ณ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพชรบุรี
200 คน
จ.ชลบุรี
ณ มหาวิทยาลัยบูรพา
200 คน
จ.นครพนม
ณ มหาวิทยาลัย
นครพนม
150 คน
จ.เชียงใหม่
ณ ถนนนิมมานเหมินทร์
170 คน 7 จังหวัด รวมนักเรียน นักศึกษา
มหาวิทยาลัยและการศึกษานอก
ระบบ อาจารย์ และตัวแทน
ภาคประชาชน
จ.พิษณุโลก
ณ มหาวิทยาลัย-
นเรศวร
300 คน
……………………………………........
ช่องทางการเผยแพร่...
นิทรรศการ
ฝัน ประเทศไทย
19 ตุลาคม 2555
สารคดี
ฝัน ประเทศไทย
รายการ Hot Short Film
ทีวีไทย
และเทศกาลหนังสั้น
รายงาน
ไทย
อังกฤษ
เยอรมัน
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
วันที่ 31 กรกฎาคม 2555
การเมือง
-ปลอดคอรัปชั่น
-ไม่มีระบบอุปถัมภ์ ระบบเส้นสายในการเข้าทางาน
-การเมืองมีความมั่นคง มีเสถียรภาพ มีความโปร่งใส ตรวจสอบ
ได้
-ประเทศไทยมีสีเดียว หมดการแบ่งสี แบ่งฝ่าย หมดความ
ขัดแย้งทางการเมือง
-การเมืองไทยใสสะอาด นักการเมืองทาเพื่อประชาชน
คานึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม
-ประชาชนใช้สิทธิในการเลือกผู้แทน โดยสุจริต
-การเลือกตั้งมีความโปร่งใส ประชาชนไม่ขายเสียง
-การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นอย่างแท้จริง
-ปรับเปลี่ยนกฎหมายให้เข้มแข็ง ไม่เอื้อต่อผู้มีอานาจ
-ไม่มีการทะเลาะกันในสภา
• มีระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง รัฐบาลยึดหลัก
ประชาธิปไตย ฟังเสียงประชาชน
• ประชาชนเคารพสิทธิซึ่งกันละกัน เปิดใจ ใช้เหตุผล
• ระบบการเมืองที่มีเพียงสองพรรค
• นักการเมืองมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มีจริยธรรม
ปฎิบัติหน้าที่ที่ดีในสภา ไม่เห็นแก่พวกพ้อง
• ผู้นามีความสามารถ ดูแลประชาชนอย่างเท่าเทียม
กัน ไม่มีหลายมาตราฐาน
• นักการเมืองรุ่นใหม่ขึ้นมาบริหารประเทศ
• ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพ และสามารถมีส่วนร่วมใน
การพัฒนาประเทศ
• ประชาชนเคารพกฎหมาย และกฎหมายให้ความเป็นธรรม
กับประชาชน
• การเมืองไทยเปิดโอกาสให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วม
ทางการเมือง
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
วันที่ 31 กรกฎาคม 2555
สังคม - วัฒนธรรม
•มีความเสมอภาค ไม่แบ่งชนชั้น
•เป็นสังคมที่ใช้เหตุผล ให้เกียรติกัน เปิดใจรับความต่าง
•เคารพกฎหมาย รักษาระเบียบวินัย
•อาชญากรรมลดลง
•ไม่มีการกระทาความรุนแรงต่อผู้หญิง
•คนไทยรัก สามัคคี
•สังคมไทยไม่แตกแยก
•คนไทยมีสุขภาพดี
•การจราจรไม่ติดขัด
•ประเทศตะวันตกไม่มองว่าประเทศไทยเป็นประเทศค้ากาม
• เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
• คนยึดมั่นในพุทธศาสนา
• รู้จักสิทธิและหน้าที่ของตน
• ไม่มีความรุนแรง มีความสงบสุข
• คนไทยรู้เรื่องเพื่อนบ้าน
• ยาเสพติดหมดไปจากสังคม
• อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย รวมถึงภาษาและศาสนา
• ไม่มีระบบอุปถัมภ์ การฝากงาน
• ไม่มีขอทาน
• จังหวัดชายแดนใต้มีความสงบสุข
• ประเทศไทยคือบ้าน
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
วันที่ 31 กรกฎาคม 2555
สื่อสาร เทคโนโลยี
•ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ 2
•เทคโนโลยีเทียบเท่าหรือนาหน้าประเทศอื่นๆ
• การสื่อสารและคมนาคมสะดวกทุกเขตอาเภอ
ครอบคลุมทุกพื้นที่ของประเทศไทย
•นา 3 จี มาใช้รักษาผู้อยู่ห่างไกล
•วิเคราะห์การรับข่าวสารจากสื่อต่างๆ
•มีรถไฟความเร็สูง
•มีการจัดการคมนาคมที่ดี
•มีสาธรณสุขที่ทันสมัยและเอื้อต่อคนจน
เศรษฐกิจ
- เป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจ
- มีการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน
- ผู้นาเศรษฐกิจในอาเซี่ยน
- เศรษฐกิจไทยมั่นคง เป็นไปตามกลไกตลาด รัฐไม่ควบคุม
- รัฐให้ความสาคัญกับการเษตร เกษตรกรมีรายได้มากขึ้น
- สินค้าไทยส่งออกไปทั่วโลก
- มีการเชื่อมต่อระหว่างภูมิภาคต่างๆ
- มีการกระจายรายได้ที่เหมาะสม และออกสู่ภูมิภาคมากขึ้น
- ความเหลื่อมล้าทางรายได้ระหว่างคนจนกับคนรวยลดลง
- มีคนจนลดลง
- ต่างชาติเข้ามาลงทุนมากขึ้น
- ประเทศไทยไม่ต้องกู้เงิน
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
วันที่ 31 กรกฎาคม 2555
การศึกษา
•เน้นให้คิด ไม่ใช่จา
•เด็กไทยได้เรียนมนหลักสูตรที่ตรงต่อความต้องการของผู้เรียน
ตรงต่อสาขาวิชาที่เรียน เลือกที่จะเรียนเฉพาะวิชาที่สนใจได้
•คนไทยรักการอ่าน
•คุณภาพการสอนของอาจารย์ในเมืองและชนบทมีความเท่า
เทียมกัน
•มีสื่อการเรียนการสอนที่น่าสนใจและทันสมัย
•มีมหาวิทยาลัยมากขึ้น
•เด็กไทยพูดภาษาอื่นได้ หลายภาษา
•ฟังเสียงของผู้เรียน และคิดถึงประโยชน์ของผู้เรียนเป็นหลัก
•เน้นการวิเคราะห์ สื่อสาร และภาษา
•มีการเรียนการสอนน้อยลง
•มีการจัดการระบบการศึกษาที่ดีและมั่นคง ไม่เปลี่ยนแปลง
บ่อย มีเสถียรภาพทางการศึกษา
•การศึกษาไทยมีการพัฒนาต่อเนื่อง จริงจัง
•คุณภาพการศึกษาเทียบได้กับมาตราฐานสากล
•ครูเป็นอาชีพที่ได้เงินเดือนมาก เป็นแรงจูงใจให้มีแต่คนอยาก
ทาอาชีพครู
•ครูมีคุณภาพมากขึ้น และกระจายครูที่มีความรู้ความสามารถ
ไปยังพื่นที่ที่ห่างไกล
•เด็กทั่วประเทศได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง เมือง-ชนบท
•เน้นการสอนแบบปฏิบัติ ให้เห็นสถานที่จริง ทดลองทาจริง
•ไม่เน้นตาราเรียน เน้นให้เข้าใจในการนาไปใช้ประโยชน์ใน
อนาคต
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา จังหวัดสงขลา
วันที่ 12 กันยายน 2555
การเมือง
• มีนักการเมืองดี ไม่โกงชาติ ทางานเพื่อประชาชน
อย่างแท้จริง และเห็นแก่ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์
ส่วนตน
• การเมืองมีความมั่นคง
• ใช้คาพูดในการเจรจรมากกว่ากาลัง
• มีความเป็นประชาธิปไตย
• รับบาลใส่ใจในการแก้ปัญหาของปะเทศ
• ประเทศมีผู้นาที่ดี รับผิดชอบต่อบ้านเมือง
• รัฐบาลยึดหลักประชาธิปไตย ฟังเสียงข้างมาก
• การเมืองสุจริต ไม่มีคอรัปชั่น
• การเมืองไม่แบ่งสี
• ไม่มีการใช้อานาจเหนือกฎหมาย
• การเมืองมีความโปร่งใส
• พรรคการเมืองปรองดอง ไม่ขัดแย้ง ไม่ทะเลาะกันในสภา
• มีนักการเมืองหน้าใหม่มาบริหารประเทศ
• คนไทยไม่เอาเปรียบกัน
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา จังหวัดสงขลา
วันที่ 12 กันยายน 2555
สังคมและวัฒนธรรม
• ยาเสพติดหมดไป
• คนไทยรัก สามัคคี ปรองดองกัน
• ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก ไม่แบ่งสี
• ไม่มีคอรัปชั่น
• คนไทยมีความเป็นระเบียบ มีความรับผิดชอบ
• คนไทยไม่เห็นแก่ตัว
• ไม่แบ่งแยกดินแดน
• ทุกพื้นที่มีความเจริญเท่าเทียมกัน
• ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพเท่าเทียมกัน
• คนไทยไม่แตกแยกกัน
• ไม่มีความขัดแย้งในสังคม
• คนไทยเข้าใจกัน และมีเหตุผล
• สังคมไม่แบ่งสี
• จังหวัดชายแดนใต้สงบสุข
• อนุรักษ์วัฒนธรรม ภาษา ศาสนา
• คนไทยมีความเข้าใจซึ่งกันและกัน
• ไม่แบ่งแยกชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา
• ทกศาสนาสามารถอยู่ร่วมกันได้ โดยไม่ก้าวก่ายกัน ไม่ดู
หมิ่นศาสนาอื่นที่ไม่ใช่ของตน
• ไม่มีความขัดแย้งในสังคม
• ยอมรับความรักของเพศเดียวกัน
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา จังหวัดสงขลา
วันที่ 12 กันยายน 2555
การศึกษา
• เด็กไทยเก่งภาษาอังกฤษ
• ทุกคนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง
• การศึกษาของเด็กไทยมีการพัฒนาทัดเทียมกับชาติอื่นๆ
• การศึกษามีเสถียรภาพ
• เด็กไทยอ่านหนังสือมากขึ้น
• ระบบการศึกษามีคุณาพ
สิ่งแวดล้อม
• มีป่าไม้อุดมสมบูรณ์
เศรษฐกิจ
• อุตสาหกรรมก้าวไกล
• ความยากจนหมดไป ประชาชนอยู่ดีกินดี
• การเปลี่ยนแปลงของชนบทเป็นสังคมเมือง
• ไม่มีคนจน
• มีการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติมากขึ้น
• คนไทยมีอาชีพมั่นคง
• ราคาของถูกลง
• ราคายางสูงขึ้น
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วันที่ 14 กันายายน 2555
การเมือง
•เคารพเพื่อนบ้าน
•ประชาชนเห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก
•ประเทศไทยมีพรรคการเมืองเพียง 2 พรรค
•ประชาชนไม่ถูกหลอกใช้เพื่อเข้าสู่อานาจทางการเมือง
•คนไทยรักกัน สามัคคีกัน ไม่แบ่งฝักแบ่งฝ่าย แบ่งสี
•ไม่มีการคอรับชั่น
•นักการเมืองไม่ทุจริต ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก
•ประเทศมีเอกภาพเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
•มัรัฐบาลที่ดี มีผู้นาที่ดี มีศักยภาพความเป็นผู้นา
แก้ปัญหาได้ ไม่ทุจริตคอรับชั่น ไม่เอื้อประโยชน์แก่ตน
และพวกพ้อง ทาเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
•มีความเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
•คนไทยไม่ทะเลาะกัน ไม่แตกแยก
•ไม่มีความขัดแย้งทางการเมือง
•สมาชิกรัฐสภาไม่ใช้ความรุนแรงในสภา
•คนรากหญ้ากินดี อยู่ดี ไม่โดนเอาเปรียบ มีส่วนร่วมในการ
พัฒนาท้องถิ่นของตนเองอย่างเสรีและยั่งยืน
•ประเทศไทยมีความสงบสุข ปรองดอง
•ปกครองบ้านเมืองอย่างเป็นธรรม
•นักการเมืองทาตามความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง
•กฎหมายมีความเป็นธรรม เพิ่มมาตราการการลงโทษแก่
ผู้กระทาผิดให้หนักขึ้นและมีบทลงดทษที่เด็ดขาด
•ท้องถิ่นไทยเข้มแข็ง
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วันที่ 14 กันายายน 2555
สังคมและวัฒนธรรม
• ความยากจนหมดไปคนในท้องถิ่นมีความเป็นอยู่เท่าเทียม
กับภูมิภาคอื่นๆในสังคม ความแตกต่างระหว่างชนชั้น
ลดลง
• ไม่มีขอทาน คนเร่ร่อน
• คนไทย รัก สามัคคี ปรองดอง
• คนไทยมีระเบียบ วินัย
• ไม่มีความเหลื่อมล้าในสังคม
• กีฬาไทยไปเวทีโลก
• อนุรักษ์ไว้ซึ่งวัฒนธรรม ประเพณี และการใช้ภาษาไทย
อย่างถูกต้อง
• ประเทศมีความสงบสุข
• คนไทยไม่นิยมของนอก เที่ยวในประเทศ
• รักท้องถิ่น รักประเทศ
• อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สังคมและวัฒนธรรม
•คนไทยใช้เหตุผลในการแยกแยะ ยอมรับฟังความเห็นต่าง รับ
ฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
•เป็นศูนย์กลางของอาเซี่ยนด้านอาหาร
•ไม่มีความรุนแรง
•ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพเท่าเทียมกัน และเคารพในสิทธิ
ของกันและกัน
•สังคมมีความเสมอภาค มีความยุติธรรม ไม่เป็นระบบอุปถัมภ์
ถูกว่าไปตามถูกผิดว่าไปตามผิด
•ปัญหาความขัดแย้งในชายแดนใต้หมดไป ภาคใต้มีแต่ความ
สงบสุข ไม่มีเหตุการณ์รุนแรง
•เป็นผู้นาในอาเซี่ยนในทุกด้าน
•สังคมปลอดยาเสพติด
•ไม่มีปัญหาจังหวัดชายแดนใต้
•คดีอาชญการรมลดลง
•กฎหมายมีความศักดิ์สิทธิ์
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วันที่ 14 กันายายน 2555
สังคม
• ทุกคนมีสิทธิเท่ากัน ควรได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน
ไม่แบ่งชนชั้น ความจน-รวย
• ไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา
• ทุกศาสนาอยู่ร่วมกันได้ แต่ต้องเคารพซึ่งกันและกันไม่ดู
หมิ่นศาสนาที่ไม่ใช่ศาสนาของตัวเอง
• พัฒนาชนบทในทุกๆด้าน
• คนไทยไม่โกงราคาคนต่างชาติ
• ไม่มียาเสพติด
• ไม่มีการค้ามนุษย์
• คนแต่ละศาสนามีความเข้าใจซึ่งกันและกัน
• พระเจ้าอยู่หัวสุขภาพแข็งแรง
• ยอมรับในความรักของเพศเดียวกัน
• คนไทยไม่ฆ่ากันเอง
• มีวัฒนธรรมที่เด่นชัดมากขึ้น
การศึกษา
• ระบบการศึกษาที่กระจายโอกาสให้แก่เด็กชนบท เด็กด้อย
โอกาสอย่างทั่วถึง มีการตรวจสอบ ติดตามผลโดย
หน่วยงานการศึกษาในพื้นที่
– เด็กที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลได้เรียนหนังสือและมี
อุปกรณ์เหมือนเด็กในเมือง
– ทุกคนมีโอกาสได้เรียน
• คุณภาพการศึกษาไทยอยุ่ในระดับมาตราฐานสากล
• การศึกษาที่เรียนแล้วนาเอาความรู้ไปใช้ได้จริง ไม่ใช่เรียน
เพื่อสอบ
• ไม่เน้นที่ตาราเรียน การท่องจา ไม่เน้นให้ทาตาม แต่เน้น
ให้คิดเป็น
• ผู้มีอานาจเกี่ยวข้องกับการศึกษาเห็นความสาคัญด้าน
การศึกษาอย่างแท้จริง
• เด็กอีสานได้เรียนภาษาจีน
• มีบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสังคมและประเทศ
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วันที่ 14 กันายายน 2555
เศรษฐกิจ
• มีความมั่นคง มีเสถียรภาพ
• เป็นศูนย์กลางการค้าการส่งออก มีนักลงทุนมาลงทุนมาก
• มีการติดต่อค้าขายที่เสรี ไม่ผูกขาด
• ชาวบ้านมีรายได้มั่นคง ไม่มีหนี้
• อัตราคนว่างงานลดลง อัตราความยากจนลดลง
• ช่องว่าระหว่างคนจน-คนรวยลดลง
• เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของอาเซี่ยน
• ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
• ประชาชนมีงานทา
• คนไทยได้ทางานหรือสามารถแข่งขันกับกลุ่มอาเซี่ยนได้
• ประเทศไทยถือครองหุ้นในบริษัทมากกว่า 50%
• ไม่มีปัญหาเรื่องแรงงาน
• มีความก้าวไกลด้านการท่องเที่ยว
การศึกษา
•การศึกษาไทยพัฒนาไปทั่วทุกภูมิภาคให้ทุกคนได้มีโอกาส
เรียน
สื่อสาร เทคโนโลยี
•คนไทยรับข้อมูลข่าวสารหลากหลายช่องทางและวิเคราะห์เป็น
•เทคโนโลยีเข้าถึงในทุกพื้นที่
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วันที่ 14 กันายายน 2555
สิ่งแวดล้อม
•แม่น้าใสสะอาด ปราศจากขยะ
•ป่าไม้อุดมสมบูรณ์
•การคมนาคมสะดวกสบายไม่มีมลพิษ
•มีการพัฒนา อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
ปราศจากมลพิษ
•มีการจัดการสิ่งแวดล้อม มลพิษ ของเสียที่ออกจาก
โรงงานอุตสาหกรรม
•มีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
•มีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น มีต้นไม้มากขึ้น
คมนาคม
•มีเส้นทางการจราจรของจักรยานและมีที่จอดสาธารณะ
•โครงการจักรยานคันแรก มีช่องทางจราจรของจักรยาน
และมีที่จอดจักรยาน
•มีรถไฟความเร็วสูง
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
วันที่ 19 กันายายน 2555
การเมือง
• ไม่แบ่งแยกสี แยกฝ่าย ไม่ทะเลาะกัน
• ประเทศไทยไม่มีการประท้วง
• ประเทศไทยมีความสงบสุข
• คนไทยไม่โกง
• ประเทศไทยปลอดคอรัปชั่น
• นักการเมืองไม่โกง
• คนไทยไม่ใช้ความรุนแรงในการตัดสินปัญหา ใช้
เหตุผลในการตัดสินปัญหา
• กฎหมายมีความเคร่งครัด
• ผู้บริหารประเทศเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า
ส่วนตัว
การเมือง
• หลักคุณธรรมนาการเมือง
• มีเสถียรภาพทางการเมือง
• รัฐบาลให้ความใส่ใจประชาชน
• ประชาชนที่มีสิทธิ์ ออกไปใช้สิทธิในการเลือกตั้งทุก
ครั้ง
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
วันที่ 19 กันยายน 2555
สังคมและวัฒนธรรม
• คนไทยไม่แบ่งชนชั้น ไม่ดูถูกคน
• ไม่มีแบ่งแยกรหว่างคนจน คนรวย
• คนไทยยอมรับฟังความคิดเห็นของแต่ละฝ่าย คิด
ต่างก็ยังคุยกันได้
• จังหวัดชายแดนใต้สงบสุข ไม่แบ่งแยกดินแดน
• ปัญหายาเสพติดหมดไป
• คนไทยรัก สามัคคี ไม่รบกันเอง
• ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก ไม่แตกแยกทางความคิด ใช้
เหตุผลในการคิดอย่างวิเคราะห์วิจารณ์ไปตามหลัก
แห่งความถูกต้องและความยุติธรรม ไม่มีอคติ
• สังคมมีความยุติธรรม
• คนไทยพูดได้หลายภาษา และพูดภาษาอังกฤษเก่ง
• เด็กไทยมีคุณธรรม
• ทุกชุมชน ทุกหมู่บ้านมีความสะดวกสบายเท่าเทียม
กัน
• ทาตามกฎระเบียบ ไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล
• อนุรักษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ ศาสตร์
เก่าแก่
• พระเจ้าอยู่หัวมีสุขภาพแข็งแรง
• ไม่มีปัญหาน้าท่วม
• คนไทยมีเหตุผลและรู้จักหน้าที่ของตน
• ไม่มีคนเร่ร่อน
• ชาย – หญิง มีสิทธิเท่าเทียมกัน
• คนไทยมีกิจกรรมที่ทาร่วมกันมากขึ้น
• คนไทยปรับตัวรับอาเซี่ยนได้
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
วันที่ 19 กันยายน 2555
คมนาคม – สื่อสารมวลชน –
เทคโนโลยี
• รถไฟฟ้ามีการเชื่อมต่อขยายวงกว้างมากขึ้น
• มีรถไฟฟ้าทุกจังหวัด
• รถไฟฟ้าความเร็วสูง
• คนทยใช้รถสาธารณะส่วนรวมมากขึ้น
• ประเทศไทยมีเทคโนโลยีทันสมัย เป็นผู้นาด้าน
เทคโนโลยีในอาเซี่ยนและทัดเทียมกับนานาประเทศ
• เทคโนโลยีครอบคลุมทั่วถึงทุกพื้นที่
สิ่งแวดล้อม
• ประเทศไทยสีเขียว มีสภาพแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์
มีธรรมชาติสวยงาม อากาศบริสุทธิ์ น้าใสสะอาด ไม่
มีมลพิษ
• นาขยะมารีไซเคิลมากขึ้น
• ลดการใช้วัสดุที่ทาลายสิ่งแวดล้อม
• อนุรักษ์ รักษาป่า
• คนไทยปลูกผักสวนครัวมากกว่าซื้อในตลาด
• คนไทยใช้พลังงานน้อยลง
• ประเทศไทยผลิตพลังงานธรรมชาติเอง
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
วันที่ 19 กันายายน 2555
การศึกษา
•เด็กไทยได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง
•เด็กในชนบทและเด็กด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษา
•ระบบการศึกษาได้รับการบูรณาการให้มีความทัดเทียม
ต่างประเทศ
•ไม่มองที่สถาบันการศึกษา แต่ดูที่ความสามารถ ความรู้ของ
บุคคล ไม่แบ่งแยกว่าดรงเรียนในเมือง หรือชนบท
•การศึกษาไทยมีคุณภาพ
•คนไทยทุกคนเรียนจบปริญญาตรี
•คนไทยเรียนรู้ภาษาองักฤษ และภาษาในอาเซี่ยนเพื่อโอกาส
ต่างๆ
•นาเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ในการเรียนการสอน
เศรษฐกิจ
•ประเทศไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
•ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของประชาคมโลก
•ประเทศไทยเป็นเมืองอุตสาหกรรม
•เป็นผู้นาการส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ
•เป็นเมืองท่องเที่ยว
•ทุกคนมีงานทา มีชีวิตที่ดี
•คนจนมีโอกาสเข้าทางานดีๆได้ มีรายได้มั่นคง
•หลักเศรษฐกิจพอเพียง
•เป็นที่หนึ่งในการส่งออกอาหาร เป็นครัวโลก
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี
วันที่ 27 กันายายน 2555
สังคมและวัฒนธรรม
• ประชากรมีความเจริญทางความคิด
• อนุรักษ์โบราณสถาน วัฒนธรรมและประเพณีไทยคงอยู่
เหมือนเดิม
• อนุรักษ์การใช้ภาษาไทย และใส่ชุดไทยในงานพิธี
• คนที่ไม่เข้าใจกันหันหน้ามาคุยและปรับความเข้าใจกัน
• คนไทยรักกัน
• ไม่แบ่งพวก แบ่งฝ่าย แบ่งสี
• ไม่แบ่งชนชั้น
• เคารพความคิดเห็นของคนอื่น
• คนชราได้รับการดูแล ไม่ถูกทอดทิ้ง
• คนไทยมีควาสามัคคี
• ประเทศไทยใสสะอาด
• คนไทยไม่ทะเลาะกัน
• รถไม่ติด
• คนมีงานทา
• คนไทยเห็นแก่ส่วนรวม
• ใช้อธิปไตยในการใช้ชีวิตประจาวัน
• รัฐบาลฟังความเห็นของประชาชนเป็นหลัก
• คนไทยใช้อานาจ
• หมดปัญหา เสื้อแดง – เสื้อเหลือง
• คนไทยเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วน
ตน
• คนไทยอยู่ด้วยวิถีประชาธิปไตย
• เกษตรกรรากหญ้ามีความเป็นอยู่ไม่ลาบาก
• คนด้อยโอกาส คนพการสามารถสร้างรายได้ได้
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี
วันที่ 27 กันยายน 2555
สังคมและวัฒนธรรม
•กลับมาเป็นประเทศเกษตรกรรม
•เป็นศูนย์กลางของอาเซี่ยน
•ประเทศไทยใความสงบสุข
•คนไทยซื่อสัตย์ ไม่โกง
•สยามเมืองยิ้ม
•เคารพกฎบ้านเมือง
•ใช้เหตุผลในการคุยกัน
•เป็นประเทศที่เจริญแล้ว
•จังหวัดชายแดนใต้สงบสุข
•ยอมรับความแตกต่างทางสังคม วัฒนธรรม
•มีเสรีภาพทางความคิด ยอมรับความเห็นต่าง
• ทุกคนได้รับสิทธิการรักษาอย่างดีและไม่มีการแบ่งแยกชนชั้น
• สังคมที่มีความเท่าเทียม ไม่มีผู้มีอานาจ
• สังคมเปิดโอกาสให้คนทุกชนช้น มีสิทธิเท่าเทียมกัน
• มีชื่อเสียงด้านวัฒนธรรม ภาษา อาหาร
• ตัดสินรับคนเข้าทางานจากความรู้ความสามารถ ไม่ใช่เส้นสาย
และประเมินคนจากความสามารถ
• มองทุกคนมีศักดิ์ศรีความเป็นคนเท่ากัน
• มองเห็นว่าเงินไม่ใช่ทุกอย่าง ซื้อไม่ได้ทุกอย่าง
• คนไทยไม่แก่งแย่ง ชิงดีชิงเด่น กัน
• คนไทยรับผิดชอบต่อหน้าที่พลเมืองที่ดี
• เปิดโอกาสให้คนที่เคยติดคุกได้อยู่ในสังคม
• คนไทยกล้าแสดงความคิดเห็น
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี
วันที่ 27 กันายายน 2555
การศึกษา
•เด็กไทยในชนบทและเมืองมีโอกาสเท่าเทียมกันด้าน
การศึกษา การศึกษาเข้าถึงคนทุกระดับ
•รบบการศึกษาทัดเทียมกับประเทศอื่นๆที่พัฒนาแล้ว
•ระบบการศึกษาเน้นการเรียนแบบปฏิบัติจริง ไม่ใช่แค่
ท่องทฤษฎี
•มีระบบการศึกษาที่มั่นคง
•การศึกษาผ่านอินเตอร์เน็ต
•คนไทยพูดภาษาอังกฤษได้ทุกคน
•มีกระบวนการสรรหาครูที่มีคุณภาพ
•ระบบการศึกษาที่เน้นความต้องการของผู้เรียนเป้นหลัก
นักเรียน นักศึกษามีเสรีภาพในการเลือกในสิ่งที่อยาก
เรียนตั้งแต่ระดับมัธยม
•มีบุคคลากรเพียงพอต่อจานวนนักเรียน
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
•มีธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ มีแต่ป่าสีเขียว
•ปลอดมลพิษ ปลอดขยะ
•ใช้เทคโนโลยีทันสมัยเพื่อการตรวจสอบอานาจต่างๆ
ในสังคม
•ใช้รถยนต์น้อยลง ใช้จักรยานมากขึ้น
•มีเทคโนโลยี 3G 10G ครอบคลุมทั่วประเทศจริงๆ
และทุกคนมีโอกาสได้ใช้
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี
วันที่ 27 กันยายน 2555
เศรษฐกิจ
•ประเทศไทยมีตลาดผลไม้ส่งออกไปทั่วโลก
•มีแหล่งอาชีพในชุมชนที่ทันสมัย
•ประชาชนอยู่ดีกินดี ข้าวของไม่แพง ค่าครองชีพไม่สูง
•แก้กฎหมายแรงงานให้มีความเป็นสากล
•มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
•ประเทศไทยไม่เป็นหนี้
•ครัวไทยสู่ครัวโลก
•เศรษฐกิจไทยสามารถแข่งขันในตลาดโลก
•เศรษฐกิจไทยเป็นทุนนิยมเสรีจริงๆ ไม่มีการผูกขาดกับ
คนไม่กี่กลุ่ม
การเมือง
•ประเทศไทยมีแต่ความยุติธรรมและเท่าเทียมกันอย่าง
แท้จริง
•ได้คนดีเป็นผู้นา
•มีคนรุ่นใหม่เข้าไปบริหารประเทศมากขึ้น
•นักการเมืองและข้าราชการไม่โกงการเมืองท้องถิ่นก้าว
เข้าสู่ความเป็นสากล
•มีการกระจายทรัพยากรที่ครอลคลุมทั่วถึงทั้งประเทศ
ไม่ใช่แค่พัฒนากรุงเทพ
•ปลอดคอรับชั่น
•ไม่มีความขัดแย้งด้านการเมือง
•กฎหมายมีค่า บังคับใชัได้จริง
•ไม่ใช้ความรุนแรงในการตัดสินความขัดแย้ง
•ใช้สิทธิเลือกตั้งผู้แทน และรับผิดชอบต่อการตัดสินใจใน
การเลือกผู้แทน
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนครพนม จังหวัดนครพนม
วันที่ 2 ตุลาคม 2555
การเมือง
•ปลอดคอรัปชั่นทั้งภาครัฐและเอกชน
•การเมืองมีเสถียรภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้
•หมดการแบ่งสี แบ่งฝ่าย แบ่งพรรคพวก หมดความขัดแย้งทาง
การเมือง
•ไม่ใช้ความรุนแรงในสภา
•นักการเมืองเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน
•มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น
•การเลือกตั้งมีความโปร่งใส ประชาชนไม่ขายเสียง
•การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นอย่างแท้จริง
•ปรับเปลี่ยนกฎหมายให้เข้มแข็ง ไม่เอื้อต่อผู้มีอานาจ
•ประชาชนที่มีสิทธิเลือกตั้งใช้สิทธิของตนเลือกผู้นาอย่าง
ไตร่ตรองว่าผู้แทนนั้นจะทาประโยชน์ให้ส่วนรวม
•ไม่มีความขัดแย้งทางการเมือง
•การเมืองไทยเป็นประชาธิปไตยมากกว่านี้
•การเลือกตั้งมีความโปร่งใส
•รัฐบลต้องมีความยุติธรรมในการบริหารประเทศ
•รัฐบาลเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็น
•ประชาชนต้องรักษาสิทธิ ไม่ขายเสียง และต้องตรวจสอบการ
ทางานของผู้แทนที่เลือกมา
•ไม่มีข้าราชการทุจริต
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนครพนม จังหวัดนครพนม
วันที่ 2 ตุลาคม 2555
สังคม – วัฒนธรรม
•คนไทยรัก สามัคคี มีความสงบสุข
•คนไทยไม่ทะเลาะกัน ไม่ฆ่ากันเอง
•ไม่แตกแยก ไม่แบ่งพรรคพวก ไม่แบ่งสี ไม่มีสีแดง สีเหลือง
•ไม่มีความขัดแย้งในสังคม
•ไม่แบ่งชนชั้น
•เป็นสังคมที่ใช้เหตุผล ไม่ใช้ความรุนแรงในการตัดสินปัญหา
•เกษตรกรไม่เป็นหนี้
•ผู้นาเป็นตัวอย่างที่ดี ไม่ทุจริต
•ปัญหายาเสพติดลดลง
•ปัญหาเด็กถูกทอดทิ้งลดลง
•จังหวัดชายแดนใต้มีความสงบสุข
•ไม่แบ่งแยกศาสนา
• ไม่มีความแตกแยกระหว่างคนจน คนรวย
• ปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรลดลง
• คนไทยอนุรักษ์วัฒนธรรม และประเพณี
• ประชาชนปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
• ประเทศไทยสงบสุข
• คนไทยเคารพซึ่งกันและกัน ยอมรับซึ่งกันและกัน มีสิทธิ
เสรีภาพเท่าเทียมกัน
• ประเทศไทยไม่เป็นหนี้
• คนไทยไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนมากกว่าส่วนรวม
• มีแต่รอยยิ้ม
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนครพนม จังหวัดนครพนม
วันที่ 2 ตุลาคม 2555
การศึกษา
•มีสื่ออุปกร์การเรียนการสอนทั่วทุกพื้นที่
•มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาการศึกษามากขึ้น
•มีการรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติ
การศึกษา
•ทัดเทียมต่างประเทศ
•นโยบายการศึกษาที่แน่นอนไม่เปลี่ยนตามการเมือง
•เด็กทั่วประเทศได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง สามารถอ่านออก
เขียนได้
•ปรับวิธีการสอนให้เด็กมีอิสระทางความคิด สามารถ
แลกเปลี่ยนกับต่างประเทศผ่านระบบออนไลน์
•เด็กด้อยโอกาส เด็กต่างด้าว เด็กพิการ มีโอกาสทางการศึกษา
•ครูมีจรรยาบรรณความเป็นครู รักในอาชีพของตน
•ครูได้รับเงินเดือนมากขึ้น
•มีแนวทางที่แน่นอนเกี่ยวกับครุศาสตร์และใบประกอบวิชาชีพที่
มั่นคงถาวร ไม่เปลี่ยนไปตามรัฐบาล
ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนครพนม จังหวัดนครพนม
วันที่ 2 ตุลาคม 2555
สื่อ
•นาเสนอข่าวที่เป็นกลาง
•เทคโนโลยีเป็นสื่อการสอนอย่างกว้างขวาง ทั่วถึง เข้าถึง
ชนบท
•นวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัย
สิ่งแวดล้อม
•ปัญหามลพิษทางอากาศและทางน้าลดลง
เศรษฐกิจ
•งานมีพอสาหรับคน
•ช่องว่างทางรายได้ระหว่างคนจน คนรวยลดลง
•เกษตรกรทาให้เศรษฐกิจเติบโต เกษตรกรรักในอาชีพของตน
•สินค้าไทยส่งออกไปทั่วโลก
•มีการกระจายรายได้ที่ดี
•เป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมาก
•อุดหนุนสินค้าไทยมากขึ้น
ข้อสรุปจากเวที จังหวัดเชียงใหม่
วันที่ 4 ตุลาคม 2555
สังคม – วัฒนธรรม
-คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม
-ประชาชนเข้มแข็งตรวจสอบภาครัฐ-เอกชนได้
-วัดคุณภาพชีวิตจากค่าความสุขมวลรวมแทนจีดีพี
-ยาเสพติดหมดไป
-ใช้เหตุผลในการพูดคุย เคารพความคิดเห็นผู้อื่น
-ประชาชนมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
-มีบริการขนส่งสาธารณะที่ดี
-ภาคใต้มีความสงบสุข ไม่ลุกเป็นไฟ
-ไม่แบ่งชนชั้น รวย-จนไม่มียศฐาบรรดาศักดิ์
-คนยากจนลดลง
-เมืองไทยใสสะอาดปราศจากคอรัปชั่น
-จงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์
- ยอมรับซึ่งกันและกัน ฟังเหตุผลซึ่งกันและกัน
- รัก-สามัคคี
- ไม่แตกแยก ไม่แบ่งพรรค-พวก ไม่แบ่งสี
- อนุรักษ์วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย
- คนมีความซื่อสัตย์ ไม่โกง มีศีลธรรม
- จงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์
- ยึดมั่นในศาสนา มีคุณธรรม ศีลธรรม
- ชนชั้นล่างพึ่งพาตนเองได้
- ไม่มีอาชญากรรม
- คนไทยมีวินัย
- ละครไทยไม่มีเรื่องเกี่ยวกับเพศ เช่น ข่มขืน อิจฉาริษยา
ฆาตกรรม
ข้อสรุปจากเวที จังหวัดเชียงใหม่
วันที่ 4 ตุลาคม 2555
การเมือง
- รัฐบาลบริหารงานด้วยความเป็นธรรม
- มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบเต็มรูแบบ
- มีผู้นาดี มีความรับผิดชอบ ไม่ทุจริต
- คนรุ่นใหม่เป็นนักการเมืองทั้งสภา
- ไม่มีปัญหาอุทกภัย มีระบบการจัดการน้าที่ดี
- กระจายอานาจจากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น ประชาชนมีส่วน
ร่วมในนโยบายสาธารณะ
• ปลอดคอรัปชั่น
• นักการเมืองปรองดองกัน และไม่โกง
- นักการเมืองมีจริยธรรมการเมืองเห็นแก่ประชาชนเป็น
หลัก
- เป็นรัฐสวัสดิการ ดูแลเรื่องสุขภาพอนามัยให้กับประชาชน
- การเมืองไร้สี ไม่มีแดง เหลือง
- การเมืองไม่ขัดแย้ง นักการเมืองทาเพื่อส่วนรวม
- ประชาชนมีสิทธิแสดงความคิดเห็นในสภา
เศรษฐกิจ
- ประชาชน อยู่ดี กินดี มีคุณภาพชีวิตเทียบเท่าประเทศที่
พัฒนาแล้ว
- เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว
- การกระจายรายได้ ขึ้นอยู่กับความสามารถ
- ส่งเสริมอาชีพให้ผู้ด้อยโอกาส
- เป็นผู้นาในการส่งออก
- มีตัวชี้วัดเศรษฐกิจสีเขียว
- มีการแข่งขันที่เป็นธรรม
- คนหันมาทาเกษตกรรมเพิ่มขึ้น อุตสาหกรรมลดลง
- รัฐส่งเสรมด้านการเกษตรมากขึ้น
- มีเกษตรปลอดสารพิษ 100 %
- คนต่างชาติมาลงทุนในประเทศเพิ่มขึ้น คนไทยมีรายได้
เพิ่มขึ้น
- ความยากจนลดลง
- ไม่มีคนตกงาน
ข้อสรุปจากเวที จังหวัดเชียงใหม่
วันที่ 4 ตุลาคม 2555
การศึกษา
- มีการศึกษาที่ทั่วถึง
- ทุกคนจบปริญญาตรี
- เด็กไทยไปฝึกงานต่างประเทศ
- คนไทยพูดได้หลายภาษา เวียดนาม ลาว พม่า จีน ญี่ปุ่น
- นักเรียนไทยไม่ต้องเรียนพิเศษ
- มีอิสระทางการศึกษา
- ระบบการศึกษามีมาตราฐาน
- เปิดโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง
- ไม่ต้องสอบก่อนเข้าเรียน เพื่อให้โอกาสแก่ทุกคน
- นักเรียนได้มีสิทธืเลือกเรียนในสิ่งที่ตัวเองถนัด
- การศึกษาไทยเป็นที่ยอมรับใน ASEAN
- คุณภาพการศึกษาไทยแข่งขันได้กับต่างชาติ
- เด็กไทยพูดภาษาอังกฤษได้ทุกคน
สิ่งแวดล้อม
- ไม่มีขยะ
- เป็นประเทศสีเขียว
เทคโนโลยี
- เป็นผู้คิดค้นเทคโนโลยีที่ทันสมัย
- มีระบบการสื่อสารที่ก้าวไกล
• ใช้ภูมิปัญญาแทนเทคโนโลยี
• หนังไทยไม่มีเรื่องทางเพศ อิจฉาริษยา ฆาตกรรม
- สื่อมีคุณภาพ รายงานข้อเท็จจริง
- ประชาชนทุกคนเข้าถึงเทคโนโลยี มี Wi Fi ทั่วประเทศ
- ใช้เทคโนโลยีทดแทนแรงงานคน
- มี 3G 10G ในการสื่อสาร
- มีขนส่งสาธรณะทันสมัย
- นาเทคโนโลยีมาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อลดการใช้
แรงงานคน เพิ่มปริมาณลผลิต
เวที กรุงเทพมหานคร 19 ตุลาคม 2555
สังคม-วัฒนธรรม
• คนไทยมีโอกาสในการเลือกเส้นทางชีวิต
• คนไทยอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่
• คนไทยไม่โกง
• คนไทยมีความซื่อสัตย์
• ไม่มีแว้น
• ไม่เล่นหวย
• คนไทยรักการอ่าน
• เมืองไทยเป็นเมืองแห่งสวนสาธารณะ ครอบคลุมทุกชุมชน
• คนไทยบริโภคศิลปะมากขึ้น
• ปลอดยาเสพติด
• เป็นเมืองที่ดูแลผู้สูงอายุ
• คนไทยรัก สามัคคี ให้อภัยกัน
• มีความเท่าเทียมในสังคม
• แตกต่างแต่ไม่แตกแยก
• ไม่ทะเลาะกัน
• ไม่แบ่งฝักแบ่งฝ่าย แบ่งสี แบ่งพวก
• เคารพในความเป็นมนุษย์ของทุกคน เปิดใจรับฟังกันด้วย
ความเข้าใจและอย่างมีเหตุผล
• มีนโยบายที่เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
• คนส่วนมากมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและ
วางแผนอนาคต
• ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการออกแบบปรับปรุงและ
แก้ไขปัญหาในชุมชนของตัวเอง
• คนไทยตัวสินใจได้เอง โดยไม่ต้องมีคนชี้นา
• เป็นสังคมพหุเอกานิยม อยู่ร่วมกันได้บนเอกภาพที่มีความ
แตกต่างหลากหลาย
• เยาวชนเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น
เวที กรุงเทพมหานคร 19 ตุลาคม 2555
สังคม
• ไม่มีความเหลื่อล้าทางสังคม
• คนไทยมีวินัย
• มีการปฏิรูปที่ดิน
• คนไทยจ่ายภาษี
• ใช้ภาษีอัตราก้าวหน้า
• คนไทยมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรเท่ากัน
การศึกษา
• คนไทยได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกันคนเคารพ
ยอมรับกันด้วยความสามารถ ไม่ใช่ปริญญาบัตร
• ครูผู้สอนมีจรรยาบรรณ
• เด็กไทยเก่งเพราะคิด-ทา ไม่ใช่เพราะ ท่อง จา
• ปฏิรูปการศึกษา
• บริหารงบประมาณการศึกษาโดยเน้นที่คุณภาพและ
โอกาส
• ระบบการศึกษาที่รับรองใช้ได้จริงหลังเรียนจบ
• การศึกษาที่มีคุณภาพ เป็นมาตราฐานที่เท่าเทียมกันและ
ทั่วถึง ให้เยาวชนคิดเป็นและคิดเพื่อส่วนรวม
• เยาวชนให้ความสาคัญกับการศึกษา
• เด็กไทยไม่ต้องเรียนพิเศษ
• การศึกษาที่ทัดเทียมต่างประเทศ
เวที กรุงเทพมหานคร 19 ตุลาคม 2555
เทคโนโลยี/สิ่งแวดล้อม
• พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร
• wifi ทั่วไทย
• มีรถไฟฟ้าครบทุกสายทั่วประเทศ
• ระบบรถไฟของไทยก้าวหน้า
• ไม่มีรถติด
• มีรถวิ่งบนถนนน้อยลง
• ระบบขนส่งสาธารณะได้รับการพัฒนาให้มีความ
สะดวกสบาย ประหยัด ปลอดภัย
• ทางเดินเท้ามีมากขึ้น
เศรษฐกิจ
• ศุนย์กลางอาเซี่ยน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาส
ความก้าวหน้า
• ทุกจังหวัดของประเทศมีความเจริญก้าวหน้า
• คนไทยมีความเป็นอยู่ดีขึ้น
• ปัญหาความยากจนลดลง
• ช่องว่าเรื่องรายได้แคบลง
• ไม่มีคนตกงาน มีอาชีพที่มั่นคง
• ประเทศไทยสามารถกาหนดราคาข้าวในตลาดโลกได้
อย่างอิสระ
• เป้นประเทศท่พัฒนาแล้วด้านเศรษฐกิจ ประชาชนทุก
ครัวเรือนมีรายได้อย่างทั่วถึง
เวที กรุงเทพมหานคร 19 ตุลาคม 2555
การเมือง
• การคอรัปชั่นหมดไป
• มีการปกครองแบบกลมๆ มีการกรจายอานาจสู่ท้องถิ่น
กระจายความเจริญออกจากกรุงเทพ
• ไฟใต้สงบ
• ความยุติธรรมในเหตุการณ์ตากใบ
• ผู้นามีความรับผิดชอบต่อสังคม
• มีนักการเมืองที่มีคุณภาพ ทางานเพื่อส่วนรวม
• ไม่มีการซื้อสิทธิ ขายเสียง
• การเมืองโปร่งใส
เวทีสัมมนาแกนนานิสิตนักศึกษาสตรีมุสสลิมแห่งประเทศไทย
15 มีนาคม 2556
การเมือง
• หมดปัญหาการคดโกง
• ผู้นามีคุณภาพ ยุติธรรม
• คิดถึงส่วนรวมมากกว่าผลประโชน์ตัวเอง
• พัฒนาทุกส่วนของประเทศ ไม่ใช่แค่เมืองหลวง
สังคม
• รักษาความเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นไทยให้คง
อยู่ไว้
• ความเหลื่อมล้าทางสังคมลดลง
• ไม่แบ่งแยกชนชั้น วรรณะ ศาสนา
• แตกต่างทางความคิด แต่ไม่แตกแยกในสังคม
• มีความเป็นระเบียบ มีวินัย
• มุสลิมในประเทศสามารถแสดงออกซึ่งความเป็น
มุสลิมได้อย่างเสรี เช่น คลุมผ้า ปิดหน้า
• เป็นสังคมที่มีความเป็นพี่น้อง สามัคคีกัน
• เยาวชนไทยกล้าแสดงออก
• ประเทศไทยไร้เหล้า-เบียร์ สิ่งมึนเมา
• เป็นสังคมสงบสุข
เวทีสัมมนาแกนนานิสิตนักศึกษาสตรีมุสสลิมแห่งประเทศไทย
15 มีนาคม 2556
การศึกษา
• มีความเท่าเทียมทางการศึกษา พื้นที่ห่างไกลได้รับ
โอกาสทางการศึกษาเท่ากับพื้นที่ๆมีความเจริญ
• มีนโยบายเรียนฟรีเพื่อให้เด็กได้รับการศึกษาอย่าง
เต็มที่ เด็กด้อยโอกาสทุกคนได้เรียนหนังสือ
• มีการกระจายอานาจด้านการศึกษาให้ตอบรับกับแต่
ละท้องถิ่น แต่ละท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการออกแบบ
การศึกษาของตนเอง
• ครูมีคุณภาพ
• ส่งเสริมการเรียนภาษาต่างประเทศ ภาษาอาเซี่ยน
เพื่อสื่อสารกับเยาวชนในประเทศอาเซี่ยน
• คุ้มครองสิทธิมนุษยชน หากยังเป็นผู้ต้องสงสัย ต้อง
ไม่ปฏิบัติเช่นเดียวกับผู้ต้องหา
เศรษฐกิจ
• มีจีดีพี เพิ่มขึ้น
• มีความเท่าเทียมในการกระจายรายได้
• ไม่ควบคุมราคาสินค้า
Dream South: อนาคตจังหวัดชายแดนใต้ กาหยดได้โดยเยาวชน
17-19 May 2013
การเมือง
• อานาจถูกใช้ในทางที่ถูกต้อง
• เขตปกครองพิเศษ มีการปกครองที่มีรูปแบบของรัฐปา
ตานี
• มีพื้นที่ทางการเมืองให้ประชาชนในพื้นที่กาหนด
ชะตากรรมตัวเองโดยไม่มีการแทรกแซงจาก
ส่วนกลาง ให้ประชาชนสามารถเสนอความคิดเห็น
ได้และรัฐนาไปปรับใช้ในการแก้ปัญหาในพื้นที่
• มีการปกครองโดยใช้กฎหมายอิสลาม
• ไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา
• ผู้นาเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
• ไม่มีการโกง
• ถอนทหารออกจากพื้นที่
สังคม
• คนในพื้นที่มีความเข้าใจซึ่งกัน แม้จะใช้ภาษาในการ
สื่อสารต่างกัน
• คนส่วยใหญ่ในประเทศไทยเข้าใจวัฒนธรรมคนในพื้นที่
• ยอมรับในความแตกต่างแต่ไม่แตกแยก ไม่แบ่งแยก
ศาสนา
• มีความยุติธรรม มีความเสมอภาค
• มีด่านลดลง – ถนนที่มีแต่รถไม่ใช่ด่าน
• เยาวชนมีส่วนร่วมในการสร้างความเข้าใจและสร้างความ
ยุติธรรม
• ยาเสพติดหมดไปจากจังหัวดชายแดนภาคใต้
• อนุรักษ์อัตลักษณ์ของคนในพื้นที่
• คนไทยรัก สามัคคี
• มีความสงบสุข
Dream South: อนาคตจังหวัดชายแดนใต้ กาหยดได้โดยเยาวชน
17-19 พฤษภาคม 2556
สังคม
• ชุมชน / สังคม แห่งการปรึกษาหารือ
• เป็นพหุวัฒนธรรม ไม่มีการแบ่งฝ่าย คนในประเทศยอมรับ
ความแตกต่างของคนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และคน
ใน จชต ยอมรับคนนอกพื้นที่
• อนุรักษ์วัฒนธรรมของพื้นที่
• หมดความหวาดระแวง ประชาชนไว้ใจกัน รัฐไว้วางใจ
ประชาชน
• มีเสรีภาพในการดาเนินชีวิต
• มีความเข้ากันโดยไม่ต้องใช้อาวุธ
เศรษฐกิจ
• ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี
• มีเศรษฐกิจที่ดีเหมือนประเทศชั้นนาในอาเซี่ยน
• เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์
การศึกษา
• เรียนจบแล้วมีงานทา
• พูดได้หลายภาษา
เวทีกลุ่มย่อย 2556
ออกแบบอนาคตรูปแบบการศึกษาที่เหมาะสมกับประเทศไทย ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
จังหวัดขอนแก่น วันที่ 3 สิงหาคม 2556
1.เน้นการฝึกปฏิบัติจริงและกล้าคิดกล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้องในกรอบของคุณธรรมและจริยธรรมอีกทั้งการพัฒนาจิตใจที่เป็น
จุดเด่นของศาสนาและหลักธรรมคาสอนของศาสนา
2.การศึกษาของโรงเรียนในเมืองที่มีทั้งมาตฐานและคุณภาพให้กระจายสู่ชนบทมากขึ้นเพื่อให้ได้ทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล
อย่างเท่าเทียม
3.การศึกษาที่เน้นการปฏิบัติจริงจะนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ที่ยั่งยืน
4.ส่งเสริมให้มีรูปแบบการเรียนที่เน้นการปฏิบัติมากกว่าทฤษฎีโดยมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย
5.การศึกษาภาษาที่มุ่งเน้นภาษาต่างประเทศควบคู่กับภาษาไทยและภาษาถิ่นเพื่อใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจาวันโดยไม่เน้นการ
ท่องจา
เวทีกลุ่มย่อย 2556
ออกแบบนโยบายเศรษฐกิจที่เหมาะสมกับประเทศไทย ณ
มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ 2
กันยายน 2556
1.การกระจายอานาจและลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ
-นโยบายส่งเสริมอาชีพในครัวเรือน
-นโยบายส่งสริมคุณภาพและพัฒนาด้านการเกษตรกรรม
-นโยบายส่งเสริมด้านอุตสาหกรรม การแปรรุปสินค้า
-นโยบายส่งเสริมการลงทุนธุรกิจภายในประเทศและธุรกิจ
ขนาดย่อม
2.ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
-นโยบายส่งเสริมเศรษฐกิยไทยที่ยั่งยืน (เช่น การพัฒนา
อุตสาหกรรมการเกษตร)
-นโยบายการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
-นโยบายส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตร และแปรรูปสินค้า
ทางการเกาตรเพื่อเพิ่มมูลค่า
3.ส่งเสริมการส่งออกและพัฒนาสินค้าสู่สากล
-นโยบายการสร้างแบรนด์ภายในประเทศให้แข็งแรง
-นโยบายดึงพ่อค้าคนกลางออกจากระบบ (โดยให้รัฐเข้ามา
ดูแล)
-นโยบายส่งเสริมการรวมกลุ่มสหกรณ์
-นโยบายส่งเสริมการให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน
4.การเพิ่มมูลค่าทางสินค้า
-นโยบายเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร
-นโยบายลดภาษีน้ามันนาเข้า
-นโยบายสนับสนุนการใช้พลังงานทางเลือก
-นโยบายการจัดตั้งองค์กรพิเศษ หรือกลุ่มเฉพาะ เพิ่มอานาจ
การต่อรองให้เกษตรกร และกาหนดทิศทางราคาให้ไปใน
แนวทางเดียวกัน
-นโยบายส่งเสริมสินค้าทางการเกษตรชนิดอื่นๆให้มากขึ้น
นอกเหนือจาก ข้าวและยางพารา

Contenu connexe

En vedette

รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันTaraya Srivilas
 
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงTaraya Srivilas
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญTaraya Srivilas
 
อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์Taraya Srivilas
 
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานีTaraya Srivilas
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองTaraya Srivilas
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1Taraya Srivilas
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือTaraya Srivilas
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีTaraya Srivilas
 
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นการปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นTaraya Srivilas
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน Taraya Srivilas
 
การบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นการบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
อยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกอยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกTaraya Srivilas
 
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจการปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจTaraya Srivilas
 

En vedette (18)

รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
 
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุงฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
ฐานข้อมูลสตรีเครือข่าย ปรับปรุง
 
iร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญiร่างรัฐธรรมนูญ
iร่างรัฐธรรมนูญ
 
อิสราเอล ปาเลสไตน์
อิสราเอล  ปาเลสไตน์อิสราเอล  ปาเลสไตน์
อิสราเอล ปาเลสไตน์
 
Thai civic org
Thai civic orgThai civic org
Thai civic org
 
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
 
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
สรุปถอดบทเรียน 4ส6 เข้ากรรมการ 1
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
 
Framework 4ส6
Framework 4ส6Framework 4ส6
Framework 4ส6
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
 
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็นการปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
การปฏิรูปด้านสื่อที่อยากเห็น
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
 
การบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นการบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่น
 
อยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลกอยุธยา เมืองมรดกโลก
อยุธยา เมืองมรดกโลก
 
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจการปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การปฎิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
 
สเปน
สเปนสเปน
สเปน
 

Plus de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

Plus de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์

  • 1.
  • 2. เส้นทาง......... เวทีที่ชักชวนคนรุ่นใหม่ใช้ จินตนาการทางความคิด มองภาพอนาคตประเทศ ไทยในอีก 10 ปี ข้างหน้า เพื่อออกแบบสังคมและ วัฒนธรรมใหม่ ประเด็นชวนคิด ครอบคลุม สังคม วัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา เทคโนโลยีและการ สื่อสาร
  • 3. รวมเสียงฝัน..….………...... จ.สงขลา ณ มหาวิทยาลัย ราชภัฎสงขลา 200 คน จ.ขอนแก่น ณ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น 200 คน จ.เพชรบุรี ณ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบุรี 200 คน จ.ชลบุรี ณ มหาวิทยาลัยบูรพา 200 คน จ.นครพนม ณ มหาวิทยาลัย นครพนม 150 คน จ.เชียงใหม่ ณ ถนนนิมมานเหมินทร์ 170 คน 7 จังหวัด รวมนักเรียน นักศึกษา มหาวิทยาลัยและการศึกษานอก ระบบ อาจารย์ และตัวแทน ภาคประชาชน จ.พิษณุโลก ณ มหาวิทยาลัย- นเรศวร 300 คน
  • 4. ……………………………………........ ช่องทางการเผยแพร่... นิทรรศการ ฝัน ประเทศไทย 19 ตุลาคม 2555 สารคดี ฝัน ประเทศไทย รายการ Hot Short Film ทีวีไทย และเทศกาลหนังสั้น รายงาน ไทย อังกฤษ เยอรมัน
  • 5. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 31 กรกฎาคม 2555 การเมือง -ปลอดคอรัปชั่น -ไม่มีระบบอุปถัมภ์ ระบบเส้นสายในการเข้าทางาน -การเมืองมีความมั่นคง มีเสถียรภาพ มีความโปร่งใส ตรวจสอบ ได้ -ประเทศไทยมีสีเดียว หมดการแบ่งสี แบ่งฝ่าย หมดความ ขัดแย้งทางการเมือง -การเมืองไทยใสสะอาด นักการเมืองทาเพื่อประชาชน คานึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม -ประชาชนใช้สิทธิในการเลือกผู้แทน โดยสุจริต -การเลือกตั้งมีความโปร่งใส ประชาชนไม่ขายเสียง -การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นอย่างแท้จริง -ปรับเปลี่ยนกฎหมายให้เข้มแข็ง ไม่เอื้อต่อผู้มีอานาจ -ไม่มีการทะเลาะกันในสภา • มีระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง รัฐบาลยึดหลัก ประชาธิปไตย ฟังเสียงประชาชน • ประชาชนเคารพสิทธิซึ่งกันละกัน เปิดใจ ใช้เหตุผล • ระบบการเมืองที่มีเพียงสองพรรค • นักการเมืองมีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มีจริยธรรม ปฎิบัติหน้าที่ที่ดีในสภา ไม่เห็นแก่พวกพ้อง • ผู้นามีความสามารถ ดูแลประชาชนอย่างเท่าเทียม กัน ไม่มีหลายมาตราฐาน • นักการเมืองรุ่นใหม่ขึ้นมาบริหารประเทศ • ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพ และสามารถมีส่วนร่วมใน การพัฒนาประเทศ • ประชาชนเคารพกฎหมาย และกฎหมายให้ความเป็นธรรม กับประชาชน • การเมืองไทยเปิดโอกาสให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วม ทางการเมือง
  • 6. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 31 กรกฎาคม 2555 สังคม - วัฒนธรรม •มีความเสมอภาค ไม่แบ่งชนชั้น •เป็นสังคมที่ใช้เหตุผล ให้เกียรติกัน เปิดใจรับความต่าง •เคารพกฎหมาย รักษาระเบียบวินัย •อาชญากรรมลดลง •ไม่มีการกระทาความรุนแรงต่อผู้หญิง •คนไทยรัก สามัคคี •สังคมไทยไม่แตกแยก •คนไทยมีสุขภาพดี •การจราจรไม่ติดขัด •ประเทศตะวันตกไม่มองว่าประเทศไทยเป็นประเทศค้ากาม • เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม • คนยึดมั่นในพุทธศาสนา • รู้จักสิทธิและหน้าที่ของตน • ไม่มีความรุนแรง มีความสงบสุข • คนไทยรู้เรื่องเพื่อนบ้าน • ยาเสพติดหมดไปจากสังคม • อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย รวมถึงภาษาและศาสนา • ไม่มีระบบอุปถัมภ์ การฝากงาน • ไม่มีขอทาน • จังหวัดชายแดนใต้มีความสงบสุข • ประเทศไทยคือบ้าน
  • 7. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 31 กรกฎาคม 2555 สื่อสาร เทคโนโลยี •ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ 2 •เทคโนโลยีเทียบเท่าหรือนาหน้าประเทศอื่นๆ • การสื่อสารและคมนาคมสะดวกทุกเขตอาเภอ ครอบคลุมทุกพื้นที่ของประเทศไทย •นา 3 จี มาใช้รักษาผู้อยู่ห่างไกล •วิเคราะห์การรับข่าวสารจากสื่อต่างๆ •มีรถไฟความเร็สูง •มีการจัดการคมนาคมที่ดี •มีสาธรณสุขที่ทันสมัยและเอื้อต่อคนจน เศรษฐกิจ - เป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจ - มีการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน - ผู้นาเศรษฐกิจในอาเซี่ยน - เศรษฐกิจไทยมั่นคง เป็นไปตามกลไกตลาด รัฐไม่ควบคุม - รัฐให้ความสาคัญกับการเษตร เกษตรกรมีรายได้มากขึ้น - สินค้าไทยส่งออกไปทั่วโลก - มีการเชื่อมต่อระหว่างภูมิภาคต่างๆ - มีการกระจายรายได้ที่เหมาะสม และออกสู่ภูมิภาคมากขึ้น - ความเหลื่อมล้าทางรายได้ระหว่างคนจนกับคนรวยลดลง - มีคนจนลดลง - ต่างชาติเข้ามาลงทุนมากขึ้น - ประเทศไทยไม่ต้องกู้เงิน
  • 8. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 31 กรกฎาคม 2555 การศึกษา •เน้นให้คิด ไม่ใช่จา •เด็กไทยได้เรียนมนหลักสูตรที่ตรงต่อความต้องการของผู้เรียน ตรงต่อสาขาวิชาที่เรียน เลือกที่จะเรียนเฉพาะวิชาที่สนใจได้ •คนไทยรักการอ่าน •คุณภาพการสอนของอาจารย์ในเมืองและชนบทมีความเท่า เทียมกัน •มีสื่อการเรียนการสอนที่น่าสนใจและทันสมัย •มีมหาวิทยาลัยมากขึ้น •เด็กไทยพูดภาษาอื่นได้ หลายภาษา •ฟังเสียงของผู้เรียน และคิดถึงประโยชน์ของผู้เรียนเป็นหลัก •เน้นการวิเคราะห์ สื่อสาร และภาษา •มีการเรียนการสอนน้อยลง •มีการจัดการระบบการศึกษาที่ดีและมั่นคง ไม่เปลี่ยนแปลง บ่อย มีเสถียรภาพทางการศึกษา •การศึกษาไทยมีการพัฒนาต่อเนื่อง จริงจัง •คุณภาพการศึกษาเทียบได้กับมาตราฐานสากล •ครูเป็นอาชีพที่ได้เงินเดือนมาก เป็นแรงจูงใจให้มีแต่คนอยาก ทาอาชีพครู •ครูมีคุณภาพมากขึ้น และกระจายครูที่มีความรู้ความสามารถ ไปยังพื่นที่ที่ห่างไกล •เด็กทั่วประเทศได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง เมือง-ชนบท •เน้นการสอนแบบปฏิบัติ ให้เห็นสถานที่จริง ทดลองทาจริง •ไม่เน้นตาราเรียน เน้นให้เข้าใจในการนาไปใช้ประโยชน์ใน อนาคต
  • 9. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา จังหวัดสงขลา วันที่ 12 กันยายน 2555 การเมือง • มีนักการเมืองดี ไม่โกงชาติ ทางานเพื่อประชาชน อย่างแท้จริง และเห็นแก่ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ ส่วนตน • การเมืองมีความมั่นคง • ใช้คาพูดในการเจรจรมากกว่ากาลัง • มีความเป็นประชาธิปไตย • รับบาลใส่ใจในการแก้ปัญหาของปะเทศ • ประเทศมีผู้นาที่ดี รับผิดชอบต่อบ้านเมือง • รัฐบาลยึดหลักประชาธิปไตย ฟังเสียงข้างมาก • การเมืองสุจริต ไม่มีคอรัปชั่น • การเมืองไม่แบ่งสี • ไม่มีการใช้อานาจเหนือกฎหมาย • การเมืองมีความโปร่งใส • พรรคการเมืองปรองดอง ไม่ขัดแย้ง ไม่ทะเลาะกันในสภา • มีนักการเมืองหน้าใหม่มาบริหารประเทศ • คนไทยไม่เอาเปรียบกัน
  • 10. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา จังหวัดสงขลา วันที่ 12 กันยายน 2555 สังคมและวัฒนธรรม • ยาเสพติดหมดไป • คนไทยรัก สามัคคี ปรองดองกัน • ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก ไม่แบ่งสี • ไม่มีคอรัปชั่น • คนไทยมีความเป็นระเบียบ มีความรับผิดชอบ • คนไทยไม่เห็นแก่ตัว • ไม่แบ่งแยกดินแดน • ทุกพื้นที่มีความเจริญเท่าเทียมกัน • ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพเท่าเทียมกัน • คนไทยไม่แตกแยกกัน • ไม่มีความขัดแย้งในสังคม • คนไทยเข้าใจกัน และมีเหตุผล • สังคมไม่แบ่งสี • จังหวัดชายแดนใต้สงบสุข • อนุรักษ์วัฒนธรรม ภาษา ศาสนา • คนไทยมีความเข้าใจซึ่งกันและกัน • ไม่แบ่งแยกชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา • ทกศาสนาสามารถอยู่ร่วมกันได้ โดยไม่ก้าวก่ายกัน ไม่ดู หมิ่นศาสนาอื่นที่ไม่ใช่ของตน • ไม่มีความขัดแย้งในสังคม • ยอมรับความรักของเพศเดียวกัน
  • 11. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา จังหวัดสงขลา วันที่ 12 กันยายน 2555 การศึกษา • เด็กไทยเก่งภาษาอังกฤษ • ทุกคนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง • การศึกษาของเด็กไทยมีการพัฒนาทัดเทียมกับชาติอื่นๆ • การศึกษามีเสถียรภาพ • เด็กไทยอ่านหนังสือมากขึ้น • ระบบการศึกษามีคุณาพ สิ่งแวดล้อม • มีป่าไม้อุดมสมบูรณ์ เศรษฐกิจ • อุตสาหกรรมก้าวไกล • ความยากจนหมดไป ประชาชนอยู่ดีกินดี • การเปลี่ยนแปลงของชนบทเป็นสังคมเมือง • ไม่มีคนจน • มีการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติมากขึ้น • คนไทยมีอาชีพมั่นคง • ราคาของถูกลง • ราคายางสูงขึ้น
  • 12. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น วันที่ 14 กันายายน 2555 การเมือง •เคารพเพื่อนบ้าน •ประชาชนเห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก •ประเทศไทยมีพรรคการเมืองเพียง 2 พรรค •ประชาชนไม่ถูกหลอกใช้เพื่อเข้าสู่อานาจทางการเมือง •คนไทยรักกัน สามัคคีกัน ไม่แบ่งฝักแบ่งฝ่าย แบ่งสี •ไม่มีการคอรับชั่น •นักการเมืองไม่ทุจริต ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก •ประเทศมีเอกภาพเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน •มัรัฐบาลที่ดี มีผู้นาที่ดี มีศักยภาพความเป็นผู้นา แก้ปัญหาได้ ไม่ทุจริตคอรับชั่น ไม่เอื้อประโยชน์แก่ตน และพวกพ้อง ทาเพื่อประโยชน์ส่วนรวม •มีความเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง •คนไทยไม่ทะเลาะกัน ไม่แตกแยก •ไม่มีความขัดแย้งทางการเมือง •สมาชิกรัฐสภาไม่ใช้ความรุนแรงในสภา •คนรากหญ้ากินดี อยู่ดี ไม่โดนเอาเปรียบ มีส่วนร่วมในการ พัฒนาท้องถิ่นของตนเองอย่างเสรีและยั่งยืน •ประเทศไทยมีความสงบสุข ปรองดอง •ปกครองบ้านเมืองอย่างเป็นธรรม •นักการเมืองทาตามความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง •กฎหมายมีความเป็นธรรม เพิ่มมาตราการการลงโทษแก่ ผู้กระทาผิดให้หนักขึ้นและมีบทลงดทษที่เด็ดขาด •ท้องถิ่นไทยเข้มแข็ง
  • 13. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น วันที่ 14 กันายายน 2555 สังคมและวัฒนธรรม • ความยากจนหมดไปคนในท้องถิ่นมีความเป็นอยู่เท่าเทียม กับภูมิภาคอื่นๆในสังคม ความแตกต่างระหว่างชนชั้น ลดลง • ไม่มีขอทาน คนเร่ร่อน • คนไทย รัก สามัคคี ปรองดอง • คนไทยมีระเบียบ วินัย • ไม่มีความเหลื่อมล้าในสังคม • กีฬาไทยไปเวทีโลก • อนุรักษ์ไว้ซึ่งวัฒนธรรม ประเพณี และการใช้ภาษาไทย อย่างถูกต้อง • ประเทศมีความสงบสุข • คนไทยไม่นิยมของนอก เที่ยวในประเทศ • รักท้องถิ่น รักประเทศ • อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น สังคมและวัฒนธรรม •คนไทยใช้เหตุผลในการแยกแยะ ยอมรับฟังความเห็นต่าง รับ ฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน •เป็นศูนย์กลางของอาเซี่ยนด้านอาหาร •ไม่มีความรุนแรง •ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพเท่าเทียมกัน และเคารพในสิทธิ ของกันและกัน •สังคมมีความเสมอภาค มีความยุติธรรม ไม่เป็นระบบอุปถัมภ์ ถูกว่าไปตามถูกผิดว่าไปตามผิด •ปัญหาความขัดแย้งในชายแดนใต้หมดไป ภาคใต้มีแต่ความ สงบสุข ไม่มีเหตุการณ์รุนแรง •เป็นผู้นาในอาเซี่ยนในทุกด้าน •สังคมปลอดยาเสพติด •ไม่มีปัญหาจังหวัดชายแดนใต้ •คดีอาชญการรมลดลง •กฎหมายมีความศักดิ์สิทธิ์
  • 14. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น วันที่ 14 กันายายน 2555 สังคม • ทุกคนมีสิทธิเท่ากัน ควรได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน ไม่แบ่งชนชั้น ความจน-รวย • ไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา • ทุกศาสนาอยู่ร่วมกันได้ แต่ต้องเคารพซึ่งกันและกันไม่ดู หมิ่นศาสนาที่ไม่ใช่ศาสนาของตัวเอง • พัฒนาชนบทในทุกๆด้าน • คนไทยไม่โกงราคาคนต่างชาติ • ไม่มียาเสพติด • ไม่มีการค้ามนุษย์ • คนแต่ละศาสนามีความเข้าใจซึ่งกันและกัน • พระเจ้าอยู่หัวสุขภาพแข็งแรง • ยอมรับในความรักของเพศเดียวกัน • คนไทยไม่ฆ่ากันเอง • มีวัฒนธรรมที่เด่นชัดมากขึ้น การศึกษา • ระบบการศึกษาที่กระจายโอกาสให้แก่เด็กชนบท เด็กด้อย โอกาสอย่างทั่วถึง มีการตรวจสอบ ติดตามผลโดย หน่วยงานการศึกษาในพื้นที่ – เด็กที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลได้เรียนหนังสือและมี อุปกรณ์เหมือนเด็กในเมือง – ทุกคนมีโอกาสได้เรียน • คุณภาพการศึกษาไทยอยุ่ในระดับมาตราฐานสากล • การศึกษาที่เรียนแล้วนาเอาความรู้ไปใช้ได้จริง ไม่ใช่เรียน เพื่อสอบ • ไม่เน้นที่ตาราเรียน การท่องจา ไม่เน้นให้ทาตาม แต่เน้น ให้คิดเป็น • ผู้มีอานาจเกี่ยวข้องกับการศึกษาเห็นความสาคัญด้าน การศึกษาอย่างแท้จริง • เด็กอีสานได้เรียนภาษาจีน • มีบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสังคมและประเทศ
  • 15. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น วันที่ 14 กันายายน 2555 เศรษฐกิจ • มีความมั่นคง มีเสถียรภาพ • เป็นศูนย์กลางการค้าการส่งออก มีนักลงทุนมาลงทุนมาก • มีการติดต่อค้าขายที่เสรี ไม่ผูกขาด • ชาวบ้านมีรายได้มั่นคง ไม่มีหนี้ • อัตราคนว่างงานลดลง อัตราความยากจนลดลง • ช่องว่าระหว่างคนจน-คนรวยลดลง • เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของอาเซี่ยน • ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี • ประชาชนมีงานทา • คนไทยได้ทางานหรือสามารถแข่งขันกับกลุ่มอาเซี่ยนได้ • ประเทศไทยถือครองหุ้นในบริษัทมากกว่า 50% • ไม่มีปัญหาเรื่องแรงงาน • มีความก้าวไกลด้านการท่องเที่ยว การศึกษา •การศึกษาไทยพัฒนาไปทั่วทุกภูมิภาคให้ทุกคนได้มีโอกาส เรียน สื่อสาร เทคโนโลยี •คนไทยรับข้อมูลข่าวสารหลากหลายช่องทางและวิเคราะห์เป็น •เทคโนโลยีเข้าถึงในทุกพื้นที่
  • 16. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น วันที่ 14 กันายายน 2555 สิ่งแวดล้อม •แม่น้าใสสะอาด ปราศจากขยะ •ป่าไม้อุดมสมบูรณ์ •การคมนาคมสะดวกสบายไม่มีมลพิษ •มีการพัฒนา อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ปราศจากมลพิษ •มีการจัดการสิ่งแวดล้อม มลพิษ ของเสียที่ออกจาก โรงงานอุตสาหกรรม •มีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น •มีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น มีต้นไม้มากขึ้น คมนาคม •มีเส้นทางการจราจรของจักรยานและมีที่จอดสาธารณะ •โครงการจักรยานคันแรก มีช่องทางจราจรของจักรยาน และมีที่จอดจักรยาน •มีรถไฟความเร็วสูง
  • 17. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี วันที่ 19 กันายายน 2555 การเมือง • ไม่แบ่งแยกสี แยกฝ่าย ไม่ทะเลาะกัน • ประเทศไทยไม่มีการประท้วง • ประเทศไทยมีความสงบสุข • คนไทยไม่โกง • ประเทศไทยปลอดคอรัปชั่น • นักการเมืองไม่โกง • คนไทยไม่ใช้ความรุนแรงในการตัดสินปัญหา ใช้ เหตุผลในการตัดสินปัญหา • กฎหมายมีความเคร่งครัด • ผู้บริหารประเทศเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า ส่วนตัว การเมือง • หลักคุณธรรมนาการเมือง • มีเสถียรภาพทางการเมือง • รัฐบาลให้ความใส่ใจประชาชน • ประชาชนที่มีสิทธิ์ ออกไปใช้สิทธิในการเลือกตั้งทุก ครั้ง
  • 18. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี วันที่ 19 กันยายน 2555 สังคมและวัฒนธรรม • คนไทยไม่แบ่งชนชั้น ไม่ดูถูกคน • ไม่มีแบ่งแยกรหว่างคนจน คนรวย • คนไทยยอมรับฟังความคิดเห็นของแต่ละฝ่าย คิด ต่างก็ยังคุยกันได้ • จังหวัดชายแดนใต้สงบสุข ไม่แบ่งแยกดินแดน • ปัญหายาเสพติดหมดไป • คนไทยรัก สามัคคี ไม่รบกันเอง • ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก ไม่แตกแยกทางความคิด ใช้ เหตุผลในการคิดอย่างวิเคราะห์วิจารณ์ไปตามหลัก แห่งความถูกต้องและความยุติธรรม ไม่มีอคติ • สังคมมีความยุติธรรม • คนไทยพูดได้หลายภาษา และพูดภาษาอังกฤษเก่ง • เด็กไทยมีคุณธรรม • ทุกชุมชน ทุกหมู่บ้านมีความสะดวกสบายเท่าเทียม กัน • ทาตามกฎระเบียบ ไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล • อนุรักษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ ศาสตร์ เก่าแก่ • พระเจ้าอยู่หัวมีสุขภาพแข็งแรง • ไม่มีปัญหาน้าท่วม • คนไทยมีเหตุผลและรู้จักหน้าที่ของตน • ไม่มีคนเร่ร่อน • ชาย – หญิง มีสิทธิเท่าเทียมกัน • คนไทยมีกิจกรรมที่ทาร่วมกันมากขึ้น • คนไทยปรับตัวรับอาเซี่ยนได้
  • 19. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี วันที่ 19 กันยายน 2555 คมนาคม – สื่อสารมวลชน – เทคโนโลยี • รถไฟฟ้ามีการเชื่อมต่อขยายวงกว้างมากขึ้น • มีรถไฟฟ้าทุกจังหวัด • รถไฟฟ้าความเร็วสูง • คนทยใช้รถสาธารณะส่วนรวมมากขึ้น • ประเทศไทยมีเทคโนโลยีทันสมัย เป็นผู้นาด้าน เทคโนโลยีในอาเซี่ยนและทัดเทียมกับนานาประเทศ • เทคโนโลยีครอบคลุมทั่วถึงทุกพื้นที่ สิ่งแวดล้อม • ประเทศไทยสีเขียว มีสภาพแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์ มีธรรมชาติสวยงาม อากาศบริสุทธิ์ น้าใสสะอาด ไม่ มีมลพิษ • นาขยะมารีไซเคิลมากขึ้น • ลดการใช้วัสดุที่ทาลายสิ่งแวดล้อม • อนุรักษ์ รักษาป่า • คนไทยปลูกผักสวนครัวมากกว่าซื้อในตลาด • คนไทยใช้พลังงานน้อยลง • ประเทศไทยผลิตพลังงานธรรมชาติเอง
  • 20. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี วันที่ 19 กันายายน 2555 การศึกษา •เด็กไทยได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง •เด็กในชนบทและเด็กด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษา •ระบบการศึกษาได้รับการบูรณาการให้มีความทัดเทียม ต่างประเทศ •ไม่มองที่สถาบันการศึกษา แต่ดูที่ความสามารถ ความรู้ของ บุคคล ไม่แบ่งแยกว่าดรงเรียนในเมือง หรือชนบท •การศึกษาไทยมีคุณภาพ •คนไทยทุกคนเรียนจบปริญญาตรี •คนไทยเรียนรู้ภาษาองักฤษ และภาษาในอาเซี่ยนเพื่อโอกาส ต่างๆ •นาเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ในการเรียนการสอน เศรษฐกิจ •ประเทศไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ •ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของประชาคมโลก •ประเทศไทยเป็นเมืองอุตสาหกรรม •เป็นผู้นาการส่งออกสินค้าไปต่างประเทศ •เป็นเมืองท่องเที่ยว •ทุกคนมีงานทา มีชีวิตที่ดี •คนจนมีโอกาสเข้าทางานดีๆได้ มีรายได้มั่นคง •หลักเศรษฐกิจพอเพียง •เป็นที่หนึ่งในการส่งออกอาหาร เป็นครัวโลก
  • 21. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี วันที่ 27 กันายายน 2555 สังคมและวัฒนธรรม • ประชากรมีความเจริญทางความคิด • อนุรักษ์โบราณสถาน วัฒนธรรมและประเพณีไทยคงอยู่ เหมือนเดิม • อนุรักษ์การใช้ภาษาไทย และใส่ชุดไทยในงานพิธี • คนที่ไม่เข้าใจกันหันหน้ามาคุยและปรับความเข้าใจกัน • คนไทยรักกัน • ไม่แบ่งพวก แบ่งฝ่าย แบ่งสี • ไม่แบ่งชนชั้น • เคารพความคิดเห็นของคนอื่น • คนชราได้รับการดูแล ไม่ถูกทอดทิ้ง • คนไทยมีควาสามัคคี • ประเทศไทยใสสะอาด • คนไทยไม่ทะเลาะกัน • รถไม่ติด • คนมีงานทา • คนไทยเห็นแก่ส่วนรวม • ใช้อธิปไตยในการใช้ชีวิตประจาวัน • รัฐบาลฟังความเห็นของประชาชนเป็นหลัก • คนไทยใช้อานาจ • หมดปัญหา เสื้อแดง – เสื้อเหลือง • คนไทยเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วน ตน • คนไทยอยู่ด้วยวิถีประชาธิปไตย • เกษตรกรรากหญ้ามีความเป็นอยู่ไม่ลาบาก • คนด้อยโอกาส คนพการสามารถสร้างรายได้ได้
  • 22. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี วันที่ 27 กันยายน 2555 สังคมและวัฒนธรรม •กลับมาเป็นประเทศเกษตรกรรม •เป็นศูนย์กลางของอาเซี่ยน •ประเทศไทยใความสงบสุข •คนไทยซื่อสัตย์ ไม่โกง •สยามเมืองยิ้ม •เคารพกฎบ้านเมือง •ใช้เหตุผลในการคุยกัน •เป็นประเทศที่เจริญแล้ว •จังหวัดชายแดนใต้สงบสุข •ยอมรับความแตกต่างทางสังคม วัฒนธรรม •มีเสรีภาพทางความคิด ยอมรับความเห็นต่าง • ทุกคนได้รับสิทธิการรักษาอย่างดีและไม่มีการแบ่งแยกชนชั้น • สังคมที่มีความเท่าเทียม ไม่มีผู้มีอานาจ • สังคมเปิดโอกาสให้คนทุกชนช้น มีสิทธิเท่าเทียมกัน • มีชื่อเสียงด้านวัฒนธรรม ภาษา อาหาร • ตัดสินรับคนเข้าทางานจากความรู้ความสามารถ ไม่ใช่เส้นสาย และประเมินคนจากความสามารถ • มองทุกคนมีศักดิ์ศรีความเป็นคนเท่ากัน • มองเห็นว่าเงินไม่ใช่ทุกอย่าง ซื้อไม่ได้ทุกอย่าง • คนไทยไม่แก่งแย่ง ชิงดีชิงเด่น กัน • คนไทยรับผิดชอบต่อหน้าที่พลเมืองที่ดี • เปิดโอกาสให้คนที่เคยติดคุกได้อยู่ในสังคม • คนไทยกล้าแสดงความคิดเห็น
  • 23. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี วันที่ 27 กันายายน 2555 การศึกษา •เด็กไทยในชนบทและเมืองมีโอกาสเท่าเทียมกันด้าน การศึกษา การศึกษาเข้าถึงคนทุกระดับ •รบบการศึกษาทัดเทียมกับประเทศอื่นๆที่พัฒนาแล้ว •ระบบการศึกษาเน้นการเรียนแบบปฏิบัติจริง ไม่ใช่แค่ ท่องทฤษฎี •มีระบบการศึกษาที่มั่นคง •การศึกษาผ่านอินเตอร์เน็ต •คนไทยพูดภาษาอังกฤษได้ทุกคน •มีกระบวนการสรรหาครูที่มีคุณภาพ •ระบบการศึกษาที่เน้นความต้องการของผู้เรียนเป้นหลัก นักเรียน นักศึกษามีเสรีภาพในการเลือกในสิ่งที่อยาก เรียนตั้งแต่ระดับมัธยม •มีบุคคลากรเพียงพอต่อจานวนนักเรียน เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม •มีธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ มีแต่ป่าสีเขียว •ปลอดมลพิษ ปลอดขยะ •ใช้เทคโนโลยีทันสมัยเพื่อการตรวจสอบอานาจต่างๆ ในสังคม •ใช้รถยนต์น้อยลง ใช้จักรยานมากขึ้น •มีเทคโนโลยี 3G 10G ครอบคลุมทั่วประเทศจริงๆ และทุกคนมีโอกาสได้ใช้
  • 24. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี วันที่ 27 กันยายน 2555 เศรษฐกิจ •ประเทศไทยมีตลาดผลไม้ส่งออกไปทั่วโลก •มีแหล่งอาชีพในชุมชนที่ทันสมัย •ประชาชนอยู่ดีกินดี ข้าวของไม่แพง ค่าครองชีพไม่สูง •แก้กฎหมายแรงงานให้มีความเป็นสากล •มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ •ประเทศไทยไม่เป็นหนี้ •ครัวไทยสู่ครัวโลก •เศรษฐกิจไทยสามารถแข่งขันในตลาดโลก •เศรษฐกิจไทยเป็นทุนนิยมเสรีจริงๆ ไม่มีการผูกขาดกับ คนไม่กี่กลุ่ม การเมือง •ประเทศไทยมีแต่ความยุติธรรมและเท่าเทียมกันอย่าง แท้จริง •ได้คนดีเป็นผู้นา •มีคนรุ่นใหม่เข้าไปบริหารประเทศมากขึ้น •นักการเมืองและข้าราชการไม่โกงการเมืองท้องถิ่นก้าว เข้าสู่ความเป็นสากล •มีการกระจายทรัพยากรที่ครอลคลุมทั่วถึงทั้งประเทศ ไม่ใช่แค่พัฒนากรุงเทพ •ปลอดคอรับชั่น •ไม่มีความขัดแย้งด้านการเมือง •กฎหมายมีค่า บังคับใชัได้จริง •ไม่ใช้ความรุนแรงในการตัดสินความขัดแย้ง •ใช้สิทธิเลือกตั้งผู้แทน และรับผิดชอบต่อการตัดสินใจใน การเลือกผู้แทน
  • 25. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนครพนม จังหวัดนครพนม วันที่ 2 ตุลาคม 2555 การเมือง •ปลอดคอรัปชั่นทั้งภาครัฐและเอกชน •การเมืองมีเสถียรภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ •หมดการแบ่งสี แบ่งฝ่าย แบ่งพรรคพวก หมดความขัดแย้งทาง การเมือง •ไม่ใช้ความรุนแรงในสภา •นักการเมืองเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน •มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น •การเลือกตั้งมีความโปร่งใส ประชาชนไม่ขายเสียง •การกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นอย่างแท้จริง •ปรับเปลี่ยนกฎหมายให้เข้มแข็ง ไม่เอื้อต่อผู้มีอานาจ •ประชาชนที่มีสิทธิเลือกตั้งใช้สิทธิของตนเลือกผู้นาอย่าง ไตร่ตรองว่าผู้แทนนั้นจะทาประโยชน์ให้ส่วนรวม •ไม่มีความขัดแย้งทางการเมือง •การเมืองไทยเป็นประชาธิปไตยมากกว่านี้ •การเลือกตั้งมีความโปร่งใส •รัฐบลต้องมีความยุติธรรมในการบริหารประเทศ •รัฐบาลเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็น •ประชาชนต้องรักษาสิทธิ ไม่ขายเสียง และต้องตรวจสอบการ ทางานของผู้แทนที่เลือกมา •ไม่มีข้าราชการทุจริต
  • 26. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนครพนม จังหวัดนครพนม วันที่ 2 ตุลาคม 2555 สังคม – วัฒนธรรม •คนไทยรัก สามัคคี มีความสงบสุข •คนไทยไม่ทะเลาะกัน ไม่ฆ่ากันเอง •ไม่แตกแยก ไม่แบ่งพรรคพวก ไม่แบ่งสี ไม่มีสีแดง สีเหลือง •ไม่มีความขัดแย้งในสังคม •ไม่แบ่งชนชั้น •เป็นสังคมที่ใช้เหตุผล ไม่ใช้ความรุนแรงในการตัดสินปัญหา •เกษตรกรไม่เป็นหนี้ •ผู้นาเป็นตัวอย่างที่ดี ไม่ทุจริต •ปัญหายาเสพติดลดลง •ปัญหาเด็กถูกทอดทิ้งลดลง •จังหวัดชายแดนใต้มีความสงบสุข •ไม่แบ่งแยกศาสนา • ไม่มีความแตกแยกระหว่างคนจน คนรวย • ปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรลดลง • คนไทยอนุรักษ์วัฒนธรรม และประเพณี • ประชาชนปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด • ประเทศไทยสงบสุข • คนไทยเคารพซึ่งกันและกัน ยอมรับซึ่งกันและกัน มีสิทธิ เสรีภาพเท่าเทียมกัน • ประเทศไทยไม่เป็นหนี้ • คนไทยไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนมากกว่าส่วนรวม • มีแต่รอยยิ้ม
  • 27. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนครพนม จังหวัดนครพนม วันที่ 2 ตุลาคม 2555 การศึกษา •มีสื่ออุปกร์การเรียนการสอนทั่วทุกพื้นที่ •มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาการศึกษามากขึ้น •มีการรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติ การศึกษา •ทัดเทียมต่างประเทศ •นโยบายการศึกษาที่แน่นอนไม่เปลี่ยนตามการเมือง •เด็กทั่วประเทศได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง สามารถอ่านออก เขียนได้ •ปรับวิธีการสอนให้เด็กมีอิสระทางความคิด สามารถ แลกเปลี่ยนกับต่างประเทศผ่านระบบออนไลน์ •เด็กด้อยโอกาส เด็กต่างด้าว เด็กพิการ มีโอกาสทางการศึกษา •ครูมีจรรยาบรรณความเป็นครู รักในอาชีพของตน •ครูได้รับเงินเดือนมากขึ้น •มีแนวทางที่แน่นอนเกี่ยวกับครุศาสตร์และใบประกอบวิชาชีพที่ มั่นคงถาวร ไม่เปลี่ยนไปตามรัฐบาล
  • 28. ข้อสรุปจากเวที มหาวิทยาลัยนครพนม จังหวัดนครพนม วันที่ 2 ตุลาคม 2555 สื่อ •นาเสนอข่าวที่เป็นกลาง •เทคโนโลยีเป็นสื่อการสอนอย่างกว้างขวาง ทั่วถึง เข้าถึง ชนบท •นวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัย สิ่งแวดล้อม •ปัญหามลพิษทางอากาศและทางน้าลดลง เศรษฐกิจ •งานมีพอสาหรับคน •ช่องว่างทางรายได้ระหว่างคนจน คนรวยลดลง •เกษตรกรทาให้เศรษฐกิจเติบโต เกษตรกรรักในอาชีพของตน •สินค้าไทยส่งออกไปทั่วโลก •มีการกระจายรายได้ที่ดี •เป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมาก •อุดหนุนสินค้าไทยมากขึ้น
  • 29. ข้อสรุปจากเวที จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 4 ตุลาคม 2555 สังคม – วัฒนธรรม -คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม -ประชาชนเข้มแข็งตรวจสอบภาครัฐ-เอกชนได้ -วัดคุณภาพชีวิตจากค่าความสุขมวลรวมแทนจีดีพี -ยาเสพติดหมดไป -ใช้เหตุผลในการพูดคุย เคารพความคิดเห็นผู้อื่น -ประชาชนมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น -มีบริการขนส่งสาธารณะที่ดี -ภาคใต้มีความสงบสุข ไม่ลุกเป็นไฟ -ไม่แบ่งชนชั้น รวย-จนไม่มียศฐาบรรดาศักดิ์ -คนยากจนลดลง -เมืองไทยใสสะอาดปราศจากคอรัปชั่น -จงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์ - ยอมรับซึ่งกันและกัน ฟังเหตุผลซึ่งกันและกัน - รัก-สามัคคี - ไม่แตกแยก ไม่แบ่งพรรค-พวก ไม่แบ่งสี - อนุรักษ์วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย - คนมีความซื่อสัตย์ ไม่โกง มีศีลธรรม - จงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์ - ยึดมั่นในศาสนา มีคุณธรรม ศีลธรรม - ชนชั้นล่างพึ่งพาตนเองได้ - ไม่มีอาชญากรรม - คนไทยมีวินัย - ละครไทยไม่มีเรื่องเกี่ยวกับเพศ เช่น ข่มขืน อิจฉาริษยา ฆาตกรรม
  • 30. ข้อสรุปจากเวที จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 4 ตุลาคม 2555 การเมือง - รัฐบาลบริหารงานด้วยความเป็นธรรม - มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบเต็มรูแบบ - มีผู้นาดี มีความรับผิดชอบ ไม่ทุจริต - คนรุ่นใหม่เป็นนักการเมืองทั้งสภา - ไม่มีปัญหาอุทกภัย มีระบบการจัดการน้าที่ดี - กระจายอานาจจากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น ประชาชนมีส่วน ร่วมในนโยบายสาธารณะ • ปลอดคอรัปชั่น • นักการเมืองปรองดองกัน และไม่โกง - นักการเมืองมีจริยธรรมการเมืองเห็นแก่ประชาชนเป็น หลัก - เป็นรัฐสวัสดิการ ดูแลเรื่องสุขภาพอนามัยให้กับประชาชน - การเมืองไร้สี ไม่มีแดง เหลือง - การเมืองไม่ขัดแย้ง นักการเมืองทาเพื่อส่วนรวม - ประชาชนมีสิทธิแสดงความคิดเห็นในสภา เศรษฐกิจ - ประชาชน อยู่ดี กินดี มีคุณภาพชีวิตเทียบเท่าประเทศที่ พัฒนาแล้ว - เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว - การกระจายรายได้ ขึ้นอยู่กับความสามารถ - ส่งเสริมอาชีพให้ผู้ด้อยโอกาส - เป็นผู้นาในการส่งออก - มีตัวชี้วัดเศรษฐกิจสีเขียว - มีการแข่งขันที่เป็นธรรม - คนหันมาทาเกษตกรรมเพิ่มขึ้น อุตสาหกรรมลดลง - รัฐส่งเสรมด้านการเกษตรมากขึ้น - มีเกษตรปลอดสารพิษ 100 % - คนต่างชาติมาลงทุนในประเทศเพิ่มขึ้น คนไทยมีรายได้ เพิ่มขึ้น - ความยากจนลดลง - ไม่มีคนตกงาน
  • 31. ข้อสรุปจากเวที จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 4 ตุลาคม 2555 การศึกษา - มีการศึกษาที่ทั่วถึง - ทุกคนจบปริญญาตรี - เด็กไทยไปฝึกงานต่างประเทศ - คนไทยพูดได้หลายภาษา เวียดนาม ลาว พม่า จีน ญี่ปุ่น - นักเรียนไทยไม่ต้องเรียนพิเศษ - มีอิสระทางการศึกษา - ระบบการศึกษามีมาตราฐาน - เปิดโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง - ไม่ต้องสอบก่อนเข้าเรียน เพื่อให้โอกาสแก่ทุกคน - นักเรียนได้มีสิทธืเลือกเรียนในสิ่งที่ตัวเองถนัด - การศึกษาไทยเป็นที่ยอมรับใน ASEAN - คุณภาพการศึกษาไทยแข่งขันได้กับต่างชาติ - เด็กไทยพูดภาษาอังกฤษได้ทุกคน สิ่งแวดล้อม - ไม่มีขยะ - เป็นประเทศสีเขียว เทคโนโลยี - เป็นผู้คิดค้นเทคโนโลยีที่ทันสมัย - มีระบบการสื่อสารที่ก้าวไกล • ใช้ภูมิปัญญาแทนเทคโนโลยี • หนังไทยไม่มีเรื่องทางเพศ อิจฉาริษยา ฆาตกรรม - สื่อมีคุณภาพ รายงานข้อเท็จจริง - ประชาชนทุกคนเข้าถึงเทคโนโลยี มี Wi Fi ทั่วประเทศ - ใช้เทคโนโลยีทดแทนแรงงานคน - มี 3G 10G ในการสื่อสาร - มีขนส่งสาธรณะทันสมัย - นาเทคโนโลยีมาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อลดการใช้ แรงงานคน เพิ่มปริมาณลผลิต
  • 32. เวที กรุงเทพมหานคร 19 ตุลาคม 2555 สังคม-วัฒนธรรม • คนไทยมีโอกาสในการเลือกเส้นทางชีวิต • คนไทยอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ • คนไทยไม่โกง • คนไทยมีความซื่อสัตย์ • ไม่มีแว้น • ไม่เล่นหวย • คนไทยรักการอ่าน • เมืองไทยเป็นเมืองแห่งสวนสาธารณะ ครอบคลุมทุกชุมชน • คนไทยบริโภคศิลปะมากขึ้น • ปลอดยาเสพติด • เป็นเมืองที่ดูแลผู้สูงอายุ • คนไทยรัก สามัคคี ให้อภัยกัน • มีความเท่าเทียมในสังคม • แตกต่างแต่ไม่แตกแยก • ไม่ทะเลาะกัน • ไม่แบ่งฝักแบ่งฝ่าย แบ่งสี แบ่งพวก • เคารพในความเป็นมนุษย์ของทุกคน เปิดใจรับฟังกันด้วย ความเข้าใจและอย่างมีเหตุผล • มีนโยบายที่เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร • คนส่วนมากมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและ วางแผนอนาคต • ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการออกแบบปรับปรุงและ แก้ไขปัญหาในชุมชนของตัวเอง • คนไทยตัวสินใจได้เอง โดยไม่ต้องมีคนชี้นา • เป็นสังคมพหุเอกานิยม อยู่ร่วมกันได้บนเอกภาพที่มีความ แตกต่างหลากหลาย • เยาวชนเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น
  • 33. เวที กรุงเทพมหานคร 19 ตุลาคม 2555 สังคม • ไม่มีความเหลื่อล้าทางสังคม • คนไทยมีวินัย • มีการปฏิรูปที่ดิน • คนไทยจ่ายภาษี • ใช้ภาษีอัตราก้าวหน้า • คนไทยมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรเท่ากัน การศึกษา • คนไทยได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกันคนเคารพ ยอมรับกันด้วยความสามารถ ไม่ใช่ปริญญาบัตร • ครูผู้สอนมีจรรยาบรรณ • เด็กไทยเก่งเพราะคิด-ทา ไม่ใช่เพราะ ท่อง จา • ปฏิรูปการศึกษา • บริหารงบประมาณการศึกษาโดยเน้นที่คุณภาพและ โอกาส • ระบบการศึกษาที่รับรองใช้ได้จริงหลังเรียนจบ • การศึกษาที่มีคุณภาพ เป็นมาตราฐานที่เท่าเทียมกันและ ทั่วถึง ให้เยาวชนคิดเป็นและคิดเพื่อส่วนรวม • เยาวชนให้ความสาคัญกับการศึกษา • เด็กไทยไม่ต้องเรียนพิเศษ • การศึกษาที่ทัดเทียมต่างประเทศ
  • 34. เวที กรุงเทพมหานคร 19 ตุลาคม 2555 เทคโนโลยี/สิ่งแวดล้อม • พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร • wifi ทั่วไทย • มีรถไฟฟ้าครบทุกสายทั่วประเทศ • ระบบรถไฟของไทยก้าวหน้า • ไม่มีรถติด • มีรถวิ่งบนถนนน้อยลง • ระบบขนส่งสาธารณะได้รับการพัฒนาให้มีความ สะดวกสบาย ประหยัด ปลอดภัย • ทางเดินเท้ามีมากขึ้น เศรษฐกิจ • ศุนย์กลางอาเซี่ยน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาส ความก้าวหน้า • ทุกจังหวัดของประเทศมีความเจริญก้าวหน้า • คนไทยมีความเป็นอยู่ดีขึ้น • ปัญหาความยากจนลดลง • ช่องว่าเรื่องรายได้แคบลง • ไม่มีคนตกงาน มีอาชีพที่มั่นคง • ประเทศไทยสามารถกาหนดราคาข้าวในตลาดโลกได้ อย่างอิสระ • เป้นประเทศท่พัฒนาแล้วด้านเศรษฐกิจ ประชาชนทุก ครัวเรือนมีรายได้อย่างทั่วถึง
  • 35. เวที กรุงเทพมหานคร 19 ตุลาคม 2555 การเมือง • การคอรัปชั่นหมดไป • มีการปกครองแบบกลมๆ มีการกรจายอานาจสู่ท้องถิ่น กระจายความเจริญออกจากกรุงเทพ • ไฟใต้สงบ • ความยุติธรรมในเหตุการณ์ตากใบ • ผู้นามีความรับผิดชอบต่อสังคม • มีนักการเมืองที่มีคุณภาพ ทางานเพื่อส่วนรวม • ไม่มีการซื้อสิทธิ ขายเสียง • การเมืองโปร่งใส
  • 36. เวทีสัมมนาแกนนานิสิตนักศึกษาสตรีมุสสลิมแห่งประเทศไทย 15 มีนาคม 2556 การเมือง • หมดปัญหาการคดโกง • ผู้นามีคุณภาพ ยุติธรรม • คิดถึงส่วนรวมมากกว่าผลประโชน์ตัวเอง • พัฒนาทุกส่วนของประเทศ ไม่ใช่แค่เมืองหลวง สังคม • รักษาความเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นไทยให้คง อยู่ไว้ • ความเหลื่อมล้าทางสังคมลดลง • ไม่แบ่งแยกชนชั้น วรรณะ ศาสนา • แตกต่างทางความคิด แต่ไม่แตกแยกในสังคม • มีความเป็นระเบียบ มีวินัย • มุสลิมในประเทศสามารถแสดงออกซึ่งความเป็น มุสลิมได้อย่างเสรี เช่น คลุมผ้า ปิดหน้า • เป็นสังคมที่มีความเป็นพี่น้อง สามัคคีกัน • เยาวชนไทยกล้าแสดงออก • ประเทศไทยไร้เหล้า-เบียร์ สิ่งมึนเมา • เป็นสังคมสงบสุข
  • 37. เวทีสัมมนาแกนนานิสิตนักศึกษาสตรีมุสสลิมแห่งประเทศไทย 15 มีนาคม 2556 การศึกษา • มีความเท่าเทียมทางการศึกษา พื้นที่ห่างไกลได้รับ โอกาสทางการศึกษาเท่ากับพื้นที่ๆมีความเจริญ • มีนโยบายเรียนฟรีเพื่อให้เด็กได้รับการศึกษาอย่าง เต็มที่ เด็กด้อยโอกาสทุกคนได้เรียนหนังสือ • มีการกระจายอานาจด้านการศึกษาให้ตอบรับกับแต่ ละท้องถิ่น แต่ละท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการออกแบบ การศึกษาของตนเอง • ครูมีคุณภาพ • ส่งเสริมการเรียนภาษาต่างประเทศ ภาษาอาเซี่ยน เพื่อสื่อสารกับเยาวชนในประเทศอาเซี่ยน • คุ้มครองสิทธิมนุษยชน หากยังเป็นผู้ต้องสงสัย ต้อง ไม่ปฏิบัติเช่นเดียวกับผู้ต้องหา เศรษฐกิจ • มีจีดีพี เพิ่มขึ้น • มีความเท่าเทียมในการกระจายรายได้ • ไม่ควบคุมราคาสินค้า
  • 38. Dream South: อนาคตจังหวัดชายแดนใต้ กาหยดได้โดยเยาวชน 17-19 May 2013 การเมือง • อานาจถูกใช้ในทางที่ถูกต้อง • เขตปกครองพิเศษ มีการปกครองที่มีรูปแบบของรัฐปา ตานี • มีพื้นที่ทางการเมืองให้ประชาชนในพื้นที่กาหนด ชะตากรรมตัวเองโดยไม่มีการแทรกแซงจาก ส่วนกลาง ให้ประชาชนสามารถเสนอความคิดเห็น ได้และรัฐนาไปปรับใช้ในการแก้ปัญหาในพื้นที่ • มีการปกครองโดยใช้กฎหมายอิสลาม • ไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา • ผู้นาเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม • ไม่มีการโกง • ถอนทหารออกจากพื้นที่ สังคม • คนในพื้นที่มีความเข้าใจซึ่งกัน แม้จะใช้ภาษาในการ สื่อสารต่างกัน • คนส่วยใหญ่ในประเทศไทยเข้าใจวัฒนธรรมคนในพื้นที่ • ยอมรับในความแตกต่างแต่ไม่แตกแยก ไม่แบ่งแยก ศาสนา • มีความยุติธรรม มีความเสมอภาค • มีด่านลดลง – ถนนที่มีแต่รถไม่ใช่ด่าน • เยาวชนมีส่วนร่วมในการสร้างความเข้าใจและสร้างความ ยุติธรรม • ยาเสพติดหมดไปจากจังหัวดชายแดนภาคใต้ • อนุรักษ์อัตลักษณ์ของคนในพื้นที่ • คนไทยรัก สามัคคี • มีความสงบสุข
  • 39. Dream South: อนาคตจังหวัดชายแดนใต้ กาหยดได้โดยเยาวชน 17-19 พฤษภาคม 2556 สังคม • ชุมชน / สังคม แห่งการปรึกษาหารือ • เป็นพหุวัฒนธรรม ไม่มีการแบ่งฝ่าย คนในประเทศยอมรับ ความแตกต่างของคนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และคน ใน จชต ยอมรับคนนอกพื้นที่ • อนุรักษ์วัฒนธรรมของพื้นที่ • หมดความหวาดระแวง ประชาชนไว้ใจกัน รัฐไว้วางใจ ประชาชน • มีเสรีภาพในการดาเนินชีวิต • มีความเข้ากันโดยไม่ต้องใช้อาวุธ เศรษฐกิจ • ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดี • มีเศรษฐกิจที่ดีเหมือนประเทศชั้นนาในอาเซี่ยน • เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ การศึกษา • เรียนจบแล้วมีงานทา • พูดได้หลายภาษา
  • 40. เวทีกลุ่มย่อย 2556 ออกแบบอนาคตรูปแบบการศึกษาที่เหมาะสมกับประเทศไทย ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น วันที่ 3 สิงหาคม 2556 1.เน้นการฝึกปฏิบัติจริงและกล้าคิดกล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้องในกรอบของคุณธรรมและจริยธรรมอีกทั้งการพัฒนาจิตใจที่เป็น จุดเด่นของศาสนาและหลักธรรมคาสอนของศาสนา 2.การศึกษาของโรงเรียนในเมืองที่มีทั้งมาตฐานและคุณภาพให้กระจายสู่ชนบทมากขึ้นเพื่อให้ได้ทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล อย่างเท่าเทียม 3.การศึกษาที่เน้นการปฏิบัติจริงจะนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ที่ยั่งยืน 4.ส่งเสริมให้มีรูปแบบการเรียนที่เน้นการปฏิบัติมากกว่าทฤษฎีโดยมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย 5.การศึกษาภาษาที่มุ่งเน้นภาษาต่างประเทศควบคู่กับภาษาไทยและภาษาถิ่นเพื่อใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจาวันโดยไม่เน้นการ ท่องจา
  • 41. เวทีกลุ่มย่อย 2556 ออกแบบนโยบายเศรษฐกิจที่เหมาะสมกับประเทศไทย ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2556 1.การกระจายอานาจและลดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ -นโยบายส่งเสริมอาชีพในครัวเรือน -นโยบายส่งสริมคุณภาพและพัฒนาด้านการเกษตรกรรม -นโยบายส่งเสริมด้านอุตสาหกรรม การแปรรุปสินค้า -นโยบายส่งเสริมการลงทุนธุรกิจภายในประเทศและธุรกิจ ขนาดย่อม 2.ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ -นโยบายส่งเสริมเศรษฐกิยไทยที่ยั่งยืน (เช่น การพัฒนา อุตสาหกรรมการเกษตร) -นโยบายการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน -นโยบายส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตร และแปรรูปสินค้า ทางการเกาตรเพื่อเพิ่มมูลค่า 3.ส่งเสริมการส่งออกและพัฒนาสินค้าสู่สากล -นโยบายการสร้างแบรนด์ภายในประเทศให้แข็งแรง -นโยบายดึงพ่อค้าคนกลางออกจากระบบ (โดยให้รัฐเข้ามา ดูแล) -นโยบายส่งเสริมการรวมกลุ่มสหกรณ์ -นโยบายส่งเสริมการให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน 4.การเพิ่มมูลค่าทางสินค้า -นโยบายเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร -นโยบายลดภาษีน้ามันนาเข้า -นโยบายสนับสนุนการใช้พลังงานทางเลือก -นโยบายการจัดตั้งองค์กรพิเศษ หรือกลุ่มเฉพาะ เพิ่มอานาจ การต่อรองให้เกษตรกร และกาหนดทิศทางราคาให้ไปใน แนวทางเดียวกัน -นโยบายส่งเสริมสินค้าทางการเกษตรชนิดอื่นๆให้มากขึ้น นอกเหนือจาก ข้าวและยางพารา