SlideShare a Scribd company logo
1 of 274
Download to read offline
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
สงครามโลก
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• เป็นสงครามใหญ่ที่เกิดขึ้นเฉพาะในทวีปยุโรปเป็น
สาคัญเท่านั้น ระหว่าง ค.ศ. 1914 ถึง 1918 มี
ศูนย์กลางอยู่ในทวีปยุโรป
• เป็นความขัดแย้งทางทหารในระดับโลกตั้งแต่
ค.ศ. 1939 ถึง 1945 เป็นสงครามที่ลุกลามไปทั่วโลก
อย่างแท้จริง
โดยครอบคลุมอาณาบริเวณทั้งในยุโรป แอฟริกา
เหนือ เอเชียตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก
• สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นการระดมคนจานวนมาก
เข้ามาสู่สงครามประหัตประหารกัน ที่เรียกว่า
"สงครามของคนหมู่มาก" (War of the Masses)
• สงครามโลกครั้งที่สอง ประชาชนทุกคนล้วน
เกี่ยวข้องกับสงครามอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงอาจกล่าว
ได้ว่า สงครามโลกครั้งที่สองนั้นเป็น "สงครามของ
ประชาชนทุกคน“
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
ฝ่ายมหาอานาจกลาง หรือไตรพันธมิตร ศูนย์กลางอยู่ที่
ไตรพันธมิตร ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี
จักรวรรดิออตโตมัน เข้าสู่สงครามใน ค.ศ. 1914 อิตาลี
และบัลแกเรียใน ค.ศ. 1915 และโรมาเนียใน ค.ศ. 1916
ฝ่ายอักษะ ได้แก่
เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น
กับ กับ
ฝ่ายมหาอานาจไตรภาคี หรือฝ่ายสัมพันธมิตร
ศูนย์กลางอยู่ที่ไตรภาคี คืออังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
ค.ศ. 1918 กองทัพสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม
จักรวรรดิรัสเซียล่มสลายใน ค.ศ. 1917 และรัสเซียถอน
ตัวจากสงครามหลังการปฏิวัติเดือนตุลาคมในปีเดียวกัน
ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
เมื่อเริ่มสงคราม สหรัฐอเมริกาวางตัวเป็นกลาง แต่
เมื่อญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลซึ่งเป็นฐานทัพของ
สหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิก จึงเข้าร่วมใน
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
1. ลัทธิชาตินิยม
2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม
3. การรวมกลุ่มพันธมิตรทางทหาร
4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอล
ข่าน
1. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น
2. ลัทธิจักรวรรดินิยม
3. ลัทธินิยมทางทหาร การสะสมอาวุธเพื่อ
ประสิทธิภาพของกองทัพ
4. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง
ระหว่างระบอบประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ
5. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ
6. สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะ
สนธิสัญญาแวร์ซายส์
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• การลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก -
ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย
รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 28
มิถุนายน ค.ศ. 1914 โดยกัฟรีโล ปรินซีปนักศึกษา
ชาวบอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนียหนุ่ม เป็น
ชนวนเหตุใกล้ชิดของสงคราม
• กองทัพเยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้ าแลบ เมื่อ
1 กันยายน 1939 ด้วยโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่า
ดานซิกและฉนวนโปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษและ
ฝรั่งเศส ซึ่งมีสัญญาค้าประกันเอกราชของโปแลนด์
ได้ยื่นคาขาดให้เยอรมนี ถอนทหารออกจากโปแลนด์
แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ อังกฤษและฝรั่งเศสจึงประกาศ
สงครามกับเยอรมนี
• และญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ฐานทัพเรือฝั่งแปซิฟิก
ของสหรัฐอเมริกา
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• สงครามเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2457( ค.ศ. 1914 ) ในรัชสมัย
รัชกาลที่ 6
• สยามตั้งตัวเป็นกลาง จนสงครามได้รุนแรงขึ้นเป็นลาดับ
รัชกาลที่ 6 ทรงเห็นว่าฝ่ายเยอรมนีเป็นฝ่ายรุกราน จนกระทั่ง
22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 จึงทรงตัดสินพระทัยประกาศ
สงครามกับเยอรมันนีและออสเตรีย-ฮังการี และได้ส่งทหาร
อาสาสมัครไปช่วยรบ
• สงครามเกิดขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2482( ค.ศ. 1939 ) ในรัชสมัย
ของรัชกาลที่ 8 (ขณะนั้นเสด็จประทับอยู่ในประเทศ
สวิตเซอร์แลนด์) หลวงพิบูลสงคราม (จอมพล ป.พิบูล
สงคราม) เป็นนายกรัฐมนตรี
• เมื่อเริ่มสงครามนั้นไทยประกาศตนเป็นกลาง แต่เพราะ
ไทยมีกาลังน้อย เมื่อญี่ปุ่นบุกจึงไม่สามารถต่อต้านได้ และ
เพื่อป้องกันมิให้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของญี่ปุ่นในด้านเศรษฐกิจ
และการเมือง รัฐบาลต้องยอมให้ญี่ปุ่นผ่าน
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ประเทศไทยได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียง
ประเทศเดียวในทวีปเอเชียและแปซิฟิกไม่นับรวม
ญี่ปุ่น ที่เข้าร่วมกับฝ่ายอักษะ สาเหตุการเข้าร่วม
เนื่องมาจากการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตกใน
สมัยรัชกาลที่ 5 ทุกประเทศในฝั่งทะเลแปซิฟิกและ
ทะเลอันดามัน ถูกเป็นเมืองขึ้นกันหมดเหลือแต่ไทย
และญี่ปุ่นเท่านั้น
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ปืนกลยิงรัว ยังเป็นแบบติดฐานบังเกอร์ • ใช้ Assault Rifle หรือ Sub Machine Gun
ให้ทหารพกพา
• ทหารม้ายังขี่ม้าออกรบ โดยรถถังยังไม่มีบทบาท • รถถังถูกใช้กันแพร่หลาย และทหารม้าเปลี่ยนจากขี่ม้ามาขับ
รถถังออกรบแทน
• เครื่องบินรบยังเน้นใช้ยิงกันบนฟ้ าเป็นหลักและบินได้ไม่ไกล • เครื่องบินถูกใช้ทั้งยิงกันบนฟ้ า ทิ้งระเบิด และบินได้ไกลข้าม
ทวีป
• รูปแบบการรบภาคพื้นดินเป็นแนวรบอยู่กับที่ • รูปแบบการรบภาคพื้นดินมีรูปแบบการรบที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ระเบิดก๊าซพิษแตกต่างกันราว 30 ชนิดถูก
นามาใช้ ทาให้ผู้ได้รับแก๊สพิษเสียชีวิตอย่างช้า
ๆ และทรมาน ซึ่งหลังสงครามครั้งที่ 1 หลาย
ประเทศได้มีการลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วย
การห้ามใช้ก๊าซพิษเหล่านี้อีก
• เทคโนโลยีในสงครามโลกครั้งที่ 2 ระบบ
เรดาร์ จรวดพิสัยไกล เรือดาน้า รถถัง ปืน
ไรเฟิลประจากายทหารที่ยิงรัวต่อเนื่องได้
เครื่องบินไอพ่น ระเบิดนิวเคลียร์
• ไม่มีการนาก๊าซพิษมาใช้อีก
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม
• ส่วนรัฐจักรวรรดิใหญ่ 4 รัฐ อันได้แก่ จักรวรรดิเยอรมัน
ออสเตรีย-ฮังการี รัสเซียและออตโตมัน พ่ายแพ้ทั้งทาง
การเมือง และทางทหาร จนได้สิ้นสภาพไป เยอรมนีและ
รัสเซียสูญเสียดินแดนไปมหาศาล ส่วนอีก 2 รัฐที่เหลือนั้นล่ม
สลายลงอย่างสิ้นเชิง
• แผนที่ยุโรปกลางได้ถูกเขียนใหม่โดยมีประเทศขนาดเล็ก
เกิดใหม่หลายประเทศ
• ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม
• เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือสหรัฐอเมริกา และสหภาพ
โซเวียต จนนาไปสู่เกิดสงครามเย็น ที่ดาเนินต่อมาอีก 45 ปี
• การเกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ
กลุ่มประเทศ G8
กลุ่มประเทศกาลังพัฒนา
กลุ่มประเทศเกิดใหม่และรัฐเอกราช
กลุ่มประเทศอักษะแห่งความชั่วร้าย
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ทหารที่เข้าร่วมสงครามทั้งฝ่ายมหาอานาจกลางและฝ่าย
สัมพันธมิตร ประมาณ 70 ล้านคน เสียชีวิต 8 ล้านคน
บาดเจ็บมากกว่า 20 ล้านคน พิการตลอดชีวิตประมาณ 7
ล้านคน
• ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลก
ครั้งที่ 1 โดยมีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อยกว่า 68 ล้านคน จากการ
นาอาวุธที่ทันสมัยและระเบิดปรมาณูมาใช้
• สันนิบาตชาติถูกก่อตั้งขึ้นด้วยหวังว่าจะป้องกันความ
ขัดแย้งเช่นนี้มิให้เกิดขึ้นอีกในอนาคต
• สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความ
ร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งใน
อนาคต
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงเมื่อเยอรมนี
เซ็นสัญญาสงบศึก ในวันที่ 11 พฤศจิกายน
1918 กินเวลานาน 4 ปี 5 เดือน จึงยุติลงอย่าง
เป็นรูปธรรม ตามด้วยการลงนามในสนธิสัญญา
แวร์ซายส์ ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1919
• เป็นสงครามที่เกิดขึ้นภายหลังสงครามโลก
ครั้งที่ 1 เพียง 20 ปี มีระยะเวลายาวนาน ถึง
6 ปี จึงยุติสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
• สงครามใหญ่
• เฉพาะในทวีปยุโรป
• พื้นที่สงครามอยู่ในทวีปยุโรป
• สงครามลุกลามไปทั่วโลกทั้งใน
ยุโรป แอฟริกาเหนือ เอเชีย
ตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก
• สงครามกระจายไปทั่วแต่ละ
ประเทศในทุกทวีป ทั้งอเมริกา
แอฟริกา เอเชียแปซิฟิค ยุโรป
และมหาสมุทรแปซิฟิคฯลฯ
•"สงครามของคนหมู่มาก"
(War of the Masses)
•"สงครามของประชาชนทุก
คน“
•สงครามไร้ตัวตน(นิรนาม)
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
ฝ่ายไตรพันธมิตร เยอรมนี ออสเตรีย-
ฮังการีและอิตาลี ออตโตมัน อิตาลี
บัลแกเรียและโรมาเนียเข้ามาภายหลัง
ฝ่ายอักษะ ได้แก่
เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น
กลุ่มประเทศสังคมนิยมเก่า
กลุ่มประเทศมุสลิม
กับ กับ
ฝ่ายสัมพันธมิตร
อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมภายหลังรัสเซียล่ม
สลาย
ฝ่ายสัมพันธมิตร
อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
เริ่มสงครามสหรัฐอเมริกาเป็นกลาง เมื่อ
ญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลจึงเข้าร่วมในสงคราม
ฝ่ายสัมพันธมิตร
สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส
ออสเตเลีย และกลุ่มประเทศ NATO
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
ลัทธิชาตินิยม แข่งขันกัน
แสวงหาอาณานิคม การ
รวมกลุ่มพันธมิตรทางทหาร
ความไม่มั่นคงทางการเมือใน
คาบสมุทรบอลข่าน
ลัทธิชาตินิยม ลัทธิจักรวรรดิ
นิยม ลัทธินิยมทางทหาร
การสะสมอาวุธ อุดมการณ์
ทางการเมือง ความอ่อนแอ
ขององค์การสันนิบาตชาติ
สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็น
ธรรม
ลัทธิชาตินิยม องค์การ
สหประชาชาติที่ไม่เป็นธรรม
สังคม วัฒนธรรม เชื้อชาติ
เผ่าพันธ์ ศาสนาที่แตกต่างกัน
(Crash Civilization, Megatrend
Asia, Americanization,
Islamization )
 ความเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ 7 กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจากบริเวณตะวันออกกลาง สู่ยุโรป
 หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม 1990 มีบอสเนีย และเอเซียกลางแยกจากรัสเซีย รวมเป็น Islamic
Conference Organization(ICO)
 ไม่มีเอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบายต่างประเทศที่แตกต่างกัน
 มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไปตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และยุทธศาสตร์ของที่ตั้งประเทศตามภูมิ
รัฐศาสตร์(Geopolitics)
 มีการนาของประมุขที่มีกรอบแนวความคิด บุคลิก ประสบการณ์ส่วนตัวต่างกันไป
 ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ
 ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่
 ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย
 ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ
 ประเทศมุสลิมสายเคร่ง
 ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
 ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก
จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)
 ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)
 ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน)
 ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ)
 ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic
Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐)
 ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชียกลางและคอเคซัสที่
เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และ
อาเซอร์ไบจาน)
 ประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน
 ขบวนการชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” และ “ฮิซโบเลาะห์
 มุสลิมแนวปฏิวัติอิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่ออเมริกาและกลุ่มตะวันตก
 ผู้นาเอากฎแบบเคร่งครัดของอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” ต่อต้าน “การครองโลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา
 อารยธรรมชนผิวขาวคริสเตียน” เป็นศัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม”(ฮันติงตันเรียกว่า“The Clash of
Civilizations” )
 ผู้นามีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอามาร์ กัดดาฟี
 “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศเช่น UN , IMF, World Bank , WTO องค์การกาหนดมาตรฐานระหว่าง
ประเทศ ฯลฯ เหล่านี้ มักมีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง
อิยิปต์
โมร็อกโก
จอร์แดน
ซาอุดิอาระเบีย
ตูนิเซีย
•ปากีสถาน
•รัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย
•อินโดนีเซีย
•บูรไน
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
• ลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก-
ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่ง
ออสเตรีย โดยนักศึกษาชาว
บอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนีย
หนุ่ม
• เยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้ า
แลบ ด้วยโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยก
เมืองท่าดานซิกและฉนวน
โปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษและ
ฝรั่งเศส ยื่นคาขาดให้เยอรมนี
ถอนทหารออกจากโปแลนด์ แต่ฮิต
เลอร์ปฏิเสธ และญี่ปุ่นโจมตีอ่าว
เพิร์ล ของสหรัฐอเมริกา
• สงครามการโจมตีกลุ่ม ISIS ใน
อิรักและซีเรีย
• การแย่งชิงหมู่เกาะพาราเซล/
สเเปรตลีย์ การท้าทายของอิหร่าน
และเกาหลีเหนือต่อสหรัฐอเมริกา
• พื้นที่ Eurasia (Russia /CIS)
and China
www.kpi.ac.th
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Religion , Culture
Media Power : Facebook, Twitter, Vdolink,
Mobile Phone, TVonline, Radio online, Cyber War
National
Power
 Globalisation & Localisation
 Hard Power & Soft Power
 Americanization & Islamization
 Capitalism & Socialism
 High Technology & Low Technology
 Tangible & Intangible
 Physical & Mental or Spiritual
 National Resource
รูปแบบการทาสงคราม
หนึ่งประเทศสองระบบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
กาลังอานาจทางทหารทางบก เรือ อากาศ
กาลังอานาจทางการเมือง :
ระบอบประชาธิปไตย
กาลังทางเศรษฐกิจ : ทุนนิยมเสรี กาลังอานาจทางสังคมจิตวิทยา : ศาสนา/วัฒนธรรม
 Soft Power กาลังอานาจที่จับต้องไม่ได้คือความสามารถเปลี่ยนแปลงผู้อื่น โดยใช้วิธีการ กาหนด
กรอบ กาหนดเป้าหมายร่วมกัน ใช้การโน้มน้าวและสร้างให้เกิดความต้องการสิ่งเหล่านั้น เพื่อให้เป็นไปตาม
ความต้องการของผู้ใช้อานาจ
 ทรัพายากรของ กาลังอานาจแบบ Soft Power เช่น ขนบธรรมเนียม ความคิด คุณค่า วัฒนธรรม
และความเข้าใจในนโยบายอย่างถูกต้อง
 กาลังอานาจ Smart Power คือ การผสมผสานระหว่าง กาลังอานาจแบบ Hard Power
และ กาลังอานาจแบบ Soft Power ลงไปในยุทธศาสตร์ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ
 มีลักษณะ 4 ประการได้แก่
1. การต่อสู้และการทาลายล้าง
2. การสนับสนุนด้วยวิธีทางการทูต
3. ให้ความคุ้มครองรักษาสันติภาพ
4. ให้ความช่วยเหลือในด้านอื่นๆ
 การใช้อานาจทางทหาร สามารถทาให้เกิดได้ทั้ง อานาจแบบ Hard Power และ อานาจแบบ Soft Power ได้
 ยุทธศาสตร์ที่ผสมผสานทั้ง อานาจแบบ Hard Power และอานาจแบบ Soft Power อย่างมีประสิทธิภาพ จะ
นาไปสู่ อานาจทางทหารอย่าง Smart Military Power ในที่สุด
กาลังอานาจแบบ Soft Power เกิดจากปัจจัยพื้นฐาน 3 ประการคือ
1. วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อที่น่าสนใจ และดึงดูดผู้อื่น
2. คุณค่าในทางการเมือง คือ ระบบบริหารที่มีความรับผิดชอบและตอบสนองต่อความต้องการ
ของประชาชน
3. นโยบายระหว่างประเทศ ที่ผู้อื่นเห็นถึงความสาคัญ และความถูกต้อง
1. กาหนดหลักการ สร้างความดึงดูดใจ และโน้มน้าว
 ยกตัวอย่าง การรณรงค์งดสูบบุหรี่ การใช้อานาจแบบ Hard Power : จับและปรับผู้ที่สูบบุหรี่ถ้าใช้
อานาจแบบ Soft Power : จะใช้การรณรงค์ พูดคุย เพื่อโน้มน้าวให้ผู้ที่สูบ
เปลี่ยนแปลงความคิด เกี่ยวกับการสูบบุหรี่
 อานาจแบบ Hard Power : ยกเลิกการขายบุหรี่ อานาจแบบ Soft Power : ใช้การโฆษณา เพื่อให้ผู้ที่
สูบเห็นถึง พิษภัยของการสูบบุหรี่ และเป็นที่น่ารังเกียจของสังคม
2. การทางานของ อานาจแบบ Soft Power : ความตั้งใจโดยตรงผู้นา อาจได้รับรับจูงใจจาก ผู้นาอื่นๆ และ
นาไปสู่นโยบายที่ดีที่สุด ส่วนความตั้งใจทางอ้อม
ผู้นา ได้รับแรงจูงใจจาก จากความต้องการของสังคมที่ชอบหรือ มีแรงจูงใจในเรื่องเดียวกัน อันนาไปสู่
นโยบายที่ดีที่สุด
SEA POWER 21
34A Publication by www.knowtheprophet.com
สงครามในอัฟกานิสถาน ต้องการใช้พื้นที่ปากีสถานเป็นฐานทัพหน้าและส่งกาลังบารุง รัฐบาล
ปากีสถานอนุญาตให้สิทธิแค่การบินผ่าน
สงครามอิรัก ขอใช้พื้นที่ประเทศตุรกีเป็นฐานทัพหน้า ได้รับการปฏิเสธจากสภาฯ
การใช้พื้นที่ประเทศอื่นเป็นฐานทัพหน้า ต้องเสี่ยงกับการใช้ งป.มหาศาล และเกิดความสูญ
เปล่าในอนาคต
การลงทุนสร้างฐานทัพที่อ่าวซูบิคในฟิลิปปินส์ ต่อมาไม่ต่อสัญญาเช่า
ต้องหันกลับมาใช้อาณานิคมของตนเอง คือเกาะกวมเป็นศูนย์กลางของกองกาลังสหรัฐฯ ในเขต
ภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก
พัฒนาฐานทัพอากาศ และฐานทัพเรือ
ใช้งบประมาณ ๑,๐๔๘ ล้านยูเอสดอลล่าร์
มีประชากร ๑๗๐,๐๐๐ คน
มีโรงกลั่นน้ามัน และอู่ซ่อมเรือ
ห่างจากฟิลิปปินส์ ไปทางตะวันออก ๒๒๔๐ กม.
มีพื้นที่ ๕๔๑ ตร.กม.
(บทความนิติภูมิ ไทยรัฐ หน้า ๒ วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๒)
กวมเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและอยู่ทางใต้สุดของหมู่เกาะมาเรียนา
มีเมืองหลวงคือ อากาญา
ชื่อ“ดินแดนกวมของสหรัฐอเมริกา (U.S. Territory of Guam)” เป็นเกาะ
หนึ่งในมหาสมุทรแปซิฟิก
เป็นดินแดนที่ยังไม่ได้ปกครองตนเองของสหรัฐอเมริกา
ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวชามอร์โรซึ่งอพยพมาอยู่ที่เกาะเป็นครั้งแรกเมื่อ 3,500 ปีมาแล้ว
รายได้หลักของเกาะมาจากการท่องเที่ยวโดยเฉพาะจากญี่ปุ่น
 Strategic Defense Mobile
Forces
 Bases Places
 Hard Power Soft Power
Smart Power
ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและ
สถานที่ที่กาลังทหารของสหรัฐฯประจาการอยู่ทั่วโลก
กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนามร่วมระหว่าง ผบ.ทร. และ
ผบ.นย.และให้กห.สหรัฐฯ อนุมัติแล้ว
กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑
สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค
เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม
เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
EURASIA
ให้ความสาคัญกับภูมิภาค
East Asia,
Northeast Asia
South East Asia
Europe
Northeast
East Asia
South East Asia
Europe
ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีดความสามารถในการทาการรบในทุก
ภูมิภาคทั่วโลก
ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ (Special Force)
มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมีการติดตั้ง
ขีปนาวุธ Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ Tomahawk และสามารถส่ง
หน่วย Special Force ขึ้นปฏิบัติการบนฝั่งได้
สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็วลดการพึ่งพาชาติอื่น
วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก
วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลดกาลังทหารประจาการใน
เกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ ๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติพันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัย
คุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air Missile Theater,
Air Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ
Sea Strike การโจมตีจากทะเล
Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ
Sea Trial คือจะต้องมีการฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ และวางแนวความคิดในการปฎิบัติ
การ
Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ
Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Sea b
 เป็นหน่วยงานของ UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The International Ship and
Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี 2545
 มาตรการที่กาหนดให้ประเทศสมาชิก IMO ที่รับรองมาตรการนี้จานวน 146 ประเทศ เพิ่มการรักษาความปลอดภัยการเดินเรือเพื่อ
ป้องกันการก่อการร้าย
 กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic Information System ภายใน
31 ธันวาคม 2547
 กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถานที่ตั้ง และปัญหาด้านความปลอดภัย
 กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความปลอดภัยสถานที่
 เรือที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบจะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่างประเทศ(International Ship
Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
Raw Material
Product & Container
Money
Man
บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล
เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ
เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ
เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้าทะเล คุมเส้นทางเดินเรือ
และแสวงหาทรัพยากรโพ้นทะเล
ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ (Naval Strategy)
56A Publication by www.knowtheprophet.com
57A Publication by www.knowtheprophet.com
 ประชากรไอร์แลนด์ มีการอพยพจานวนสูง ไปยังเฉพาะสหรัฐอเมริกา สองในห้าของชาวไอร์แลนด์ที่เกิดมีถิ่น
ฐานอยู่ในต่างประเทศในศตวรรษที่ 21 มีราว 80 ล้านคนจากทั่วโลกที่อ้างว่าสืบเชื้อสายมาจากชาวไอริช ใน
จานวนนี้เป็นชาวอเมริกัน 45 ล้านคนอ้างว่าเชื้อสายไอริช
 วอชิงตัน โพสต์ อ้างข้อมูลสามะโนประชากรสหรัฐว่า มีชาวอเมริกันอย่างน้อย 34.5 ล้านคนที่ระบุว่าตัวเองมี
เชื้อสายไอริช ซึ่งมากกว่าตัวเลขประชากรในไอร์แลนด์ 4.68 ล้านคน ราว 7 เท่า คนไอริชอยู่ในสหรัฐมากที่สุด
เป็นอันดับสองรองจากคนเยอรมัน นิวยอร์กเป็นมลรัฐที่มีคนเชื้อสายไอริชหนาแน่นที่สุด คือ 12.9% เทียบ
กับค่าเฉลี่ยทั้งประเทศที่ 11.1% แต่ถ้าเจาะลึกเป็นเมือง ๆ จะพบว่าบอสตัน ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐ
แมสซาชูเซตส์ มีประชากรเชื้อสายไอริชสูงถึง 20.4%
 ประเทศสหรัฐอเมริกาประชากรมีบรรพบุรุษเป็นชาวอังกฤษ แต่น้อยกว่าเยอรมัน
 รัสเซีย จีน กลุ่ม BRIC China + Russia มีการค้าขายกันอย่างมาก และร่วมปฏิบัติในตะวันออกกลางโจมตีกลุ่ม
ISIS
 North Korea, Iran, Germany
 Russia ค้ากับ Germany อันดับ 10 มี 6000 โรงงาน แรงงาน 300,000 คน
 Russia เป็น Strategic Partner กับ Germany ส่งน้ามันให้Germany 36%
 UK ถอนตัวจาก EU และ NATO ไม่ร่วม EU Dollars
 Germany France ตั้ง EU
 คนอังกฤษอพยพ IRISH, ISRAEL, UK เข้าไปใน Canada, USA
 China ค้ากับ USA อย่างมาก
 อานาจกาลังรบที่มีตัวตน เช่น กาลังพล ยานพาหนะ ยุทธภัณฑ์ อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ต่างๆ ฯลฯ
 อานาจกาลังรบที่ไม่มีตัวตน ( Intangible ) เช่น ขวัญ กาลังใจ ความกล้าหาญ ความเสียสละ
ความรักชาติ รักแผ่นดิน ความฮึกเหิม ความมุมานะอดทน รวมถึงการฝึกซ้อมต่างๆ ฯลฯ
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 รัฐบาล
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
 การพลังงาน
 การศึกษา
 การเศรษฐกิจ
 กาลังทหาร
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาตินามธรรม
 ลักษณะและเอกลักษณ์ประจาชาติ
 อุดมการณ์ของชาติ
 แบบแผนของชาติ
 ภาวะผู้นา
 ความเชื่อ
 ศาสนา จริยธรรม
 ความจงรักภักดี
America has stood down enemies before, and we will do so this
time.
Bush September, 11, 2001
 Globalization
 Technology
 Mobility
 Beliefs
 Economy
เป็นประเทศที่ทรงอิทธิพลที่สุด ในด้านเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร
มีศักยภาพในการชี้นาและการกาหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ในโลก
มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก
มีความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก (จัดอันดับโดย The
Economist)
มีบทบาทสูงในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น UN, NATO, IMF,
World Bank, WTO, G8, OECD, APEC และ
UNCTAD
 มองวิถีชีวิตแบบอเมริกันตะวันตก จะเต็มไปด้วยความเลวทราม อุจาด ลามก ทุจริต คดโกง เห็นแก่ตัว
กีดกัน โค่นล้มเท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธีรุนแรง
 ยึดมั่นในคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามอยางเคร่งครัด และต้องการนาเอากฎหลักของศาสนามาใช้เป็น
กฎหลักของสังคมอย่างเคร่งครัด
 สังคมมุสลิม ผู้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” เพื่อ
ต่อต้าน“การครองโลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา และอารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน”
 ความเป็นศัตรูเกิดขึ้นระหว่าง“ตะวันตก” กับ “มุสลิม” (“The Clash of
Civilizations”
 ผู้นาจานวนนี้มักเป็นผู้นาที่มีความนับถือตัวเอง และเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน ในอิรัก
หรือโมอามาร์ กัดดาฟี ในลิเบีย
1. ขยายสมาชิกของสหภาพยุโรปไปยังยุโรปตะวันออกเพื่อรวมยุโรปเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันใหญ่ใหญ่ขึ้น
2. เดินหน้าสร้างอิสราเอลที่ใหญ่ขึ้น (Greater Israel) ผ่านการก่อสงคราม กับอิรัก ซีเรีย ลิเบีย เลบานอน ซูดาน โซมาเลีย
และอิหร่าน สงครามในตะวันออกกลางเป็นการลดประชากรและจะทาให้ประเทศในภูมิภาคนั้น รวมทั้งแอฟริกาเหนืออ่อนแอ
กลายเป็นรัฐบริวารของอิสราเอลในที่สุด แบ่งแยกและปกครองเป็นนโยบายที่ใช้มาตลอด
3. ปิดล้อมรัสเซียผ่านองค์กรนาโต้ด้วยการเพิ่มกาลังทหารในยุโรป และทาลายแผนการของรัสเซียที่จะผงาดขึ้นมาใหม่ผ่านเขต
เศรษฐกิจร่วมยูเรเซีย (Eurasian Economic Union) สร้างวิกฤติยูเครน และสร้างปฏิวัติสีในรัสเซียเพื่อโค่นล้ม
ปูติน
4. ปิดท้ายด้วยการสกัดจีน เพื่อล้มคู่แข่งทางการเงิน และเศรษฐกิจในเอเซีย
Anglo-America คือ ดินแดนที่อยู่ทางตอนเหนือของแม่น้าริโอแกรนด์ ประกอบด้วยสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ประชากรส่วนใหญ่เป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากชาวอังกฤษ
1. การสร้างรัฐบาลโลกเดียวผ่านยูเอ็น
2. การสร้างธนาคารกลางโลกเดียวผ่านกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือBank for International
Settlements
3. การสร้างเงินสกุลโลกเดียวผ่านเงินดิจิตัล special drawing rights ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ
4. การสร้างศาสนาโลกเดียว โดยจะมีการรวมเอาศาสนาจูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลามเข้าด้วยกัน
5. การสถาปนาให้เยรูซาเลมเป็นเมืองหลวงของโลก
 แองโกลอเมริกันเดินหน้าสร้าง Greater Israel อย่างเร่งด่วน ด้วยการสร้าง ISIS เพื่อล้มอิรัก ซีเรีย และ
อิหร่านในท้ายที่สุดในตะวันออกกลาง
 พยายามยันรัสเซีย รวมทั้งจีนไม่ให้ผงาด แล้วเตรียมตัวก่อสงครามโลกครั้งที่ 3 ในอีก 3-5 ปี โดยมั่นใจว่าเวลานั้น
จะสามารถสยบทุกประเทศได้
 แต่ รัสเซีย จีนละอิหร่านจับมือกันชิงก่อสงครามก่อนในซีเรีย เพื่อเปิดเผยว่าใครอยู่เบื้องหลัง ISIS เตรียมการยึด
ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือและจะทาลาย Greater Israel ให้พังพินาศ
 แกนของโลกอยู่ที่ตะวันออกกลางเวลานี้ เนื่องจากเป็นแหล่งพลังงาน แหล่งประวัติศาสตร์ และอารยะธรรมโบราณ
หลักของโลก ใครเป็นผู้นาในตะวันออกกลางได้ผู้นั้นจะเป็นผู้ครองโลก
76
1. สหรัฐอเมริกาแทรกแซงทางทหารในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก นับตั้งแต่ปี 1946 มีเพียงปี 1955
และ 1957 เท่านั้นที่ไม่มีหลักฐานการแทรกแซงทางทหารของสหรัฐอเมริกา (Uppsala
Conflict Data Program, 2011: Grossman ,2012): Global Policy Forum, 2005)
2. สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดในโลก (Stockholm International Peace
Research Institute, 2011)
สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
ภาพที่ 2 มูลค่าการส่งออกอาวุธของสหรัฐอเมริกา ในฐานะผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดในโลก
77
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
35,000
40,000
45,000
50,000
USA World
ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011)
สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
ภาพที่ 3 ส่วนแบ่งตลาดอาวุธของสหรัฐอเมริกา
78
ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011)
per cent
-
10
20
30
40
50
60
70
สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
ภาพที่ 4 สัดส่วนผู้นาเข้าอาวุธ ปี 1989-2010
79
ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011)
Western Europe,
13.46
Eastern Europe, 8.50
Middle East, 23.10Asia, 38.89
Africa, 4.58
North America, 4.02
Central and South
America, 4.92
Others, 2.53
80
ที่มา: The Hanscom Family Weblog (2013)
81
เริ่มต้น-สิ้นสุด การปฏิบัติการ ผลที่เกิดขึ้นหลังจากสงคราม
ม.ค. 1990-
ธ.ค. 2011
1. ปฏิบัติการทางทหารในสงครามอ่าวเปอร์เซีย
(สงครามคูเวต)
2. ปฏิบัติการยึดครองอีรัก (สหรัฐเรียนกว่า
ปฏิบัติการเสรีภาพอิรัก)
3. ล้มล้างรัฐบาลและประหารชีวิตอดีต
ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน
(สหรัฐอเมริกาได้รับเงินและกาลังสนับสนุนจาก
36 ประเทศ)
1. มูลค่าการค้าน้ามันระหว่างอิรักกับสหรัฐอเมริกา
เพิ่มขึ้นอย่างมีนัย
2. ยอดขายอาวุธของสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นในปี 1991-
1993
3. วัตถุโบราณของอีรักถูกโจรกรรมหลังจาก
สหรัฐอเมริกาบุกเข้ายึดอิรัก
82
ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute, Yearbook 2008
Ranking Name Country Arms Sales ($ million USD)
1 Boeing USA 30,690
2 Lockheed Martin USA 28,120
3 BAE Systems UK 24,060
4 Northrop Grumman USA 23,060
5 Raytheon USA 19,530
6 General Dynamics USA 18,770
7 EADS West Europe 12,600
8 L-3 Communications USA 9,980
9 Finmeccanica Italy 8,990
10 Thales France 8,240
จานวนผู้เสียชีวิตจากสงคราม ปี 2006 (คน) 17,398
จานวนผู้เสียชีวิตจากสงคราม ปี 2006-2010 (คน) 111,916
 ปัญหาความขัดแย้ง แย่งชิงทรัพยากรในน่านน้าทะเลจีนใต้ถือเป็นระเบิดเวลาลูกใหญ่ ที่รอวันระเบิดตูมตามมานาน และนักวิเคราะห์มองว่า การ
แข่งขันด้านอาวุธในช่วงหลังของบรรดาประเทศคู่กรณี อาจเป็นตัวเร่งสถานการณ์ให้ลุกลาม กลายเป็นสงครามสู้รบ ทั้งขนาดย่อยและขนาดใหญ่ได้
ไม่ยาก
คู่กรณีที่ว่านี้หมายถึง จีน ไต้หวัน และ 4 ประเทศสมาชิกอาเซียน ประกอบด้วย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม มาเลเซีย และบรูไน ซึ่งต่างก็อ้างกรรมสิทธิ์
เหนือดินแดนหมู่เกาะในทะเลจีนใต้ที่โดดเด่นคือ หมู่เกาะสแปรตลีย์ และหมู่เกาะพาราเซล ส่วนที่เหลือเป็นเกาะแก่งหินโสโครกขนาดเล็ก เช่น
เกาะสการ์โบโรจ์ ที่จีนเรียกเกาะหวงหยาน และกาลังเป็นปัญหากับฟิลิปปินส์
 จีนอ้างอธิปไตยเหนือเกาะแก่งเหล่านี้ เกือบทั่วน่านน้าทะเลจีนใต้ส่วนประเทศอื่น ๆ ที่เหลืออ้างแค่บางส่วน ที่อยู่ไม่ไกลจากชายฝั่งของตน
ปัญหานี้ทาให้กลุ่มอาเซียน ที่กาลังเตรียมตัวเข้าสู่การเป็น “ประชาคมอาเซียน” ในปี พ.ศ. 2558 เกิดความขัดแย้งกันอย่างหนัก ดังจะเห็นได้
จากการประชุมประจาปี รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน (เอเอ็มเอ็ม) ครั้งที่ 45 ครั้งล่าสุด ที่กรุงพนมเปญ เมืองหลวงกัมพูชา ระหว่างวันที่ 9–13
ก.ค. ที่ผ่านมา
 ซึ่งการประชุมปิดฉากลงโดยไม่มีแถลงการณ์ร่วม ถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ 45 ปี นับตั้งแต่ก่อตั้งองค์กรระหว่างประเทศหลักของภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี พ.ศ. 2510 เป็นต้นมา
การประชุมแต่ละปีที่ผ่านมา แถลงการณ์ ร่วมซึ่งจะมีการปรุงไว้ล่วงหน้า ถือเป็นข้อสรุปข้อตกลงที่บรรลุ ในรอบปีก่อนหน้านั้น และบันทึกประเด็น
ต่าง ๆ ที่ยังจาเป็นต้องแก้ไขให้ลุล่วง
ประเด็นที่ยังเป็นปัญหา ไม่มีการเอ่ยถึงหรือบรรจุไว้ในแถลงการณ์ปิดการประชุม ตรงจุดนี้ตามสายตานักการทูตวงนอกมองว่า เป็นส่วนหนึ่งของ
วัฒนธรรมทางสังคมของอาเซียน ซึ่งเชื่อว่าปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขได้ตามกาหนดเวลา สุดท้ายก็จะหาทางแก้ได้เองโดยธรรมชาติ
นี่คือ “วิถีอาเซียน” วัฒนธรรมแบบสบาย ๆ เป็นกันเอง ไม่ซีเรียส ซึ่งต้องมาพังทลายลง จากความขัดแย้งในที่ประชุมเอเอ็มเอ็ม หนล่าสุดที่
พนมเปญ
เท่ากับว่าเอเอ็มเอ็มจะไม่มีบันทึกประเด็น และข้อเสนอต่าง ๆ ให้ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนได้พิจารณาและตัดสินใจ ระหว่างการประชุมปลายปีนี้
 ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ อดีตรัฐมนตรีการต่างประเทศของไทย ปัจจุบันเป็นเลขาธิการอาเซียน กล่าวถึงความขัดแย้งระหว่างการประชุมครั้งนี้ว่า “คาดไม่ถึง” และ “น่าผิดหวังอย่างยิ่ง” และว่า
อาเซียนจาเป็นต้องเรียนรู้วิธีรวบรวมและประสานจุดยืน ไม่งั้นก็ไม่มีทางสู้กับประชาคมอื่น ๆ ได้
นักสังเกตการณ์ส่วนใหญ่มองผลลงเอยการประชุมครั้งนี้ว่า แสดงให้เห็นถึงความแตกแยกรุนแรงในกลุ่มอาเซียน เกี่ยวกับกรณีพิพาทเหนือทะเลจีนใต้ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความสามารถของกลุ่ม
ในการต่อกรกับคู่แข่งมหาอานาจเกิดใหม่ในภูมิภาค กระทบต่อความสามัคคีเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน รวมทั้งบทบาทในการส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างมวลหมู่ชาติสมาชิก
เท่าที่จับกระแสรายงานข่าว ทั้งช่วงก่อนและระหว่างการประชุมเอเอ็มเอ็มที่พนมเปญ ปัญหาพิพาทในทะเลจีนใต้กลายเป็นเรื่องหลักของการประชุม แทนที่จะเป็นเรื่องที่สาคัญกว่า อย่างเช่น
เศรษฐกิจ หรือเรื่องความร่วมมือในอาเซียน และเป็นความขัดแย้งแบบเปิดเผย ระหว่าง 3 ชาติสมาชิก คือกัมพูชา ประเทศเจ้าภาพ ในฐานะชาติประธานหมุนเวียนของอาเซียนในปีนี้ กับฟิลิปปินส์
และเวียดนาม
ฟิลิปปินส์กับเวียดนามต้องการให้อ้างอิง เหตุการณ์เผชิญหน้าในทะเลจีนใต้เมื่อไม่นานมานี้ ระหว่างเรือรบ-เรือประมง ของจีนกับสองประเทศ ในแถลงการณ์ร่วมปิดการประชุม แต่กัมพูชาคัดค้าน
บอกว่าไม่เหมาะสมที่จะระบุความขัดแย้งทวิภาคีลงในแถลงการณ์
นายอัลเบิร์ต เดล โรซาริโอ รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์ ถึงกับจวก นายฮอร์ นัมฮอง รัฐมนตรีต่างประเทศกัมพูชาตรง ๆ ว่า ยืนหยัดปกป้องผลประโยชน์จีน แต่นายฮอร์บอกว่า กัมพูชาไม่ได้
สนับสนุนใครที่เป็นคู่กรณีพิพาทในทะเลจีนใต้และการที่ไม่มีแถลงการณ์ร่วมปิดท้าย ต้องโทษสมาชิกอาเซียนทุกชาติ จะโทษกัมพูชาประเทศเดียวไม่ได้
ประชุมหนนี้รัฐมนตรีต่างประเทศจีนและสหรัฐ เข้าร่วมการหารือด้วย ในฐานะประเทศคู่เจรจา จีนยังยืนยันไม่เห็นด้วยกับความพยายามที่จะนาปัญหาความขัดแย้งในทะเลจีนใต้ เข้าสู่การหารือใน
เวทีระหว่างประเทศ ไม่ว่าเวทีใดโดยบอกว่าปัญหานี้ควรแก้ไขด้วยการเจรจาตัวต่อตัว ระหว่างจีนกับประเทศคู่กรณีเป็นราย ๆ ไป
 ฟิลิปปินส์และเวียดนามเลือกข้างสหรัฐ เห็นเด่นชัดมากขึ้น หลังการประกาศปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ของอเมริกา พญาอินทรี ซึ่งเพิ่ม
สรรพกาลังทางทะเลในเอเชียตะวันออก-แปซิฟิก เป็น 60% และแอตแลนติก-ยุโรป เหลือ 40% จากที่เคยอยู่ที่ประมาณ
50:50
 รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐ(นายลีออน พาเนตตา) ประกาศปรับกาลังทางทะเลใหม่ ที่ประเทศสิงคโปร์ หลังจากนั้นก็เดินทางเยือนฟิลิปปินส์
และเวียดนาม และออกข่าวว่าสหรัฐอาจจะรื้อฟื้นฐานทัพเรือขนาดใหญ่ในประเทศทั้งสอง ขึ้นมาใช้งานอีกครั้งส่วนกัมพูชาเลือกข้างจีน
ชัดเจน
 พิพาททะเลจีนใต้เกี่ยวพัน 4 ประเทศสมาชิกอาเซียน กับจีน และไต้หวัน ไม่ใช่ความขัดแย้งระหว่างอาเซียนกับจีน
 ซาบาม เซียเกียน ประธานชมรมอดีตเอกอัครราชทูตอินโดนีเซีย บอกว่าหากอาเซียนปล่อยให้ภูมิภาคเป็นสนามรบ “สงครามกองโจร
ทางการทูต” ของสหรัฐกับจีนต่อไป โดยไม่มีการควบคุมหรือห้ามปราม ก็จะเป็นจุดเริ่มไปสู่ความหายนะของกลุ่มในอีกไม่นาน
 นิยามทางกฎหมาย ถือเอาการประกาศสงครามเป็นสิ่งที่ถูกต้องและรวมถึงระยะเวลาตั้งแต่
การประกาศสงคราม ซึ่งเกิดขึ้นก่อนการเริ่มต้นสู้รบกัน
 ตั้งแต่ ค.ศ.๑๙๖๔ ไม่มีประเทศใดประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ เนื่องจากเป็นข้อห้าม
ของสหประชาชาติ เช่นสงครามเวียดนาม สงครามอิรัก/อิหร่าน สงครามฟอล์กแลนด์ และ
สงครามอ่าว
 การรับรู้ของสงคราม ในเดือนเมษายน ค.ศ.๑๙๘๒ คนอังกฤษเชื่อว่าพวกเขากาลังอยู่ใน
ภาวะสงครามกับอาร์เจนตินา ในขณะที่ฝ่ายอาร์เจนตินาเห็นว่าพวกเขาได้บรรลุความสาเร็จ
ในการยึดคืนหมู่เกาะฟอล์กแลนด์จากอังกฤษ
“สงครามเป็นการกระทาโดยใช้กาลังเพื่อบีบบังคับให้ข้าศึกทาตามความประสงค์ของเรา”
“สงครามหาใช่การกระทาแบบหน้ามืดตามัว แต่ต้องตั้งอยู่บนขอบเขตของวัตถุประสงค์ทางการเมือง ด้วยเหตุนี้คุณค่า
ของวัตถุประสงค์นั่นเองจะเป็นตัวกาหนดว่าควรจะเสี่ยงซื้อด้วยราคาเท่าใด หากราคาที่ต้องซื้อนั้นแพงเกินกว่าคุณค่าของ
วัตถุประสงค์ทางการเมืองแล้ว ก็จะต้องล้มเลิกความพยายามที่จะให้ได้มาซึ่งวัตถุประสงค์นั้น และสงครามก็จะต้องยุติลง”
“สงครามเป็นเครื่องมือของนโยบายที่ใช้เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของชาติ หลังจากที่ใช้วิธีอื่นแล้วไม่ประสบ
ผลสาเร็จ” by other means
 ประการแรก การดิ้นรนเสาะหาความร่ารวยทรัพยากรเพื่อการผลิตของประเทศรวมทั้งการหาตลาดการค้า
เป็นต้น
 ประการที่สอง มาจากสาเหตุของการขยายธรรมจักรโดยเฉพาะศาสนาคริสต์ และอิสลาม
 ประการสุดท้าย คือ การรักษาสถานะเดิมของตนหรือดุลยภาพแห่งอานาจ แต่ในยุคร่วมสมัย สาเหตุของ
สงครามตามที่ Thucydides กล่าวไว้ในสมัยโบราณว่าเกิดจากเหตุสามประการ คือ “ความกลัว
เกียรติยศ และผลประโยชน์” กลับดูจะมีน้าหนักมากขึ้นอีก โดยเฉพาะเรื่องผลประโยชน์
“War is the continuation of business by other means”
๑. สงครามเบ็ดเสร็จ (Total War) หมายถึง คู่สงครามใช้ทรัพยากรทั้งหมดอย่างสมบูรณ์ ชาติจะถูกคุกคามให้
ยอมแพ้โดยปราศจากเงื่อนไข
๒. สงครามทั่วไป (General War) คล้ายคลึงกับสงครามเบ็ดเสร็จ ต่างกันที่สงครามทั่วไปเน้นการใช้กาลังทหาร
อย่างเบ็ดเสร็จ ส่วนมากจะหมายถึงสงครามที่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ เคมี หรือชีวะ นอกจากนั้นยังหมายถึงการทา
สงครามตามแบบอย่างไม่จากัด (Unrestricted Convention War)
๓. สงครามจากัด (Limited War) วัตถุประสงค์ของคู่สงครามจะถูกจากัด คู่สงครามจะจากัดการใช้เครื่องมือทาง
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม (ตรงข้ามกับสงครามเบ็ดเสร็จ) และยังจากัดการใช้กาลังทหารด้วย (ต่างจาก
สงครามทั่วไป)
๔. สงครามตามแบบ (Conventional War) เป็นการสู้รบกันโดยปราศจากการใช้อาวุธนิวเคลียร์ เคมี และชีวะ
แม้ว่าฝ่ายที่มีอาวุธดังกล่าวจะมีอิทธิพลต่อเป้าหมายสงครามยุทธศาสตร์ และยุทธวิธีของคู่ต่อสู้อย่างเห็นได้ชัด
 สงครามกลางเมืองในซีเรียเป็นชนวนสงคราม หากมีบินรบของชาติใดตก อาจทาให้เกิดความเข้าใจผิด และเป็น
ตัวจุดชนวนสงคราม สหรัฐฯ และรัสเซีย มีชาติพันธมิตรเป็นพวกชัดเจน จีนก็ส่งเรือบรรทุกเครื่องบินมา
 จากสถานการณ์สงครามกลางเมืองในประเทศซีเรีย หลายประเทศได้เข้ามายุ่งเกี่ยวและแยกออกเป็นสองฝ่าย
ชัดเจน คือ ฝ่ายสหรัฐฯ และชาติพันธมิตร 11 ชาติ ที่ต้องการโค่นล้มรัฐบาลประธานาธิบดี บาชาร์ อัล อัสซาด
แห่งซีเรีย กับฝ่ายรัสเซีย และพันธมิตร ที่สนับสนุนประธานาธิบดีอัล อัสซาด มีอยู่ 4 ชาติ คือ อิหร่าน จีน
เลบานอน และอิรัก
 จากการที่มีเครื่องบินรบของสหรัฐฯ และพันธมิตรหลายลาบินเข้ามาโจมตีทางอากาศถล่มกลุ่มติดอาวุธรัฐอิสลาม
หรือไอซิส ในประเทศซีเรีย ทาให้เกิดความกังวลว่าหากมีเครื่องบินลาใดลาหนึ่งประสบเหตุตก จะก่อให้เกิด
ความเข้าใจผิดว่า เป็นฝีมือของชาติฝ่ายตรงข้าม และเป็นชนวนให้เกิดการสู้รบระหว่างสองฝ่าย
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com
99www.elifesara.com
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้าไทย
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ekkachais@hotmail.com
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
CONCEPT
100A Publication by www.knowtheprophet.com
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีฯ
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
NationalPowers
ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
ภูมิศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์
National Security
Strategy
Personal,
Social,
National,
Regional,
International
ประชาชน ดินแดน
รัฐบาล อานาจอธิปไตย
Value and
National Style
National Interest
Vital, Important, Peripheral
Model National Security Assessment : EKMODEL
Defense of homeland
Economic well-being
Favorable world order
Promotion of value
Global
State
Non State Actors
Leaders
• การทาสงครามจะต้องเผด็จศึกในเร็ววันไม่ควรให้เนิ่นช้า
• ประเทศจะไม่ได้รับประโยชน์อันใดเลยถ้าปล่อยให้ การรบยืดเยื้อ
• ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการสงครามจะสูง การคลังของประเทศจะมีปัญหา
• กองทัพต้องติดศึกอยู่นานวัน อาวุธ ยุทโธปกรณ์ จะลดความคมกล้า
ขวัญทหารนับวันจะเสื่อม กาลังพลก็จะอ่อนเปลี้ย
“ไม่มีที่ใดมีสันติภาพ
หากปราศจากความยุติธรรม”
ความไม่เป็นธรรมนามาซึ่งความขัดแย้ง คนเรามักจะลุกขึ้นมาทาอะไรสัก
อย่างเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม หากไม่ได้รับการแก้ไข ความคับข้องใจจะ
กลายเป็นความรุนแรง
www.kpi.ac.th
GEOPOLITICS
FUTURE STUDIES
NATIONAL POWER
NATIONAL
STRATEGY
FUTURE STUDIES METHOD
Anticipatory thinking Assessments Environmental
scanning
Back casting (eco-history)
Back-view mirror analysis
Bottom Up
Cross-impact analysis
Conducting Technology
Checklists
Delphi technique
Future history
Futures workshops
Failure mode and effects analysis
 วัฒนธรรม
 จารีตประเพณี
 ปทัสฐาน
 ศาสนา
 ความกระตือรือร้นของคนในชาติ
 ทัศนคติต่อการทางาน
 Globalization & Localization
 Hard Power & Soft Power
 Americanization & Islamization
 Capitalism & Socialism
 High Technology & Low Technology
 Tangible & Intangible
 Physical & Mental or Spiritual
 National Resource
STRATEGY
108A Publication by www.knowtheprophet.com
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
เป็นทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)
ประเทศใดถ้ามีภูมิประเทศ หรือ สามารถยึดบริเวณจุดสาคัญ (Pivot Area) หรือใจ
โลก (Heartland) แล้ว ประเทศนั้นก็จะเป็นผู้ครองอานาจอันสูงสุด
ดินแดนที่เป็นใจโลกตามแนวความคิดของแมคคินเดอร์คือ ดินแดนแถบทะเลบอลติค ทุ่งหญ้า
สะเต็บตอนกลางของโซเวียต ปัจจุบันเป็นบริเวณที่เป็นทะเลน้าแข็งตลอดปี ด้านเหนือเป็น
มหาสมุทรอาร์คติคกับขั้วโลกเหนือ เป็นชัยภูมิเหมาะเพราะเรือเข้าไม่ถึง แม่น้าดานูบดนีเปอร์ เอเซีย
ไมเนอร์ จีน ทิเบต และมองโกเลียจดเอเซียใต้
Sir Halford Mackinder
Geopoliitika:Geopolitics
จานวนพลเมือง ทรัพยากร การเดินเรือ
Rimland Eurasia World
แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ”
ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน
การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพเป็นหลัก ตามแนวคิดของ
มาฮานเรื่องสมุทธานุภาพ
แนวคิดนี้ได้รับการพิสูจน์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกาลังในบริเวณพื้นที่ต่างๆ ของโลกอย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกันการ
เข้าครอบครองใจโลกของฝ่ ายคอมมิวนิสต์
กาหนด ยุทธศาสตร์ใจโลก (Heartland Strategy)
“ ใครครองยุโรปตะวันออกได้จะเข้าควบคุมใจกลางของพื้นโลกได้
ผู้ใดครองใจกลางของพื้นโลกได้ จะสามารถควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆของโลกได้
และผู้ใดครองพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ ก็จะควบคุมโลกได้ในที่สุด”
สามารถควบคุมทรัพยากรทั้ง คน และวัตถุ ของโลกได้อย่างสมบูรณ์
EURASIA
EURASIA
ให้ความสาคัญกับภูมิภาค
East Asia,
Northeast Asia
South East Asia
Europe
EURASIA
รูปแบบการทาสงคราม
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
หนึ่งประเทศสองระบบ
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
รูปแบบของการใช้กาลังอานาจแต่ละยุคสมัย
www.kpi.ac.th
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Media Power
National
Power
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power(Religion, Culture)
Media Power
Facebook, Twitter, VDOlink, Mobile Phone,
TV, Radio
National
Power
Globalisation & Localisation
Hard Power & Soft Power
Americanization & Islamization
Capitalism & Socialism
High Technology & Low Technology
Tangible & Intangible
Physical & Mental or Spiritual
National Resource
 ขาดความรู้ ความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
 ใช้การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน
 การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง Soft Power ได้
 ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
 กรณีการเผยแพร่ฆ่าตัดคอผ่านสื่อ Internet ของตะวันตก
 การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก
 จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก
 ครูสอนศาสนามีการเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มีมุสลิมทั่วโลก
 มุสลิมในประเทศต่างๆ เรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทางศาสนา วัฒนธรรมของตนเอง
 เรียกร้องแยกตัวเองเป็นรัฐอิสระ
 ประเทศที่ด้อยทางการจัดการปัญหาเชิงประวัติศาสตร์
125A Publication by www.knowtheprophet.com
126A Publication by www.elifesara.com
 เหตุจลาจลประท้วงการเสียชีวิตของ เฟรดดี้ เกรย์ ชายผิวสี วัย 25 ปีในเมืองบัลติมอร์ รัฐแมรีแลนด์ บานปลายเป็นปัญหา
ระดับชาติ
 ประชาชนในเมืองใหญ่เช่นที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. นครนิวยอร์ก ถือป้ายประท้วงหน้าทาเนียบขาว ตะโกนถามเจ้าหน้าที่ถึง
ระบบประชาธิปไตยของประเทศ เจ้าหน้าที่ตารวจดาเนินการจับกุมผู้ประท้วงที่จตุรัสยูเนียน เกาะแมนฮัตตัน
 นายโจเซฟ เคนท์ แกนนาการประท้วงกรณีการเสียชีวิตของวัยรุ่นผิวสี ถูกเจ้าหน้าที่ตารวจอุ้มหายต่อหน้าสื่อมวลชน
 การประท้วงครั้งนี้รุนแรงที่สุด ตั้งแต่มีการประท้วงการกระทาเกินกว่าเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจครั้งแรกที่ เมืองเฟอร์กูสัน รัฐ
มิสซูรี ที่สถานการณ์บานปลายเช่นกัน จนรัฐต้องส่งเนชั่นแนล การ์ดเข้าประจาการ.
127A Publication by www.elifesara.com
128A Publication by www.knowtheprophet.com
129
 แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการสู้รบด้วยอาวุธ
 ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความแตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรมที่ปะทุขึ้น ต้องมีมาตรการแก้ไขที่
ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง
 มีมาตราการป้องกันกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้เกิดความขัดแย้งในระดับปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองที่อาจขยายตัว
เป็นความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อสันติภาพและความมั่นคงของประเทศต่างๆ
 การเคลื่อนย้ายข้อมูลข่าวสาร เงินทุน ทาให้โลกเล็กลง
รัฐและพรมแดนลดความสาคัญ
 เกิดปัญหาลักษณะข้ามรัฐและความสลับซับซ้อน
 โลกจะมีประชาธิปไตยสูงขึ้น
 ความโดดเด่นอานาจเดียวจะลดความสาคัญ
 การต่อสู้ทางวัฒนธรรมและศาสนาจะเพิ่มมากขึ้นระหว่าง
อิสลาม คริสต์ และขงจื๊อ
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7

More Related Content

What's hot

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นBeau Pitchaya
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1baifernbaify
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจknwframe1
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2May Sirinan
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold warJitjaree Lertwilaiwittaya
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1supasit2702
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2Waciraya Junjamsri
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1nidthawann
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]imeveve
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะสงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะfsarawanee
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )EarnEarn Twntyc'
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1ppompuy pantham
 

What's hot (20)

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war7.1 ความขัดแย้ง cold war
7.1 ความขัดแย้ง cold war
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่  1สงครามโลกครั้งที่  1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]
 
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะสงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
สงครามโลกครั้งที่ 1 แก้ไขแล้วค่ะ
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
ความขัดแย้ง ( สงครามโลกครั้งที่ 1 / สงครามโลกครั้งที่ 2 / สงครามเย็น )
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 

Viewers also liked

สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งTaraya Srivilas
 
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงรายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงTaraya Srivilas
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.Taraya Srivilas
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.Taraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุดTaraya Srivilas
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์Taraya Srivilas
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกTaraya Srivilas
 
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานีTaraya Srivilas
 

Viewers also liked (20)

สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
 
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงรายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
 
Okinawa
OkinawaOkinawa
Okinawa
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพ
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
3. อ.เมธัส อนุวัตรอุดม 27 05-59 รายงานสนทนาชายแดนใต้-ปาตานี
 

Similar to สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7

68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2supasit2702
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1tanut lanamwong
 
สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1Jiratchaya Phisailert
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iNew Nan
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งtanut lanamwong
 
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันการสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันM.L. Kamalasana
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)Panda Jing
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 Suchawalee Buain
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2New Nan
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 

Similar to สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 (12)

68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1สงครามโลกครั้ง1
สงครามโลกครั้ง1
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 
อ31101
อ31101อ31101
อ31101
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
 
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันการสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1 สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562 Taraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (18)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
 

สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7

  • 1. โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com สงครามโลก
  • 2.
  • 3. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • เป็นสงครามใหญ่ที่เกิดขึ้นเฉพาะในทวีปยุโรปเป็น สาคัญเท่านั้น ระหว่าง ค.ศ. 1914 ถึง 1918 มี ศูนย์กลางอยู่ในทวีปยุโรป • เป็นความขัดแย้งทางทหารในระดับโลกตั้งแต่ ค.ศ. 1939 ถึง 1945 เป็นสงครามที่ลุกลามไปทั่วโลก อย่างแท้จริง โดยครอบคลุมอาณาบริเวณทั้งในยุโรป แอฟริกา เหนือ เอเชียตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก • สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นการระดมคนจานวนมาก เข้ามาสู่สงครามประหัตประหารกัน ที่เรียกว่า "สงครามของคนหมู่มาก" (War of the Masses) • สงครามโลกครั้งที่สอง ประชาชนทุกคนล้วน เกี่ยวข้องกับสงครามอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงอาจกล่าว ได้ว่า สงครามโลกครั้งที่สองนั้นเป็น "สงครามของ ประชาชนทุกคน“
  • 4. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) ฝ่ายมหาอานาจกลาง หรือไตรพันธมิตร ศูนย์กลางอยู่ที่ ไตรพันธมิตร ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี จักรวรรดิออตโตมัน เข้าสู่สงครามใน ค.ศ. 1914 อิตาลี และบัลแกเรียใน ค.ศ. 1915 และโรมาเนียใน ค.ศ. 1916 ฝ่ายอักษะ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น กับ กับ ฝ่ายมหาอานาจไตรภาคี หรือฝ่ายสัมพันธมิตร ศูนย์กลางอยู่ที่ไตรภาคี คืออังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ค.ศ. 1918 กองทัพสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม จักรวรรดิรัสเซียล่มสลายใน ค.ศ. 1917 และรัสเซียถอน ตัวจากสงครามหลังการปฏิวัติเดือนตุลาคมในปีเดียวกัน ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย เมื่อเริ่มสงคราม สหรัฐอเมริกาวางตัวเป็นกลาง แต่ เมื่อญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลซึ่งเป็นฐานทัพของ สหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิก จึงเข้าร่วมใน สงครามโลกครั้งที่ 2
  • 5. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) 1. ลัทธิชาตินิยม 2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม 3. การรวมกลุ่มพันธมิตรทางทหาร 4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอล ข่าน 1. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น 2. ลัทธิจักรวรรดินิยม 3. ลัทธินิยมทางทหาร การสะสมอาวุธเพื่อ ประสิทธิภาพของกองทัพ 4. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ระหว่างระบอบประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ 5. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ 6. สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะ สนธิสัญญาแวร์ซายส์
  • 6. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • การลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก - ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 โดยกัฟรีโล ปรินซีปนักศึกษา ชาวบอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนียหนุ่ม เป็น ชนวนเหตุใกล้ชิดของสงคราม • กองทัพเยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้ าแลบ เมื่อ 1 กันยายน 1939 ด้วยโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่า ดานซิกและฉนวนโปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษและ ฝรั่งเศส ซึ่งมีสัญญาค้าประกันเอกราชของโปแลนด์ ได้ยื่นคาขาดให้เยอรมนี ถอนทหารออกจากโปแลนด์ แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ อังกฤษและฝรั่งเศสจึงประกาศ สงครามกับเยอรมนี • และญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ฐานทัพเรือฝั่งแปซิฟิก ของสหรัฐอเมริกา
  • 7. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • สงครามเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2457( ค.ศ. 1914 ) ในรัชสมัย รัชกาลที่ 6 • สยามตั้งตัวเป็นกลาง จนสงครามได้รุนแรงขึ้นเป็นลาดับ รัชกาลที่ 6 ทรงเห็นว่าฝ่ายเยอรมนีเป็นฝ่ายรุกราน จนกระทั่ง 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 จึงทรงตัดสินพระทัยประกาศ สงครามกับเยอรมันนีและออสเตรีย-ฮังการี และได้ส่งทหาร อาสาสมัครไปช่วยรบ • สงครามเกิดขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2482( ค.ศ. 1939 ) ในรัชสมัย ของรัชกาลที่ 8 (ขณะนั้นเสด็จประทับอยู่ในประเทศ สวิตเซอร์แลนด์) หลวงพิบูลสงคราม (จอมพล ป.พิบูล สงคราม) เป็นนายกรัฐมนตรี • เมื่อเริ่มสงครามนั้นไทยประกาศตนเป็นกลาง แต่เพราะ ไทยมีกาลังน้อย เมื่อญี่ปุ่นบุกจึงไม่สามารถต่อต้านได้ และ เพื่อป้องกันมิให้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของญี่ปุ่นในด้านเศรษฐกิจ และการเมือง รัฐบาลต้องยอมให้ญี่ปุ่นผ่าน
  • 8. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ประเทศไทยได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียง ประเทศเดียวในทวีปเอเชียและแปซิฟิกไม่นับรวม ญี่ปุ่น ที่เข้าร่วมกับฝ่ายอักษะ สาเหตุการเข้าร่วม เนื่องมาจากการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตกใน สมัยรัชกาลที่ 5 ทุกประเทศในฝั่งทะเลแปซิฟิกและ ทะเลอันดามัน ถูกเป็นเมืองขึ้นกันหมดเหลือแต่ไทย และญี่ปุ่นเท่านั้น
  • 9. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ปืนกลยิงรัว ยังเป็นแบบติดฐานบังเกอร์ • ใช้ Assault Rifle หรือ Sub Machine Gun ให้ทหารพกพา • ทหารม้ายังขี่ม้าออกรบ โดยรถถังยังไม่มีบทบาท • รถถังถูกใช้กันแพร่หลาย และทหารม้าเปลี่ยนจากขี่ม้ามาขับ รถถังออกรบแทน • เครื่องบินรบยังเน้นใช้ยิงกันบนฟ้ าเป็นหลักและบินได้ไม่ไกล • เครื่องบินถูกใช้ทั้งยิงกันบนฟ้ า ทิ้งระเบิด และบินได้ไกลข้าม ทวีป • รูปแบบการรบภาคพื้นดินเป็นแนวรบอยู่กับที่ • รูปแบบการรบภาคพื้นดินมีรูปแบบการรบที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
  • 10. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ระเบิดก๊าซพิษแตกต่างกันราว 30 ชนิดถูก นามาใช้ ทาให้ผู้ได้รับแก๊สพิษเสียชีวิตอย่างช้า ๆ และทรมาน ซึ่งหลังสงครามครั้งที่ 1 หลาย ประเทศได้มีการลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วย การห้ามใช้ก๊าซพิษเหล่านี้อีก • เทคโนโลยีในสงครามโลกครั้งที่ 2 ระบบ เรดาร์ จรวดพิสัยไกล เรือดาน้า รถถัง ปืน ไรเฟิลประจากายทหารที่ยิงรัวต่อเนื่องได้ เครื่องบินไอพ่น ระเบิดนิวเคลียร์ • ไม่มีการนาก๊าซพิษมาใช้อีก
  • 11. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม • ส่วนรัฐจักรวรรดิใหญ่ 4 รัฐ อันได้แก่ จักรวรรดิเยอรมัน ออสเตรีย-ฮังการี รัสเซียและออตโตมัน พ่ายแพ้ทั้งทาง การเมือง และทางทหาร จนได้สิ้นสภาพไป เยอรมนีและ รัสเซียสูญเสียดินแดนไปมหาศาล ส่วนอีก 2 รัฐที่เหลือนั้นล่ม สลายลงอย่างสิ้นเชิง • แผนที่ยุโรปกลางได้ถูกเขียนใหม่โดยมีประเทศขนาดเล็ก เกิดใหม่หลายประเทศ • ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม • เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือสหรัฐอเมริกา และสหภาพ โซเวียต จนนาไปสู่เกิดสงครามเย็น ที่ดาเนินต่อมาอีก 45 ปี • การเกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ
  • 13. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ทหารที่เข้าร่วมสงครามทั้งฝ่ายมหาอานาจกลางและฝ่าย สัมพันธมิตร ประมาณ 70 ล้านคน เสียชีวิต 8 ล้านคน บาดเจ็บมากกว่า 20 ล้านคน พิการตลอดชีวิตประมาณ 7 ล้านคน • ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลก ครั้งที่ 1 โดยมีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อยกว่า 68 ล้านคน จากการ นาอาวุธที่ทันสมัยและระเบิดปรมาณูมาใช้ • สันนิบาตชาติถูกก่อตั้งขึ้นด้วยหวังว่าจะป้องกันความ ขัดแย้งเช่นนี้มิให้เกิดขึ้นอีกในอนาคต • สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความ ร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งใน อนาคต
  • 14. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • สงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุดลงเมื่อเยอรมนี เซ็นสัญญาสงบศึก ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 1918 กินเวลานาน 4 ปี 5 เดือน จึงยุติลงอย่าง เป็นรูปธรรม ตามด้วยการลงนามในสนธิสัญญา แวร์ซายส์ ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1919 • เป็นสงครามที่เกิดขึ้นภายหลังสงครามโลก ครั้งที่ 1 เพียง 20 ปี มีระยะเวลายาวนาน ถึง 6 ปี จึงยุติสงคราม
  • 15.
  • 16. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) • สงครามใหญ่ • เฉพาะในทวีปยุโรป • พื้นที่สงครามอยู่ในทวีปยุโรป • สงครามลุกลามไปทั่วโลกทั้งใน ยุโรป แอฟริกาเหนือ เอเชีย ตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก • สงครามกระจายไปทั่วแต่ละ ประเทศในทุกทวีป ทั้งอเมริกา แอฟริกา เอเชียแปซิฟิค ยุโรป และมหาสมุทรแปซิฟิคฯลฯ •"สงครามของคนหมู่มาก" (War of the Masses) •"สงครามของประชาชนทุก คน“ •สงครามไร้ตัวตน(นิรนาม)
  • 17. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) ฝ่ายไตรพันธมิตร เยอรมนี ออสเตรีย- ฮังการีและอิตาลี ออตโตมัน อิตาลี บัลแกเรียและโรมาเนียเข้ามาภายหลัง ฝ่ายอักษะ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น กลุ่มประเทศสังคมนิยมเก่า กลุ่มประเทศมุสลิม กับ กับ ฝ่ายสัมพันธมิตร อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมภายหลังรัสเซียล่ม สลาย ฝ่ายสัมพันธมิตร อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย เริ่มสงครามสหรัฐอเมริกาเป็นกลาง เมื่อ ญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลจึงเข้าร่วมในสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตร สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตเลีย และกลุ่มประเทศ NATO
  • 18. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) ลัทธิชาตินิยม แข่งขันกัน แสวงหาอาณานิคม การ รวมกลุ่มพันธมิตรทางทหาร ความไม่มั่นคงทางการเมือใน คาบสมุทรบอลข่าน ลัทธิชาตินิยม ลัทธิจักรวรรดิ นิยม ลัทธินิยมทางทหาร การสะสมอาวุธ อุดมการณ์ ทางการเมือง ความอ่อนแอ ขององค์การสันนิบาตชาติ สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็น ธรรม ลัทธิชาตินิยม องค์การ สหประชาชาติที่ไม่เป็นธรรม สังคม วัฒนธรรม เชื้อชาติ เผ่าพันธ์ ศาสนาที่แตกต่างกัน (Crash Civilization, Megatrend Asia, Americanization, Islamization )
  • 19.  ความเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ 7 กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจากบริเวณตะวันออกกลาง สู่ยุโรป  หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม 1990 มีบอสเนีย และเอเซียกลางแยกจากรัสเซีย รวมเป็น Islamic Conference Organization(ICO)  ไม่มีเอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบายต่างประเทศที่แตกต่างกัน  มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไปตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และยุทธศาสตร์ของที่ตั้งประเทศตามภูมิ รัฐศาสตร์(Geopolitics)  มีการนาของประมุขที่มีกรอบแนวความคิด บุคลิก ประสบการณ์ส่วนตัวต่างกันไป
  • 20.  ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ  ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่  ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย  ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ  ประเทศมุสลิมสายเคร่ง  ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
  • 21.  ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)  ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)  ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน)  ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ)  ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐)  ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชียกลางและคอเคซัสที่ เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และ อาเซอร์ไบจาน)
  • 22.  ประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน  ขบวนการชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” และ “ฮิซโบเลาะห์  มุสลิมแนวปฏิวัติอิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่ออเมริกาและกลุ่มตะวันตก  ผู้นาเอากฎแบบเคร่งครัดของอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” ต่อต้าน “การครองโลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา  อารยธรรมชนผิวขาวคริสเตียน” เป็นศัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม”(ฮันติงตันเรียกว่า“The Clash of Civilizations” )  ผู้นามีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอามาร์ กัดดาฟี  “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศเช่น UN , IMF, World Bank , WTO องค์การกาหนดมาตรฐานระหว่าง ประเทศ ฯลฯ เหล่านี้ มักมีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง
  • 24. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) • ลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก- ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่ง ออสเตรีย โดยนักศึกษาชาว บอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนีย หนุ่ม • เยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้ า แลบ ด้วยโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยก เมืองท่าดานซิกและฉนวน โปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษและ ฝรั่งเศส ยื่นคาขาดให้เยอรมนี ถอนทหารออกจากโปแลนด์ แต่ฮิต เลอร์ปฏิเสธ และญี่ปุ่นโจมตีอ่าว เพิร์ล ของสหรัฐอเมริกา • สงครามการโจมตีกลุ่ม ISIS ใน อิรักและซีเรีย • การแย่งชิงหมู่เกาะพาราเซล/ สเเปรตลีย์ การท้าทายของอิหร่าน และเกาหลีเหนือต่อสหรัฐอเมริกา • พื้นที่ Eurasia (Russia /CIS) and China
  • 25.
  • 26.
  • 27. www.kpi.ac.th Military Power Politics Power Economics Power Sociological Power Religion , Culture Media Power : Facebook, Twitter, Vdolink, Mobile Phone, TVonline, Radio online, Cyber War National Power
  • 28.  Globalisation & Localisation  Hard Power & Soft Power  Americanization & Islamization  Capitalism & Socialism  High Technology & Low Technology  Tangible & Intangible  Physical & Mental or Spiritual  National Resource
  • 29. รูปแบบการทาสงคราม หนึ่งประเทศสองระบบ สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม กาลังอานาจทางทหารทางบก เรือ อากาศ กาลังอานาจทางการเมือง : ระบอบประชาธิปไตย กาลังทางเศรษฐกิจ : ทุนนิยมเสรี กาลังอานาจทางสังคมจิตวิทยา : ศาสนา/วัฒนธรรม
  • 30.  Soft Power กาลังอานาจที่จับต้องไม่ได้คือความสามารถเปลี่ยนแปลงผู้อื่น โดยใช้วิธีการ กาหนด กรอบ กาหนดเป้าหมายร่วมกัน ใช้การโน้มน้าวและสร้างให้เกิดความต้องการสิ่งเหล่านั้น เพื่อให้เป็นไปตาม ความต้องการของผู้ใช้อานาจ  ทรัพายากรของ กาลังอานาจแบบ Soft Power เช่น ขนบธรรมเนียม ความคิด คุณค่า วัฒนธรรม และความเข้าใจในนโยบายอย่างถูกต้อง  กาลังอานาจ Smart Power คือ การผสมผสานระหว่าง กาลังอานาจแบบ Hard Power และ กาลังอานาจแบบ Soft Power ลงไปในยุทธศาสตร์ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ
  • 31.  มีลักษณะ 4 ประการได้แก่ 1. การต่อสู้และการทาลายล้าง 2. การสนับสนุนด้วยวิธีทางการทูต 3. ให้ความคุ้มครองรักษาสันติภาพ 4. ให้ความช่วยเหลือในด้านอื่นๆ  การใช้อานาจทางทหาร สามารถทาให้เกิดได้ทั้ง อานาจแบบ Hard Power และ อานาจแบบ Soft Power ได้  ยุทธศาสตร์ที่ผสมผสานทั้ง อานาจแบบ Hard Power และอานาจแบบ Soft Power อย่างมีประสิทธิภาพ จะ นาไปสู่ อานาจทางทหารอย่าง Smart Military Power ในที่สุด
  • 32. กาลังอานาจแบบ Soft Power เกิดจากปัจจัยพื้นฐาน 3 ประการคือ 1. วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อที่น่าสนใจ และดึงดูดผู้อื่น 2. คุณค่าในทางการเมือง คือ ระบบบริหารที่มีความรับผิดชอบและตอบสนองต่อความต้องการ ของประชาชน 3. นโยบายระหว่างประเทศ ที่ผู้อื่นเห็นถึงความสาคัญ และความถูกต้อง
  • 33. 1. กาหนดหลักการ สร้างความดึงดูดใจ และโน้มน้าว  ยกตัวอย่าง การรณรงค์งดสูบบุหรี่ การใช้อานาจแบบ Hard Power : จับและปรับผู้ที่สูบบุหรี่ถ้าใช้ อานาจแบบ Soft Power : จะใช้การรณรงค์ พูดคุย เพื่อโน้มน้าวให้ผู้ที่สูบ เปลี่ยนแปลงความคิด เกี่ยวกับการสูบบุหรี่  อานาจแบบ Hard Power : ยกเลิกการขายบุหรี่ อานาจแบบ Soft Power : ใช้การโฆษณา เพื่อให้ผู้ที่ สูบเห็นถึง พิษภัยของการสูบบุหรี่ และเป็นที่น่ารังเกียจของสังคม 2. การทางานของ อานาจแบบ Soft Power : ความตั้งใจโดยตรงผู้นา อาจได้รับรับจูงใจจาก ผู้นาอื่นๆ และ นาไปสู่นโยบายที่ดีที่สุด ส่วนความตั้งใจทางอ้อม ผู้นา ได้รับแรงจูงใจจาก จากความต้องการของสังคมที่ชอบหรือ มีแรงจูงใจในเรื่องเดียวกัน อันนาไปสู่ นโยบายที่ดีที่สุด
  • 34. SEA POWER 21 34A Publication by www.knowtheprophet.com
  • 35. สงครามในอัฟกานิสถาน ต้องการใช้พื้นที่ปากีสถานเป็นฐานทัพหน้าและส่งกาลังบารุง รัฐบาล ปากีสถานอนุญาตให้สิทธิแค่การบินผ่าน สงครามอิรัก ขอใช้พื้นที่ประเทศตุรกีเป็นฐานทัพหน้า ได้รับการปฏิเสธจากสภาฯ การใช้พื้นที่ประเทศอื่นเป็นฐานทัพหน้า ต้องเสี่ยงกับการใช้ งป.มหาศาล และเกิดความสูญ เปล่าในอนาคต การลงทุนสร้างฐานทัพที่อ่าวซูบิคในฟิลิปปินส์ ต่อมาไม่ต่อสัญญาเช่า ต้องหันกลับมาใช้อาณานิคมของตนเอง คือเกาะกวมเป็นศูนย์กลางของกองกาลังสหรัฐฯ ในเขต ภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก
  • 36. พัฒนาฐานทัพอากาศ และฐานทัพเรือ ใช้งบประมาณ ๑,๐๔๘ ล้านยูเอสดอลล่าร์ มีประชากร ๑๗๐,๐๐๐ คน มีโรงกลั่นน้ามัน และอู่ซ่อมเรือ ห่างจากฟิลิปปินส์ ไปทางตะวันออก ๒๒๔๐ กม. มีพื้นที่ ๕๔๑ ตร.กม. (บทความนิติภูมิ ไทยรัฐ หน้า ๒ วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๒)
  • 37. กวมเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและอยู่ทางใต้สุดของหมู่เกาะมาเรียนา มีเมืองหลวงคือ อากาญา ชื่อ“ดินแดนกวมของสหรัฐอเมริกา (U.S. Territory of Guam)” เป็นเกาะ หนึ่งในมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นดินแดนที่ยังไม่ได้ปกครองตนเองของสหรัฐอเมริกา ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวชามอร์โรซึ่งอพยพมาอยู่ที่เกาะเป็นครั้งแรกเมื่อ 3,500 ปีมาแล้ว รายได้หลักของเกาะมาจากการท่องเที่ยวโดยเฉพาะจากญี่ปุ่น
  • 38.  Strategic Defense Mobile Forces  Bases Places  Hard Power Soft Power Smart Power
  • 39.
  • 41. กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑ สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
  • 44.
  • 45. ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีดความสามารถในการทาการรบในทุก ภูมิภาคทั่วโลก ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ (Special Force) มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมีการติดตั้ง ขีปนาวุธ Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ Tomahawk และสามารถส่ง หน่วย Special Force ขึ้นปฏิบัติการบนฝั่งได้
  • 46. สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็วลดการพึ่งพาชาติอื่น วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลดกาลังทหารประจาการใน เกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ ๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติพันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัย คุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
  • 47.
  • 48. Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air Missile Theater, Air Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ Sea Strike การโจมตีจากทะเล Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ Sea Trial คือจะต้องมีการฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ และวางแนวความคิดในการปฎิบัติ การ Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • 49.
  • 50.
  • 51. Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Sea b
  • 52.  เป็นหน่วยงานของ UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The International Ship and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี 2545  มาตรการที่กาหนดให้ประเทศสมาชิก IMO ที่รับรองมาตรการนี้จานวน 146 ประเทศ เพิ่มการรักษาความปลอดภัยการเดินเรือเพื่อ ป้องกันการก่อการร้าย  กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic Information System ภายใน 31 ธันวาคม 2547  กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถานที่ตั้ง และปัญหาด้านความปลอดภัย  กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความปลอดภัยสถานที่  เรือที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบจะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่างประเทศ(International Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
  • 53. Raw Material Product & Container Money Man
  • 54. บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้าทะเล คุมเส้นทางเดินเรือ และแสวงหาทรัพยากรโพ้นทะเล ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ (Naval Strategy)
  • 55.
  • 56. 56A Publication by www.knowtheprophet.com
  • 57. 57A Publication by www.knowtheprophet.com
  • 58.  ประชากรไอร์แลนด์ มีการอพยพจานวนสูง ไปยังเฉพาะสหรัฐอเมริกา สองในห้าของชาวไอร์แลนด์ที่เกิดมีถิ่น ฐานอยู่ในต่างประเทศในศตวรรษที่ 21 มีราว 80 ล้านคนจากทั่วโลกที่อ้างว่าสืบเชื้อสายมาจากชาวไอริช ใน จานวนนี้เป็นชาวอเมริกัน 45 ล้านคนอ้างว่าเชื้อสายไอริช  วอชิงตัน โพสต์ อ้างข้อมูลสามะโนประชากรสหรัฐว่า มีชาวอเมริกันอย่างน้อย 34.5 ล้านคนที่ระบุว่าตัวเองมี เชื้อสายไอริช ซึ่งมากกว่าตัวเลขประชากรในไอร์แลนด์ 4.68 ล้านคน ราว 7 เท่า คนไอริชอยู่ในสหรัฐมากที่สุด เป็นอันดับสองรองจากคนเยอรมัน นิวยอร์กเป็นมลรัฐที่มีคนเชื้อสายไอริชหนาแน่นที่สุด คือ 12.9% เทียบ กับค่าเฉลี่ยทั้งประเทศที่ 11.1% แต่ถ้าเจาะลึกเป็นเมือง ๆ จะพบว่าบอสตัน ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐ แมสซาชูเซตส์ มีประชากรเชื้อสายไอริชสูงถึง 20.4%  ประเทศสหรัฐอเมริกาประชากรมีบรรพบุรุษเป็นชาวอังกฤษ แต่น้อยกว่าเยอรมัน
  • 59.  รัสเซีย จีน กลุ่ม BRIC China + Russia มีการค้าขายกันอย่างมาก และร่วมปฏิบัติในตะวันออกกลางโจมตีกลุ่ม ISIS  North Korea, Iran, Germany  Russia ค้ากับ Germany อันดับ 10 มี 6000 โรงงาน แรงงาน 300,000 คน  Russia เป็น Strategic Partner กับ Germany ส่งน้ามันให้Germany 36%  UK ถอนตัวจาก EU และ NATO ไม่ร่วม EU Dollars  Germany France ตั้ง EU  คนอังกฤษอพยพ IRISH, ISRAEL, UK เข้าไปใน Canada, USA  China ค้ากับ USA อย่างมาก
  • 60.  อานาจกาลังรบที่มีตัวตน เช่น กาลังพล ยานพาหนะ ยุทธภัณฑ์ อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ต่างๆ ฯลฯ  อานาจกาลังรบที่ไม่มีตัวตน ( Intangible ) เช่น ขวัญ กาลังใจ ความกล้าหาญ ความเสียสละ ความรักชาติ รักแผ่นดิน ความฮึกเหิม ความมุมานะอดทน รวมถึงการฝึกซ้อมต่างๆ ฯลฯ
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 64.  ภูมิศาสตร์  ภาวะประชากร  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  รัฐบาล  วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี  การพลังงาน  การศึกษา  การเศรษฐกิจ  กาลังทหาร  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
  • 65. ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาตินามธรรม  ลักษณะและเอกลักษณ์ประจาชาติ  อุดมการณ์ของชาติ  แบบแผนของชาติ  ภาวะผู้นา  ความเชื่อ  ศาสนา จริยธรรม  ความจงรักภักดี
  • 66. America has stood down enemies before, and we will do so this time. Bush September, 11, 2001
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 70.  Globalization  Technology  Mobility  Beliefs  Economy
  • 71. เป็นประเทศที่ทรงอิทธิพลที่สุด ในด้านเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร มีศักยภาพในการชี้นาและการกาหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ในโลก มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก (จัดอันดับโดย The Economist) มีบทบาทสูงในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น UN, NATO, IMF, World Bank, WTO, G8, OECD, APEC และ UNCTAD
  • 72.  มองวิถีชีวิตแบบอเมริกันตะวันตก จะเต็มไปด้วยความเลวทราม อุจาด ลามก ทุจริต คดโกง เห็นแก่ตัว กีดกัน โค่นล้มเท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธีรุนแรง  ยึดมั่นในคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามอยางเคร่งครัด และต้องการนาเอากฎหลักของศาสนามาใช้เป็น กฎหลักของสังคมอย่างเคร่งครัด  สังคมมุสลิม ผู้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” เพื่อ ต่อต้าน“การครองโลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา และอารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน”  ความเป็นศัตรูเกิดขึ้นระหว่าง“ตะวันตก” กับ “มุสลิม” (“The Clash of Civilizations”  ผู้นาจานวนนี้มักเป็นผู้นาที่มีความนับถือตัวเอง และเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน ในอิรัก หรือโมอามาร์ กัดดาฟี ในลิเบีย
  • 73. 1. ขยายสมาชิกของสหภาพยุโรปไปยังยุโรปตะวันออกเพื่อรวมยุโรปเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันใหญ่ใหญ่ขึ้น 2. เดินหน้าสร้างอิสราเอลที่ใหญ่ขึ้น (Greater Israel) ผ่านการก่อสงคราม กับอิรัก ซีเรีย ลิเบีย เลบานอน ซูดาน โซมาเลีย และอิหร่าน สงครามในตะวันออกกลางเป็นการลดประชากรและจะทาให้ประเทศในภูมิภาคนั้น รวมทั้งแอฟริกาเหนืออ่อนแอ กลายเป็นรัฐบริวารของอิสราเอลในที่สุด แบ่งแยกและปกครองเป็นนโยบายที่ใช้มาตลอด 3. ปิดล้อมรัสเซียผ่านองค์กรนาโต้ด้วยการเพิ่มกาลังทหารในยุโรป และทาลายแผนการของรัสเซียที่จะผงาดขึ้นมาใหม่ผ่านเขต เศรษฐกิจร่วมยูเรเซีย (Eurasian Economic Union) สร้างวิกฤติยูเครน และสร้างปฏิวัติสีในรัสเซียเพื่อโค่นล้ม ปูติน 4. ปิดท้ายด้วยการสกัดจีน เพื่อล้มคู่แข่งทางการเงิน และเศรษฐกิจในเอเซีย Anglo-America คือ ดินแดนที่อยู่ทางตอนเหนือของแม่น้าริโอแกรนด์ ประกอบด้วยสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ประชากรส่วนใหญ่เป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากชาวอังกฤษ
  • 74. 1. การสร้างรัฐบาลโลกเดียวผ่านยูเอ็น 2. การสร้างธนาคารกลางโลกเดียวผ่านกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือBank for International Settlements 3. การสร้างเงินสกุลโลกเดียวผ่านเงินดิจิตัล special drawing rights ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ 4. การสร้างศาสนาโลกเดียว โดยจะมีการรวมเอาศาสนาจูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลามเข้าด้วยกัน 5. การสถาปนาให้เยรูซาเลมเป็นเมืองหลวงของโลก
  • 75.  แองโกลอเมริกันเดินหน้าสร้าง Greater Israel อย่างเร่งด่วน ด้วยการสร้าง ISIS เพื่อล้มอิรัก ซีเรีย และ อิหร่านในท้ายที่สุดในตะวันออกกลาง  พยายามยันรัสเซีย รวมทั้งจีนไม่ให้ผงาด แล้วเตรียมตัวก่อสงครามโลกครั้งที่ 3 ในอีก 3-5 ปี โดยมั่นใจว่าเวลานั้น จะสามารถสยบทุกประเทศได้  แต่ รัสเซีย จีนละอิหร่านจับมือกันชิงก่อสงครามก่อนในซีเรีย เพื่อเปิดเผยว่าใครอยู่เบื้องหลัง ISIS เตรียมการยึด ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือและจะทาลาย Greater Israel ให้พังพินาศ  แกนของโลกอยู่ที่ตะวันออกกลางเวลานี้ เนื่องจากเป็นแหล่งพลังงาน แหล่งประวัติศาสตร์ และอารยะธรรมโบราณ หลักของโลก ใครเป็นผู้นาในตะวันออกกลางได้ผู้นั้นจะเป็นผู้ครองโลก
  • 76. 76 1. สหรัฐอเมริกาแทรกแซงทางทหารในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก นับตั้งแต่ปี 1946 มีเพียงปี 1955 และ 1957 เท่านั้นที่ไม่มีหลักฐานการแทรกแซงทางทหารของสหรัฐอเมริกา (Uppsala Conflict Data Program, 2011: Grossman ,2012): Global Policy Forum, 2005) 2. สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดในโลก (Stockholm International Peace Research Institute, 2011) สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
  • 77. ภาพที่ 2 มูลค่าการส่งออกอาวุธของสหรัฐอเมริกา ในฐานะผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดในโลก 77 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000 40,000 45,000 50,000 USA World ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011) สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
  • 78. ภาพที่ 3 ส่วนแบ่งตลาดอาวุธของสหรัฐอเมริกา 78 ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011) per cent - 10 20 30 40 50 60 70 สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
  • 79. ภาพที่ 4 สัดส่วนผู้นาเข้าอาวุธ ปี 1989-2010 79 ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute (2011) Western Europe, 13.46 Eastern Europe, 8.50 Middle East, 23.10Asia, 38.89 Africa, 4.58 North America, 4.02 Central and South America, 4.92 Others, 2.53
  • 80. 80 ที่มา: The Hanscom Family Weblog (2013)
  • 81. 81 เริ่มต้น-สิ้นสุด การปฏิบัติการ ผลที่เกิดขึ้นหลังจากสงคราม ม.ค. 1990- ธ.ค. 2011 1. ปฏิบัติการทางทหารในสงครามอ่าวเปอร์เซีย (สงครามคูเวต) 2. ปฏิบัติการยึดครองอีรัก (สหรัฐเรียนกว่า ปฏิบัติการเสรีภาพอิรัก) 3. ล้มล้างรัฐบาลและประหารชีวิตอดีต ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน (สหรัฐอเมริกาได้รับเงินและกาลังสนับสนุนจาก 36 ประเทศ) 1. มูลค่าการค้าน้ามันระหว่างอิรักกับสหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นอย่างมีนัย 2. ยอดขายอาวุธของสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นในปี 1991- 1993 3. วัตถุโบราณของอีรักถูกโจรกรรมหลังจาก สหรัฐอเมริกาบุกเข้ายึดอิรัก
  • 82. 82 ที่มา: Stockholm International Peace Research Institute, Yearbook 2008 Ranking Name Country Arms Sales ($ million USD) 1 Boeing USA 30,690 2 Lockheed Martin USA 28,120 3 BAE Systems UK 24,060 4 Northrop Grumman USA 23,060 5 Raytheon USA 19,530 6 General Dynamics USA 18,770 7 EADS West Europe 12,600 8 L-3 Communications USA 9,980 9 Finmeccanica Italy 8,990 10 Thales France 8,240 จานวนผู้เสียชีวิตจากสงคราม ปี 2006 (คน) 17,398 จานวนผู้เสียชีวิตจากสงคราม ปี 2006-2010 (คน) 111,916
  • 83.  ปัญหาความขัดแย้ง แย่งชิงทรัพยากรในน่านน้าทะเลจีนใต้ถือเป็นระเบิดเวลาลูกใหญ่ ที่รอวันระเบิดตูมตามมานาน และนักวิเคราะห์มองว่า การ แข่งขันด้านอาวุธในช่วงหลังของบรรดาประเทศคู่กรณี อาจเป็นตัวเร่งสถานการณ์ให้ลุกลาม กลายเป็นสงครามสู้รบ ทั้งขนาดย่อยและขนาดใหญ่ได้ ไม่ยาก คู่กรณีที่ว่านี้หมายถึง จีน ไต้หวัน และ 4 ประเทศสมาชิกอาเซียน ประกอบด้วย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม มาเลเซีย และบรูไน ซึ่งต่างก็อ้างกรรมสิทธิ์ เหนือดินแดนหมู่เกาะในทะเลจีนใต้ที่โดดเด่นคือ หมู่เกาะสแปรตลีย์ และหมู่เกาะพาราเซล ส่วนที่เหลือเป็นเกาะแก่งหินโสโครกขนาดเล็ก เช่น เกาะสการ์โบโรจ์ ที่จีนเรียกเกาะหวงหยาน และกาลังเป็นปัญหากับฟิลิปปินส์  จีนอ้างอธิปไตยเหนือเกาะแก่งเหล่านี้ เกือบทั่วน่านน้าทะเลจีนใต้ส่วนประเทศอื่น ๆ ที่เหลืออ้างแค่บางส่วน ที่อยู่ไม่ไกลจากชายฝั่งของตน ปัญหานี้ทาให้กลุ่มอาเซียน ที่กาลังเตรียมตัวเข้าสู่การเป็น “ประชาคมอาเซียน” ในปี พ.ศ. 2558 เกิดความขัดแย้งกันอย่างหนัก ดังจะเห็นได้ จากการประชุมประจาปี รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน (เอเอ็มเอ็ม) ครั้งที่ 45 ครั้งล่าสุด ที่กรุงพนมเปญ เมืองหลวงกัมพูชา ระหว่างวันที่ 9–13 ก.ค. ที่ผ่านมา
  • 84.  ซึ่งการประชุมปิดฉากลงโดยไม่มีแถลงการณ์ร่วม ถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ 45 ปี นับตั้งแต่ก่อตั้งองค์กรระหว่างประเทศหลักของภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี พ.ศ. 2510 เป็นต้นมา การประชุมแต่ละปีที่ผ่านมา แถลงการณ์ ร่วมซึ่งจะมีการปรุงไว้ล่วงหน้า ถือเป็นข้อสรุปข้อตกลงที่บรรลุ ในรอบปีก่อนหน้านั้น และบันทึกประเด็น ต่าง ๆ ที่ยังจาเป็นต้องแก้ไขให้ลุล่วง ประเด็นที่ยังเป็นปัญหา ไม่มีการเอ่ยถึงหรือบรรจุไว้ในแถลงการณ์ปิดการประชุม ตรงจุดนี้ตามสายตานักการทูตวงนอกมองว่า เป็นส่วนหนึ่งของ วัฒนธรรมทางสังคมของอาเซียน ซึ่งเชื่อว่าปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขได้ตามกาหนดเวลา สุดท้ายก็จะหาทางแก้ได้เองโดยธรรมชาติ นี่คือ “วิถีอาเซียน” วัฒนธรรมแบบสบาย ๆ เป็นกันเอง ไม่ซีเรียส ซึ่งต้องมาพังทลายลง จากความขัดแย้งในที่ประชุมเอเอ็มเอ็ม หนล่าสุดที่ พนมเปญ เท่ากับว่าเอเอ็มเอ็มจะไม่มีบันทึกประเด็น และข้อเสนอต่าง ๆ ให้ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนได้พิจารณาและตัดสินใจ ระหว่างการประชุมปลายปีนี้
  • 85.  ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ อดีตรัฐมนตรีการต่างประเทศของไทย ปัจจุบันเป็นเลขาธิการอาเซียน กล่าวถึงความขัดแย้งระหว่างการประชุมครั้งนี้ว่า “คาดไม่ถึง” และ “น่าผิดหวังอย่างยิ่ง” และว่า อาเซียนจาเป็นต้องเรียนรู้วิธีรวบรวมและประสานจุดยืน ไม่งั้นก็ไม่มีทางสู้กับประชาคมอื่น ๆ ได้ นักสังเกตการณ์ส่วนใหญ่มองผลลงเอยการประชุมครั้งนี้ว่า แสดงให้เห็นถึงความแตกแยกรุนแรงในกลุ่มอาเซียน เกี่ยวกับกรณีพิพาทเหนือทะเลจีนใต้ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความสามารถของกลุ่ม ในการต่อกรกับคู่แข่งมหาอานาจเกิดใหม่ในภูมิภาค กระทบต่อความสามัคคีเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน รวมทั้งบทบาทในการส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างมวลหมู่ชาติสมาชิก เท่าที่จับกระแสรายงานข่าว ทั้งช่วงก่อนและระหว่างการประชุมเอเอ็มเอ็มที่พนมเปญ ปัญหาพิพาทในทะเลจีนใต้กลายเป็นเรื่องหลักของการประชุม แทนที่จะเป็นเรื่องที่สาคัญกว่า อย่างเช่น เศรษฐกิจ หรือเรื่องความร่วมมือในอาเซียน และเป็นความขัดแย้งแบบเปิดเผย ระหว่าง 3 ชาติสมาชิก คือกัมพูชา ประเทศเจ้าภาพ ในฐานะชาติประธานหมุนเวียนของอาเซียนในปีนี้ กับฟิลิปปินส์ และเวียดนาม ฟิลิปปินส์กับเวียดนามต้องการให้อ้างอิง เหตุการณ์เผชิญหน้าในทะเลจีนใต้เมื่อไม่นานมานี้ ระหว่างเรือรบ-เรือประมง ของจีนกับสองประเทศ ในแถลงการณ์ร่วมปิดการประชุม แต่กัมพูชาคัดค้าน บอกว่าไม่เหมาะสมที่จะระบุความขัดแย้งทวิภาคีลงในแถลงการณ์ นายอัลเบิร์ต เดล โรซาริโอ รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์ ถึงกับจวก นายฮอร์ นัมฮอง รัฐมนตรีต่างประเทศกัมพูชาตรง ๆ ว่า ยืนหยัดปกป้องผลประโยชน์จีน แต่นายฮอร์บอกว่า กัมพูชาไม่ได้ สนับสนุนใครที่เป็นคู่กรณีพิพาทในทะเลจีนใต้และการที่ไม่มีแถลงการณ์ร่วมปิดท้าย ต้องโทษสมาชิกอาเซียนทุกชาติ จะโทษกัมพูชาประเทศเดียวไม่ได้ ประชุมหนนี้รัฐมนตรีต่างประเทศจีนและสหรัฐ เข้าร่วมการหารือด้วย ในฐานะประเทศคู่เจรจา จีนยังยืนยันไม่เห็นด้วยกับความพยายามที่จะนาปัญหาความขัดแย้งในทะเลจีนใต้ เข้าสู่การหารือใน เวทีระหว่างประเทศ ไม่ว่าเวทีใดโดยบอกว่าปัญหานี้ควรแก้ไขด้วยการเจรจาตัวต่อตัว ระหว่างจีนกับประเทศคู่กรณีเป็นราย ๆ ไป
  • 86.  ฟิลิปปินส์และเวียดนามเลือกข้างสหรัฐ เห็นเด่นชัดมากขึ้น หลังการประกาศปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ของอเมริกา พญาอินทรี ซึ่งเพิ่ม สรรพกาลังทางทะเลในเอเชียตะวันออก-แปซิฟิก เป็น 60% และแอตแลนติก-ยุโรป เหลือ 40% จากที่เคยอยู่ที่ประมาณ 50:50  รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐ(นายลีออน พาเนตตา) ประกาศปรับกาลังทางทะเลใหม่ ที่ประเทศสิงคโปร์ หลังจากนั้นก็เดินทางเยือนฟิลิปปินส์ และเวียดนาม และออกข่าวว่าสหรัฐอาจจะรื้อฟื้นฐานทัพเรือขนาดใหญ่ในประเทศทั้งสอง ขึ้นมาใช้งานอีกครั้งส่วนกัมพูชาเลือกข้างจีน ชัดเจน  พิพาททะเลจีนใต้เกี่ยวพัน 4 ประเทศสมาชิกอาเซียน กับจีน และไต้หวัน ไม่ใช่ความขัดแย้งระหว่างอาเซียนกับจีน  ซาบาม เซียเกียน ประธานชมรมอดีตเอกอัครราชทูตอินโดนีเซีย บอกว่าหากอาเซียนปล่อยให้ภูมิภาคเป็นสนามรบ “สงครามกองโจร ทางการทูต” ของสหรัฐกับจีนต่อไป โดยไม่มีการควบคุมหรือห้ามปราม ก็จะเป็นจุดเริ่มไปสู่ความหายนะของกลุ่มในอีกไม่นาน
  • 87.
  • 88.  นิยามทางกฎหมาย ถือเอาการประกาศสงครามเป็นสิ่งที่ถูกต้องและรวมถึงระยะเวลาตั้งแต่ การประกาศสงคราม ซึ่งเกิดขึ้นก่อนการเริ่มต้นสู้รบกัน  ตั้งแต่ ค.ศ.๑๙๖๔ ไม่มีประเทศใดประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ เนื่องจากเป็นข้อห้าม ของสหประชาชาติ เช่นสงครามเวียดนาม สงครามอิรัก/อิหร่าน สงครามฟอล์กแลนด์ และ สงครามอ่าว  การรับรู้ของสงคราม ในเดือนเมษายน ค.ศ.๑๙๘๒ คนอังกฤษเชื่อว่าพวกเขากาลังอยู่ใน ภาวะสงครามกับอาร์เจนตินา ในขณะที่ฝ่ายอาร์เจนตินาเห็นว่าพวกเขาได้บรรลุความสาเร็จ ในการยึดคืนหมู่เกาะฟอล์กแลนด์จากอังกฤษ
  • 89. “สงครามเป็นการกระทาโดยใช้กาลังเพื่อบีบบังคับให้ข้าศึกทาตามความประสงค์ของเรา” “สงครามหาใช่การกระทาแบบหน้ามืดตามัว แต่ต้องตั้งอยู่บนขอบเขตของวัตถุประสงค์ทางการเมือง ด้วยเหตุนี้คุณค่า ของวัตถุประสงค์นั่นเองจะเป็นตัวกาหนดว่าควรจะเสี่ยงซื้อด้วยราคาเท่าใด หากราคาที่ต้องซื้อนั้นแพงเกินกว่าคุณค่าของ วัตถุประสงค์ทางการเมืองแล้ว ก็จะต้องล้มเลิกความพยายามที่จะให้ได้มาซึ่งวัตถุประสงค์นั้น และสงครามก็จะต้องยุติลง” “สงครามเป็นเครื่องมือของนโยบายที่ใช้เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของชาติ หลังจากที่ใช้วิธีอื่นแล้วไม่ประสบ ผลสาเร็จ” by other means
  • 90.  ประการแรก การดิ้นรนเสาะหาความร่ารวยทรัพยากรเพื่อการผลิตของประเทศรวมทั้งการหาตลาดการค้า เป็นต้น  ประการที่สอง มาจากสาเหตุของการขยายธรรมจักรโดยเฉพาะศาสนาคริสต์ และอิสลาม  ประการสุดท้าย คือ การรักษาสถานะเดิมของตนหรือดุลยภาพแห่งอานาจ แต่ในยุคร่วมสมัย สาเหตุของ สงครามตามที่ Thucydides กล่าวไว้ในสมัยโบราณว่าเกิดจากเหตุสามประการ คือ “ความกลัว เกียรติยศ และผลประโยชน์” กลับดูจะมีน้าหนักมากขึ้นอีก โดยเฉพาะเรื่องผลประโยชน์ “War is the continuation of business by other means”
  • 91. ๑. สงครามเบ็ดเสร็จ (Total War) หมายถึง คู่สงครามใช้ทรัพยากรทั้งหมดอย่างสมบูรณ์ ชาติจะถูกคุกคามให้ ยอมแพ้โดยปราศจากเงื่อนไข ๒. สงครามทั่วไป (General War) คล้ายคลึงกับสงครามเบ็ดเสร็จ ต่างกันที่สงครามทั่วไปเน้นการใช้กาลังทหาร อย่างเบ็ดเสร็จ ส่วนมากจะหมายถึงสงครามที่ใช้อาวุธนิวเคลียร์ เคมี หรือชีวะ นอกจากนั้นยังหมายถึงการทา สงครามตามแบบอย่างไม่จากัด (Unrestricted Convention War) ๓. สงครามจากัด (Limited War) วัตถุประสงค์ของคู่สงครามจะถูกจากัด คู่สงครามจะจากัดการใช้เครื่องมือทาง การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม (ตรงข้ามกับสงครามเบ็ดเสร็จ) และยังจากัดการใช้กาลังทหารด้วย (ต่างจาก สงครามทั่วไป) ๔. สงครามตามแบบ (Conventional War) เป็นการสู้รบกันโดยปราศจากการใช้อาวุธนิวเคลียร์ เคมี และชีวะ แม้ว่าฝ่ายที่มีอาวุธดังกล่าวจะมีอิทธิพลต่อเป้าหมายสงครามยุทธศาสตร์ และยุทธวิธีของคู่ต่อสู้อย่างเห็นได้ชัด
  • 92.
  • 93.
  • 94.
  • 95.  สงครามกลางเมืองในซีเรียเป็นชนวนสงคราม หากมีบินรบของชาติใดตก อาจทาให้เกิดความเข้าใจผิด และเป็น ตัวจุดชนวนสงคราม สหรัฐฯ และรัสเซีย มีชาติพันธมิตรเป็นพวกชัดเจน จีนก็ส่งเรือบรรทุกเครื่องบินมา  จากสถานการณ์สงครามกลางเมืองในประเทศซีเรีย หลายประเทศได้เข้ามายุ่งเกี่ยวและแยกออกเป็นสองฝ่าย ชัดเจน คือ ฝ่ายสหรัฐฯ และชาติพันธมิตร 11 ชาติ ที่ต้องการโค่นล้มรัฐบาลประธานาธิบดี บาชาร์ อัล อัสซาด แห่งซีเรีย กับฝ่ายรัสเซีย และพันธมิตร ที่สนับสนุนประธานาธิบดีอัล อัสซาด มีอยู่ 4 ชาติ คือ อิหร่าน จีน เลบานอน และอิรัก  จากการที่มีเครื่องบินรบของสหรัฐฯ และพันธมิตรหลายลาบินเข้ามาโจมตีทางอากาศถล่มกลุ่มติดอาวุธรัฐอิสลาม หรือไอซิส ในประเทศซีเรีย ทาให้เกิดความกังวลว่าหากมีเครื่องบินลาใดลาหนึ่งประสบเหตุตก จะก่อให้เกิด ความเข้าใจผิดว่า เป็นฝีมือของชาติฝ่ายตรงข้าม และเป็นชนวนให้เกิดการสู้รบระหว่างสองฝ่าย
  • 96.
  • 97.
  • 99. 99www.elifesara.com สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้าไทย โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ekkachais@hotmail.com ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า
  • 100. CONCEPT 100A Publication by www.knowtheprophet.com
  • 101.  ภูมิศาสตร์  ภาวะประชากร  ทรัพยากรธรรมชาติ  ความเชื่อ ศาสนา ความจงรักภักดี  ลักษณะประจาชาติ  กาลังทหาร  วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีฯ  เศรษฐกิจ  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ  การศึกษา  อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา NationalPowers ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics) ภูมิศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ National Security Strategy Personal, Social, National, Regional, International ประชาชน ดินแดน รัฐบาล อานาจอธิปไตย Value and National Style National Interest Vital, Important, Peripheral Model National Security Assessment : EKMODEL Defense of homeland Economic well-being Favorable world order Promotion of value Global State Non State Actors Leaders
  • 102. • การทาสงครามจะต้องเผด็จศึกในเร็ววันไม่ควรให้เนิ่นช้า • ประเทศจะไม่ได้รับประโยชน์อันใดเลยถ้าปล่อยให้ การรบยืดเยื้อ • ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการสงครามจะสูง การคลังของประเทศจะมีปัญหา • กองทัพต้องติดศึกอยู่นานวัน อาวุธ ยุทโธปกรณ์ จะลดความคมกล้า ขวัญทหารนับวันจะเสื่อม กาลังพลก็จะอ่อนเปลี้ย
  • 105. FUTURE STUDIES METHOD Anticipatory thinking Assessments Environmental scanning Back casting (eco-history) Back-view mirror analysis Bottom Up Cross-impact analysis Conducting Technology Checklists Delphi technique Future history Futures workshops Failure mode and effects analysis
  • 106.  วัฒนธรรม  จารีตประเพณี  ปทัสฐาน  ศาสนา  ความกระตือรือร้นของคนในชาติ  ทัศนคติต่อการทางาน
  • 107.  Globalization & Localization  Hard Power & Soft Power  Americanization & Islamization  Capitalism & Socialism  High Technology & Low Technology  Tangible & Intangible  Physical & Mental or Spiritual  National Resource
  • 108. STRATEGY 108A Publication by www.knowtheprophet.com
  • 110.
  • 111. เป็นทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) ประเทศใดถ้ามีภูมิประเทศ หรือ สามารถยึดบริเวณจุดสาคัญ (Pivot Area) หรือใจ โลก (Heartland) แล้ว ประเทศนั้นก็จะเป็นผู้ครองอานาจอันสูงสุด ดินแดนที่เป็นใจโลกตามแนวความคิดของแมคคินเดอร์คือ ดินแดนแถบทะเลบอลติค ทุ่งหญ้า สะเต็บตอนกลางของโซเวียต ปัจจุบันเป็นบริเวณที่เป็นทะเลน้าแข็งตลอดปี ด้านเหนือเป็น มหาสมุทรอาร์คติคกับขั้วโลกเหนือ เป็นชัยภูมิเหมาะเพราะเรือเข้าไม่ถึง แม่น้าดานูบดนีเปอร์ เอเซีย ไมเนอร์ จีน ทิเบต และมองโกเลียจดเอเซียใต้
  • 113. จานวนพลเมือง ทรัพยากร การเดินเรือ Rimland Eurasia World แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ” ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพเป็นหลัก ตามแนวคิดของ มาฮานเรื่องสมุทธานุภาพ แนวคิดนี้ได้รับการพิสูจน์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกาลังในบริเวณพื้นที่ต่างๆ ของโลกอย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกันการ เข้าครอบครองใจโลกของฝ่ ายคอมมิวนิสต์
  • 114. กาหนด ยุทธศาสตร์ใจโลก (Heartland Strategy) “ ใครครองยุโรปตะวันออกได้จะเข้าควบคุมใจกลางของพื้นโลกได้ ผู้ใดครองใจกลางของพื้นโลกได้ จะสามารถควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆของโลกได้ และผู้ใดครองพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ ก็จะควบคุมโลกได้ในที่สุด” สามารถควบคุมทรัพยากรทั้ง คน และวัตถุ ของโลกได้อย่างสมบูรณ์
  • 115.
  • 120. www.kpi.ac.th Military Power Politics Power Economics Power Sociological Power Media Power National Power
  • 121. Military Power Politics Power Economics Power Sociological Power(Religion, Culture) Media Power Facebook, Twitter, VDOlink, Mobile Phone, TV, Radio National Power
  • 122. Globalisation & Localisation Hard Power & Soft Power Americanization & Islamization Capitalism & Socialism High Technology & Low Technology Tangible & Intangible Physical & Mental or Spiritual National Resource
  • 123.  ขาดความรู้ ความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน  ใช้การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน  การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง Soft Power ได้  ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
  • 124.  กรณีการเผยแพร่ฆ่าตัดคอผ่านสื่อ Internet ของตะวันตก  การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก  จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก  ครูสอนศาสนามีการเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มีมุสลิมทั่วโลก  มุสลิมในประเทศต่างๆ เรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทางศาสนา วัฒนธรรมของตนเอง  เรียกร้องแยกตัวเองเป็นรัฐอิสระ  ประเทศที่ด้อยทางการจัดการปัญหาเชิงประวัติศาสตร์
  • 125. 125A Publication by www.knowtheprophet.com
  • 126. 126A Publication by www.elifesara.com
  • 127.  เหตุจลาจลประท้วงการเสียชีวิตของ เฟรดดี้ เกรย์ ชายผิวสี วัย 25 ปีในเมืองบัลติมอร์ รัฐแมรีแลนด์ บานปลายเป็นปัญหา ระดับชาติ  ประชาชนในเมืองใหญ่เช่นที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. นครนิวยอร์ก ถือป้ายประท้วงหน้าทาเนียบขาว ตะโกนถามเจ้าหน้าที่ถึง ระบบประชาธิปไตยของประเทศ เจ้าหน้าที่ตารวจดาเนินการจับกุมผู้ประท้วงที่จตุรัสยูเนียน เกาะแมนฮัตตัน  นายโจเซฟ เคนท์ แกนนาการประท้วงกรณีการเสียชีวิตของวัยรุ่นผิวสี ถูกเจ้าหน้าที่ตารวจอุ้มหายต่อหน้าสื่อมวลชน  การประท้วงครั้งนี้รุนแรงที่สุด ตั้งแต่มีการประท้วงการกระทาเกินกว่าเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจครั้งแรกที่ เมืองเฟอร์กูสัน รัฐ มิสซูรี ที่สถานการณ์บานปลายเช่นกัน จนรัฐต้องส่งเนชั่นแนล การ์ดเข้าประจาการ. 127A Publication by www.elifesara.com
  • 128. 128A Publication by www.knowtheprophet.com
  • 129. 129
  • 130.  แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการสู้รบด้วยอาวุธ  ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความแตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรมที่ปะทุขึ้น ต้องมีมาตรการแก้ไขที่ ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง  มีมาตราการป้องกันกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้เกิดความขัดแย้งในระดับปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองที่อาจขยายตัว เป็นความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อสันติภาพและความมั่นคงของประเทศต่างๆ
  • 131.  การเคลื่อนย้ายข้อมูลข่าวสาร เงินทุน ทาให้โลกเล็กลง รัฐและพรมแดนลดความสาคัญ  เกิดปัญหาลักษณะข้ามรัฐและความสลับซับซ้อน  โลกจะมีประชาธิปไตยสูงขึ้น  ความโดดเด่นอานาจเดียวจะลดความสาคัญ  การต่อสู้ทางวัฒนธรรมและศาสนาจะเพิ่มมากขึ้นระหว่าง อิสลาม คริสต์ และขงจื๊อ